You are on page 1of 57

หน่วยที่2 หน่วยของ

สิ่งมีชีวิต
ครูอรอนงค์ แคนจา
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
1
CONTENTS • ประเภทของสิ่งมีชีวิต
• กล้องจุลทรรศน์
• โครงสร้างของเซลล์
2
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
• การแพร่
• การออสโมซิล

PART 1
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมี
Enter title

สิ่งต่างๆชีวิต
รอบตัวเราจำแนกออกได้
2 ประเภทคือ

สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต
สิ่งที่หายใจได้กินอาหารได้เคลื่อนที่ได้เจริญ ไม่หายใจ ไม่กินอาหาร ไม่เคลื่อนไหว ไม่เจริญ
เติบโตได้ตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เติบโต ไม่มีการสืบพันธ์ ไม่ตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ
เซลล์ของสิ่ง
Enter title
มีชีวิต
ประเภทของเซลล์
Enter title

สิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีจำนวนมากมายทั้งพืช สัตว์ และอื่น ๆ ถ้านำสิ่งมี


ชีวิตทั้งหมดมาจัดเป็ นกลุ่มโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ จะจำแนกได้ ดังนี้

2.1 ใช้จำนวนเซลล์ 2.2 ใช้การสร้างอาหาร


เป็ นเกณฑ์ เป็ นเกณฑ์ สิ่งมีชีวิต
ที่สร้างอาหารได้
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สิ่งมีชีวิต
ที่สร้างอาหารไม่ได้
ประเภทของเซลล์
ใช้จำนวนเซลล์เป็ นเกณฑ์
2.1

1) สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว หมายถึง สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์เพียงเซลล์เดียว โครงสร้าง


ภายในเป็ นแบบง่าย ๆ พบได้ทั่วไปทั้งในน้ำและบนบก ดำรงชีวิตอย่างอิสระ
ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม คลอเรลลา ยีสต์

อะมีบา พารามีเซียม คลอเรลลา ยีสต์


มนุษย์ พลานาเรีย
สัตว์

ไฮดรา
พืช 2) สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์มากกว่า 1 เซลล์ เช่น มนุษย์ สัตว์ พลานาเรีย ไฮดรา และพืชทั่วไป


ประเภทของเซลล์
ใช้การสร้างอาหารเป็ นเกณฑ์
2.2

1) สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้ หมายถึง
สิ่งมีชีวิตที่มีคลอโรฟิ ลล์ สามารถ
เปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และ
น้ำให้เป็ นน้ำตาลได้ เช่น
สาหร่ายสีเขียวและ 2) สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารไม่ได้ หมายถึง
พืชสีเขียวทุกชนิด สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ ไม่สามารถ
สร้างอาหารได้เอง เช่น มนุษย์ สัตว์
กล้องจุลทรรศน์
การศึกษาสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ไม่
สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จึง
จำเป็ นต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ซึ่งเป็ น
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สำคัญ

เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม เซลล์เยื่อหอม
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
เลนส์ใกล้ตา
เลนส์ชุดนี้ขยายภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถุ ภาพที่
เห็นมีขนาดขยาย เป็ นภาพเสมือนหัวกลับ และกลับ
ซ้ายเป็ นขวากับวัตถุ
แขนกล้อง
เลนส์ใกล้วัตถุ ส่วนที่ยึดติดระหว่างลำกล้อง
กับส่วนฐาน
มีกำลังขยายกำกับไว้เช่น x4, x10,
x40 หรือ x100
ปุ่ มปรับภาพหยาบ
ที่หนีบสไลด์ ใช้ปรับระยะห่างระหว่างวัตถุกับ
ยึดแผ่นสไลด์ไม่ให้เคลื่อนที่ เลนส์ใกล้วัตถุชนิดกำลังขยาย
10 เท่าลงมา
แท่นวางวัตถุ ปุ่ มปรับภาพละเอียด
ใช้ปรับภาพให้ชัด เมื่อใช้เลนส์
อุปกรณ์นี้จะช่วยอำนวยความสะดวกในการ
เลื่อนสไลด์ไปทางขวา ซ้าย หน้า และหลัง ใกล้วัตถุกำลังขยายสูง 40 เท่าขึ้น
ได้ในขณะที่ตามองภาพในกล้อง ช่วยให้หา ไป
ภาพได้รวดเร็ว และมีสเกลบอกตำแหน่ง ฐานกล้อง
แหล่งกำเนิดแสง
ของวัตถุบนสไลด์ ส่วนฐานที่วางติดกับโต๊ะ มีหลอด
เป็ นหลอดไฟฟ้าให้แสงสว่างติดอยู่ที่ฐาน ไฟฟ้าติดอยู่ที่ฐานกล้องพร้อมสวิทช์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

เลนส์ชุดนี้ขยายภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถุ ภาพที่เห็นมีขนาดขยาย เป็ น


ภาพเสมือนหัวกลับ และกลับซ้ายเป็ นขวากับวัตถุ
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

จาน
หมุน
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

เลนส์ใกล้
วัตถุ
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

เลนส์ใกล้
วัตถุ
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

เลนส์ใกล้
วัตถุ
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์

เลนส์ใกล้
วัตถุ
กล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์
วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์
วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์
วิธีใช้กล้องจุลทรรศน์
วิธีการเตรียมสไลด์สด
วัสดุตัวอย่างที่ต้องการศึกษาต้องบางพอที่แสงผ่านได้ดีและวางบนสไลด์ปิดด้วย กระจกปิด
สไลด์ ก่อนนำไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ให้เช็ดด้านล่างสไลด์ให้แห้งและสะอาดไม่เช่น
นั้นจะทำให้สไลด์ติดกับแท่นวางสไลด์เคลื่อนที่ได้ยากและยังทำให้กล้องสกปรก ราเจริญได้
ง่ายทำให้กล้องเสียหายได้
ตัวอย่างที่เป็ นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น สาหร่าย ใบสาหร่ายหางกระรอก โพรโทซัว
สามารถใช้ทั้งหมดโดยไม่ต้องตัดออกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ เตรียมได้ดังต่อไปนี้
1. หยดน้ำที่มีตัวอย่างสาหร่าย หรือ โพรโทซัวลงบนสไลด์ที่สะอาด ถ้าตัวอย่างมีขนาด
ใหญ่พอที่เห็น
ได้ด้วยตาเปล่า ให้หยดน้ำลงบนสไลด์1 หยด ใช้พู่กันหรือเข็มเขี่ยตัวอย่างลงบนหยดน้ำ
2. ปิดด้วย
จับขอบ กระจกปิดสไลด์ทำตามลำดับ
กระจกปิดสไลด์ วางให้ขอบด้านหนึ่ง
แตะกับหยดน้ำ สังเกตว่าเมื่อน้ำแผ่ไปตลอด
ความยาวของขอบกระจกปิดสไลด์ แล้วค่อย
ๆ เอียงลงเล็กน้อย ใช้เข็มเขี่ยหรือพู่กัน
ประคอง กระจกปิดสไลด์ ไว้ค่อยๆ หย่อนลง
จนปิดสนิท ถ้าทำได้ถูกต้องและดีจะปิดสนิท
ไม่มีฟองอากาศอยู่ภายใต้ กระจกปิดสไลด์
วิธีการเตรียมสไลด์สด
วัสดุตัวอย่างที่ต้องการศึกษาต้องบางพอที่แสงผ่านได้ดีและวางบนสไลด์ปิดด้วย กระจกปิด
สไลด์ ก่อนนำไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ให้เช็ดด้านล่างสไลด์ให้แห้งและสะอาดไม่เช่น
นั้นจะทำให้สไลด์ติดกับแท่นวางสไลด์เคลื่อนที่ได้ยากและยังทำให้กล้องสกปรก ราเจริญได้
ง่ายทำให้กล้องเสียหายได้
ตัวอย่างที่เป็ นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เช่น สาหร่าย ใบสาหร่ายหางกระรอก โพรโทซัว
สามารถใช้ทั้งหมดโดยไม่ต้องตัดออกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ เตรียมได้ดังต่อไปนี้
1. หยดน้ำที่มีตัวอย่างสาหร่าย หรือ โพรโทซัวลงบนสไลด์ที่สะอาด ถ้าตัวอย่างมีขนาด
ใหญ่พอที่เห็น
ได้ด้วยตาเปล่า ให้หยดน้ำลงบนสไลด์1 หยด ใช้พู่กันหรือเข็มเขี่ยตัวอย่างลงบนหยดน้ำ
2. ปิดด้วย กระจกปิดสไลด์ทำตามลำดับ
กิจกรรม รูปร่างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์
ผลการทำ
กิจกรรม ชื่อตัวอย่าง ภาพที่เห็นภายใต้
กล้องจุลทรรศน์
เซลล์เยื่อหอม

ว่านกาบหอย
ลักษณะโครงสร้าง
และ
หน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
3. ลักษณะโครงสร้างและ
หน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

พืชหรือสัตว์ต่างก็ประกอบด้วยเซลล์เล็ก ๆ ส่วนประกอบบางส่วนคล้ายคลึง
กัน คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึมและนิวเคลียสเหมือนกัน แต่ก็มีส่วน
ประกอบบางส่วนที่แตกต่างกัน โดยเซลล์พืชมีผนังเซลล์และคลอโรฟิ ลล์
เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์และคลอโรฟิ ลล์ แต่เซลล์สัตว์มี
เซนทริโอล ที่เซลล์พืชไม่มี
ไลโซโซม
ไรโบโซม
กอลจิคอมเพลกซ์
เซลล์พืช เยื่อหุ้มเซลล์

เยื่อหุ้มเซลล์ ผนังเซลล์
ไรโบโซม
คลอโรพลาสต์
แวคิวโอล

เซนทริโอล
ไซโทพลาซึม

ไมโทคอนเดรีย นิวเคลียส
เซลล์สัตว์
ไมโทคอนเดรีย
ไซโทพลาซึม

นิวเคลียส
ส่วนประกอบและหน้าที่สำคัญของ
ส่วนประกอบของเซลล์
1) ผนังเซลล์ (cell wall)
เป็ นเยื่อหุ้มผิวด้านนอกสุดของเซลล์พืช ประกอบด้วย
สารพวกเซลลูโลสเป็ นหลัก ทำหน้าที่ให้ความแข็งแรงและห่อหุ้ม
ป้ องกันอันตรายให้แก่เซลล์พืช

2) เยื่อหุ้มเซลล์ (cell membrane)


เป็ นเยื่อบาง ๆ ประกอบด้วยโปรตีนและลิพิด
ทำหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์และควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าออก
จากเซลล์ มีสมบัติเป็ นเยื่อเลือกผ่าน (semipermeable membrane)

3) โพรโทพลาซึม (protoplasm)
เป็ นส่วนประกอบทั้งหมดภายในเยื่อหุ้มเซลล์
มีลักษณะเป็ นของเหลวเรียก ไซโทพลาซึม ส่วนประกอบอื่น ๆ
เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (organelles)
(2) คลอโรพลาสต์
(1) ไมโทคอนเดรีย (chloroplast)
พบเฉพาะในเซลล์พืช มีสารพวกคลอโร
(mitochondria) ฟิ ลล์ (chlorophyll) คลอโรพลาสต์เป็ น
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสลายสารอาหาร แหล่งที่เกิดการสังเคราะห์ด้วยแสง
เพื่อให้พลังงานแก่เซลล์

(6) แวคิวโอล
(vacuole)
ทำหน้าที่เก็บน้ำและสารต่าง ๆ 4) ไซโทพลาซึม
(cytoplasm)
(3) ไรโบโซม
(ribosome)
(5) เซนทริโอล เป็ นแหล่งที่มีการสังเคราะห์โปรตีน
(centriole)
มีหน้าที่เกี่ยวกับการแบ่งเซลล์ (4) กอลจิคอมเพลกซ์
(golgi complex)
ทำหน้าที่สร้างคาร์โบไฮเดรต
ที่รวมกับโปรตีน
โครมาทิน
5) นิวเคลียส (nucleus)
นิวคลีโอลัส
เยื่อหุ้มนิวเคลียส
เป็ นโครงสร้างที่อยู่ตรงกลางของเซลล์ เซลล์มีชีวิต
โดยทั่วไปมีนิวเคลียส ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของ
เซลล์ร่วมกับไซโทพลาซึม การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม ควบคุมการสังเคราะห์สาร ประกอบของ
เซลล์ นิวเคลียสประกอบด้วย
เยื่อหุ้มนิวเคลียสเป็ นเยื่อบางๆ มีรูเล็กๆ กระจายอยู่
ทั่วไป เพื่อให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าออกระหว่างของเหลว
ภายในนิวเคลียส (นิวคลีโอพลาซึม) กับของเหลว
ภายนอกนิวเคลียสในเซลล์ (ไซโทพลาซึม) โดยวิธีการ
แพร่

ครูนฤมล วัฒนวิกกิจ
เซลล์พืชและเซลล์
สัตว์
ประกอบด้วยผนังเซลล์ซึ่งส่วนใหญ่ เซลล์พืช
เป็ นสารพวกเซลลูโลส มีไซโทพลาซึม นิวเคลียส
ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์
คลอโรฟิ ลล์ แวคิวโอล

เซลล์สัตว์
ไม่มีผนังเซลล์ มีเยื่อหุ้มเซลล์ห่อหุ้ม
โพรโทพลาซึม มีส่วนประกอบและ
โครงสร้างต่าง ๆ เช่น ไซโทพลาซึม นิวเคลียส
ไมโทคอนเดรีย แต่ไม่มีคลอโรพลาสต์

ครูนฤมล วัฒนวิกกิจ
ส่วนประกอบของเซลล์พืช
เยื่อหุ้มนิวเคลียส
นิวเคลียส
ไรโบโซม
กอลจิคอมเพลกซ์ แวคิวโอล
ไซโทพลาซึม
ไมโทคอนเดรีย
คลอโรพลาสต์
เยื่อหุ้มเซลล์
ผนังเซลล์
ส่วนประกอบของ
เซลล์สัตว์
เยื่อหุ้มนิวเคลียส
นิวเคลียส
ไรโบโซม
กอลจิคอมเพลกซ์
ไมโทคอนเดรีย
ไซโทพลาซึม
เยื่อหุ้มเซลล์
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดทั้งพืชและสัตว์ ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด คือ
เซลล์ แต่รายละเอียดของเซลล์แตกต่างกัน เซลล์พืชมีผนังเซลล์ เพื่อให้ความ
แข็งแรง แต่เซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์ เซลล์พืชมีคลอโรพลาสต์ เพื่อใช้ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง แต่เซลล์สัตว์ไม่มีคลอโรพลาสต์ เซลล์ส่วนใหญ่ของพืชมี
ลักษณะคงรูปและมีรูปร่างเป็ นเหลี่ยม เซลล์ส่วนใหญ่ของสัตว์
มีลักษณะไม่คงรูปและมีรูปร่างค่อนข้างกลมรี
เซลล์ชนิดเดียวกันมารวมตัวกันเป็ นกลุ่มเซลล์ เพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่าง
เรียกว่า เนื้อเยื่อ (tissue) เช่น เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อประสาท กลุ่มเนื้อเยื่อ
หลาย ๆ ชนิดที่รวมกันเพื่อทำหน้าที่ เรียกกลุ่มเนื้อเยื่อนี้ว่า อวัยวะ (organ) เช่น
ปาก หลอดอาหาร ตับ ตับอ่อน อวัยวะหลาย ๆ ชนิดมาทำหน้าที่สำคัญร่วมกัน
เรียก ระบบอวัยวะ เช่น ระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร ระบบประสาท และยังมี
อีกหลายระบบที่ทำงานประสานกัน ประกอบกันเป็ นรูปร่างเป็ นร่างกายของสิ่งมี
ชีวิต
ประเภทของ
Enter title
เซลล์
Enter title

01
Click here to add content of the text, and briefly explain your point of
view.

02
Click here to add content of the text, and briefly explain your
point of view.

03
Click here to add content of the text, and briefly explain your point of
view.

PART 2
Enter Title
Enter title

Click here to add content of the text, and 添加标题


01 Enter Title
briefly explain your point of view.
Enter Subtitle

Click here to add content of the text, and 02 Enter Title


briefly explain your point of view.
Enter Subtitle

PART 3
Enter Title
Enter title

Click here to add content of the text, and


briefly explain your point of view.

Click here to add content of the text, and


briefly explain your point of view.
Enter title

1 2 3 4
Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
PART 4
Enter Title
Enter title

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
1 Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
2 Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
Enter title

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
1 Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
2 Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
PART 5
Enter Title
Enter title

Enter Subtitle

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
Enter title

Enter Subtitle

Click here to add content of the text, and briefly explain


your point of view.
Click here to add content of the text, and briefly explain
your point of view.
Enter title

Enter Subtitle

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
Enter title

Enter Subtitle

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
Enter title

Enter Subtitle

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
Enter title

Enter Subtitle
Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.

Click here to add content of the text, and briefly explain your point of view.
THANK YOU

You might also like