You are on page 1of 117

เซลล์และการทางานของเซลล์

โดย
นางสาวณัฐรัมภา นาชัยภูมิ
ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน
• .......1. การศึกษาการไหลเวียนของไซโทพลาซึมในเซลล์สาหร่ายหางกระรอกสามารถศึกษาได้ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้
แสงแบบสเตอริโอ
• .......2. การศึกษาการจัดเรียงตัวของใบสาหร่ายหางกระรอกสามารถศึกษาได้ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ
• .......3. โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ได้แก่ ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส
• .......4. ถ้าเยื่อหุ้มเซลล์เสียสภาพแต่เซลล์ยังมีนิวเคลียสอยู่เซลล์จะยังทางานได้เป็นปกติ
• .......5. การแพร่เกิดจากการเคลื่อนที่ของโมเลกุลสารโดยใช้พลังงานจลน์ของโมเลกุล
• .......6. ออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่าไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูง โดย
ไม่จาเป็นต้องผ่านเยื่อเลือกผ่าน
• ........7. การหายใจระดับเซลล์เกิดขึ้นได้ทั้งภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอและออกซิเจนไม่เพียงพอ
• ........8. วัตถุประสงค์หนึ่งของการแบ่งเซลล์คือการเติบโต
• ........9. เซลล์ลูกที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสทาให้เกิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
• ........10. เซลล์ลูกที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสจะมีจานวนโครโมโซมเท่ากับเซลล์แม่
กล้องจุลทรรศน์ (microscope)
เครื่องมือขยายภาพเพื่อใช้ศึกษาเซลล์ หรือวัตถุที่มีขนาดเล็ก
เกินกว่าจะศึกษาได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งจาแนกได้ 2 แบบ
ตามแหล่งกาเนิดแสง ดังนี้
Antonie Philips van Leeuwenhoek : อันโตนี ฟัน เลเวินฮุก
Robert Hooke : โรเบิร์ต ฮุก
กล้องจุลทรรศน์

Light microscope : LM Electron microscope : EM


ใช้ แสง เป็นแหล่งกาเนิดภาพ ใช้ อิเล็กตรอน เป็นแหล่งกาเนิดภาพ

กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์เชิง กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์


อย่างง่าย ประกอบ สเตอริโอ อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด
(simple LM) (compound LM) (stereoscopic LM) (transmission EM) (scanning EM)
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงอย่างง่าย (Simple Light microscope)

• ใช้เลนส์นูนเพียงอันเดียวในการขยายภาพ
• ได้ภาพเสมือน 2 มิติ หัวตั้ง เห็นได้ด้วยตา
เปล่า มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
• กาลังขยายสูงสุดของกล้องประมาณ 400 เท่า
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงเชิงประกอบ (Compound Light microscope)

• มีเลนส์ขยายภาพ 2 ชุด คือเลนส์ใกล้วัตถุ + เลนส์ใกล้ตา


• เลนส์ใกล้ตา: ขยายภาพวัตถุครั้งแรกให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
• เลนส์ใกล้วัตถุ : ขยายภาพครั้งที่สอง
• ได้ภาพเสมือนหัวกลับ 2 มิติ กลับซ้ายขวา ใหญ่กว่าวัตถุ
• กาลังขยายสูงสุดประมาณ 1000 เท่า
กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ (Stereo Light microscope)
• ลักษณะคล้ายกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงเชิงประกอบ แต่กาลังขยายต่ากว่า
• ใช้ส่องดูได้ทั้งวัตถุทึบแสงและวัตถุโปร่งแสง
• ไม่ต้องเตรียมสไลด์เหมือนกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงเชิงประกอบ
• ใช้ส่องดูพื้นผิวของวัตถุให้เห็นรายละเอียดชัดเจนขึ้น
• ได้ภาพเสมือนหัวตั้ง 3 มิติ มีความชัดลึกมาก
• กาลังขยายประมาณ 300 เท่า
กล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอน (Electron microscope : EM)

ต้องย้อมวัตถุด้วยสารประกอบโลหะ แล้วใช้ลาอิเล็กตรอนแทนแสงในการสร้างภาพ
ของวัตถุ บริเวณที่เป็นเนื้อสารจะติดโลหะที่ย้อม ลาอิเล็กตรอนจึงผ่านไม่ได้ แล้ว
ใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าขยายสัญญาณของลาอิเล็กตรอน จากนั้นนามาแปลงเป็น
ภาพ ได้กาลังขยายสูงถึง 1 ล้านเท่า
กล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนชนิดส่องผ่าน
(transmission electron microscope : TEM)

• อาศัยการส่องลาอิเล็กตรอนทะลุผ่านวัตถุ
• ได้ภาพขาวดา 2 มิติ เห็นโครงสร้างภายในวัตถุ
• กาลังขยายสูงสุดของกล้อง ประมาณ 1 ล้านเท่า
• นิยมใช้ศึกษาโครงสร้างภายในเซลล์
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด
(scanning electron microscope : SEM)
• อาศัยการส่องลาอิเล็กตรอนสะท้อนผิววัตถุ
• ได้ภาพขาวดา 3 มิติ เห็นรูปทรงของวัตถุ
• กาลังขยายสูงสุดของกล้อง ประมาณ 5 แสนเท่า
• นิยมใช้ศึกษาโครงสร้างภายนอกเซลล์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
1. เลนส์ใกล้ตา (ocular lens/ eyepiece)
2. เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens)
3. แท่นวางสไลด์ (stage)
4. ไดอะแฟรม (diaphragm)
5. ปุ่มปรับภาพหยาบ (course adjustment knob)
6. ปุ่มปรับภาพละเอียด (fine adjustment knob)
7. เลนส์รวมแสง (condenser lens)
8. แป้นหมุนเลนส์ (nose piece)
9. ปุ่มเลื่อนสไลด์ (stage controls)
• กาลังขยายของภาพ = กาลังขยายเลนส์ใกล้ตา x กาลังขยายเลนส์ใกล้วัตถุ
เซลล์ (Cell)
โรเบิร์ต ฮุค : ผู้สร้างกล้องจุลทรรศน์เลนส์ประกอบ ศึกษาชิ้นส่วน
ไม้คอร์ก พบว่า ไม้คอร์กเกิดจากช่องว่างเล็กๆ มากมาย จึงตั้งชื่อ
ว่า เซลล์ (Cell)

เซลล์ (Cell) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ที่


สามารถแสดงความเป็นสิ่งมีชีวิตได้อย่างสมบูรณ์
ประเภทของเซลล์ : แบ่งตามการมีเยื่อหุม้ นิวเคลียส
Prokaryotic cell Eukaryotic cell
Prokaryotic cell vs Eukaryptic cell
ข้อเปรียบเทียบ เซลล์โพรคาริโอต เซลล์ยคู าริโอต
เยื่อหุ้มนิวเคลียส ไม่มี มี
นิวเคลียส ไม่มี มี
สารพันธุกรรม (DNA) อยู่ในไซโทพลาซึม อยู่ในนิวเคลียสเรียกว่า โครมาติน
ถ้าขดเป็นเกลียวเรียกว่า นิวคลีออยด์
ถ้าเป็นวงปิด เรียกว่า พลาสมิด
ขนาดไรโบโซม 70S มีทั้ง 70S และ 80S
ขนาดเซลล์ เล็ก (1-10 μm) ใหญ่ (10-100 μm)
ออร์แกเนลล์ มีไรโบโซมชนิดเดียว มีหลายชนิด
ผนังเซลล์ มี มีทั้งที่มี และ ไม่มี
Prokaryotic cell vs Eukaryptic cell
ข้อเปรียบเทียบ เซลล์โพรคาริโอต เซลล์ยคู าริโอต
การแบ่งเซลล์ ใช้วิธีแบ่งเป็น 2 ส่วน (binary fission) .ใช้วิธี mitosis แบ่งเซลล์ร่างกาย
ใช้วิธี meiosis แบ่งเซลล์สืบพันธุ์
การเคลื่อนที่ของเซลล์ ใช้แฟลกเจลลัมที่ทาจากโปรตีน flagellin ใช้แฟลกเจลลัมที่ทาจาก microtubule
รูปภาพเซลล์

ตัวอย่างสิ่งมีชีวิต แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน พืช สัตว์ เห็ดรา โพรโทซัว สาหร่าย


ส่วนประกอบหลักของเซลล์
1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ (cell envelope)
2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm)
3. นิวเคลียส (Nucleus)
ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ (Cell envelope) : เป็นส่วนที่ห่อหุ้ม, ปกป้อง และช่วยในการเคลื่อนที่
ของเซลล์

1. ผนังเซลล์ (Cell wall)


2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane)
ผนังเซลล์ (Cell wall) : พบในพืช แบคทีเรีย สาหร่าย เห็ด รา ไม่พบในเซลล์สัตว์
• ทาหน้าที่ปกป้องเซลล์ เพิ่มความแข็งแรงให้แก่เซลล์ ทาให้เซลล์คงรูปร่างอย่างได้ ป้องกันเซลล์แตกจากการอิ่มน้า
โดยองค์ประกอบผนังเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะต่างกันดังนี้
• เซลล์พืช-สาหร่าย : เซลลูโลส (cellulose)
• แบคทีเรีย : เพปทิโดไกลแคน (peptidoglycan)
• เห็ด รา : ไคติน (Chitin)
เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane / Plasma membrane) : พบในเซลล์ทุกชนิด อยู่ล้อมรอบไซโทพลาซึม
เป็นส่วนที่แสดงขอบเขตของเซลล์ มีลักษณะเป็นเยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable membrane) ทาหน้าที่ควบคุมกานผ่านเข้า-
ออกของน้า, สารอาหาร และไอออนต่างๆ

โครงสร้างเยื่อหุ้มเซลล์
- Phospholipid bilayer : เป็นโมเลกุลที่มี 2 ส่วน คือส่วนที่
มีขั้ว และส่วนที่ไม่มีขั้ว เรียงซ้อนกัน 2 ชั้น หันด้านมีขั้วออก
จากกัน และด้านไม่มีขั้วชนกัน หัวด้านหนึ่งหันเข้าหาไซโทซอล
อีกด้านหันออกนอกเซลล์
- Cholesterol : แทรกอยู่ระหว่าง phospholipid bilayer ทา
ให้เยื่อหุ้มเซลล์มีความยืดหยุ่น
- Protein : ทาหน้าที่ลาเลียงสารขนาดใหญ่ผ่านเข้า-ออกเซลล์
- Oligosaccharide : ทาหน้าที่เป็นตัวสื่อสารระหว่างเซลล์
ไซโทพลาซึม (Cytoplasm)

เป็นส่วนที่อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มเซลล์และนิวเคลียส
แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
- ไซโทซอล (Cytosol) เป็นส่วนของ
ของเหลว
- ออร์แกเนลล์ (Organelle) เป็นส่วนที่ทา
หน้าที่คล้ายอวัยวะของเซลล์
ออร์แกเนลล์ในเยือ่ หุม้ เซลล์

ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น


(Unmembranous organelle) (Unimembranous organelle) (Bimembranous organelle)
Ribosome Endoplasmic reticulum
Mitochondria
Cytoskeleton Golgi body
Plastid
Centriole Vacuole
Lysosome
Peroxisome
ออร์แกเนลล์ทมี่ เี ยือ่ หุม้ 1 ชั้น
Endoplasmic reticulum ; ER • เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม (Endoplasmic reticulum; ER) มี 2 ชนิด คือ

- ชนิดผิวเรียบ (smooth endoplasmic reticulum ; SER)


ไม่มีไรโบโซมมาเกาะอยู่ไกลจากนิวเคลียสและ
เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้มเซลล์ทาหน้าที่
* กาจัดสารพิษในเซลล์ด้วยวิธี exocytosis
* สังเคราะห์ cholesterol และ steroid hormone
* กาจัดสารพิษจากอาหาร จึงพบได้มากในเซลล์ตับ

- ชนิดผิวขรุขระ (rough endoplasmic reticulum ; RER)


เพราะมีไรโบโซมมาเกาะ ทาหน้าที่สร้างโปรตีน
เอนไซม์แล้วส่งไปยังกอลจิบอดีเพื่อปรับปรุงโครงสร้างสารก่อนจะ
นาออกไปใช้งานต่างๆภายในเซลล์
Golgi body
• กอลจิบอดี หรือ กอลจิคอมเล็กซ์ หรือ กอลจิแอพพาราตัส
(Golgi body / Golgi complex / Golgi apparatus)

- รูปร่าง : เป็นถุงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ปลายถุงโป่งออก ภายในมี


ของเหลว (lumen) บรรจุอยู่ แต่ละถุงเรียกว่า cisternae โดยจะ
เปลี่ยนรูปร่างอยู่ตลอดเวลา เพราะบางส่วนจะรวมตัวกับเวสิเคิล
(vesicle) ที่มาจากร่างแหเอนโดพลาสมิก ทาให้ซิสเทอร์น่ามีขนาด
ใหญ่ขึ้น และบางส่วนจะปลดปล่อยสารออกไป ทาให้ขนาดเล็กลง
- เซลล์อสุจิ vesicle จะอยู่ในรูปถุง acrosome อยู่ที่ส่วนหัวอสุจิ
เป็นเอนไซม์ช่วยย่อยผนังเซลล์ไข่
- หน้าที่ : รับสารจาพวก lipids และ glycoproteins มาจาก RER - เซลล์พืช vesicle ที่มีสาร pectin จะใช้ในการสร้างผนังเซลล์
และ SER แล้วปรับปรุงสารให้มีประสิทธิภาพ เพื่อส่งสารออกไปในรูป ใหม่ในกระบวนการแบ่งเซลล์
vesicle นาไปใช้งานภายในเซลล์ต่อไป - รากพืช vesicle ที่มีเมือก ช่วยให้รากพืชชอนไชในดินได้ดี
Vacuole

แวคิวโอล (Vacuole) หรือถุงบรรจุสาร ในเซลล์พืชจะใหญ่มาก ใน


เซลล์สัตว์จะเล็ก เยื่อหุ้มแวคิวโอลเหมือนกับเยื่อหุ้มเซลล์ เกี่ยวข้องกับ
การนาสารเข้า-ออกเซลล์ การเก็บของเสีย การรักษาแรงดัน
- Contractile vacuole (พบในสิง่ มีชวี ติ เซลล์เดียว)
* ถุงบรรจุน้าเพื่อรักษาแรงดันภายในเซลล์ให้คงที่
- Food vacuole
* ถุงบรรจุอาหาร เซลล์จะรับเข้ามาด้วยวิธีการ endocytosis ถุงบรรจุอาหาร
เหล่านี้จะมี lysosome เข้ามาทาการย่อยอาหารอีกครั้ง
- Sap vacuole (ชื่อเรียกถุงบรรจุสารในพืช)
* เซลล์พืชที่อายุน้อยจะมีหลายถุง แต่เมื่อมีอายุมากขึ้นจะรวมตัวกันกลายเป็น
ถุงเดียว ทาหน้าที่บรรจุสารหลายอย่าง เช่น น้า ของเสีย แก๊ส รงควัตถุ
Lysosome

• ไลโซโซม (lysosome) หรือถุงบรรจุเอนไซม์ : พบในเซลล์สัตว์


และโพรทิสต์ ไม่พบในเซลล์พืช เอนไซม์ที่บรรจุในถุงไลโซโซม
สร้างจาก RER ใช้ในการย่อยสารต่างๆ เช่น
• ย่อยอาหาร : รวมตัวกับ food vacuole เพื่อย่อยอาหาร
• ย่อยเชื้อโรค : พบมากในเซลล์เม็ดเลือดขาว
• ย่อยออร์แกเนลล์ที่ตายแล้ว : ทางานร่วมกับ vesicle ที่บรรจุ
ออร์แกเนลล์หมดอายุ
• ย่อยโครงสร้างที่ไม่ใช้งาน : หางของกบเมื่อโตเต็มวัย
Peroxisome
• เพอรอกซิโซม (peroxisome) หรือ ไมโครบอดี (microbody) : ถุงบรรจุเอนไซม์คล้าย lysosome
• รูปร่าง : คล้ายไลโซโซมแต่เล็กกว่า ภายในมีเอนไซม์หลายชนิด

หน้าที่ : ในเซลล์พืช ใช้ย่อยกรดไขมันให้


กลายเป็นคาร์โบไฮเดรต ในสัตว์ ใช้ย่อย
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ซึ่งเป็น
พิษต่อเซลล์ โดยใช้เอนไซม์เป็นตัวคะ
ตะไลซ์ทาให้กลายเป็นน้าและออกซิเจน
ออร์แกเนลล์ในเยือ่ หุม้ เซลล์

ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น ออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น


(Unmembranous organelle) (Unimembranous organelle) (Bimembranous organelle)
Ribosome Endoplasmic reticulum
Mitochondria
Cytoskeleton Golgi body
Plastid
Centriole Vacuole
Lysosome
Peroxisome
ออร์แกเนลล์ทมี่ เี ยือ่ หุม้ 2 ชั้น
Mitochondria
• ไมโตคอนเดรียคือออร์แกเนลล์ที่อยู่ในไซโตพลาสซึมที่มีเยื่อ
หุ้ม 2 ชั้น ชั้นนอกผิวเรียบ ส่วนชั้นในพับเข้าไปด้านใน
เรียกว่า คริสตี (cristae) ภายในไมโตคอนเดรียมีของเหลว
ซึ่งประกอบด้วยสารหลายชนิด เรียกว่า เมทริกซ์ (matrix)
ในมนุษย์มีไมโทคอนเดรียมากที่สุดที่กล้ามเนื้อหัวใจ
จานวนของไมโตคอนเดรียในเซลล์แต่ละชนิดจะมีจานวนไม่
แน่นอนขึ้นอยู่กับชนิดและกิจกรรมของเซลล์ เซลล์ที่มีเม
แทบอลิซึมสูงจะมีไมโตคอนเดรียมาก เช่น เซลล์ตับ ไต
กล้ามเนื้อหัวใจและเซลล์ต่อมต่าง ๆ
หน้าที่ของไมโทคอนเดีย
1. ทาหน้าที่เสมือนโรงงานแปรรูปอาหารหรือเรียกว่ากระบวนการเผาผลาญอาหารเพื่อให้ได้รหัสพันธุกรรม (DNA)
ซึ่งเป็นวัตถุดิบในการซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอและสร้างเซลล์ใหม่แทนเซลล์ที่ตายไป
2. เป็นแหล่งกาเนิดพลังงาน ATP ทาให้คนเราสามารถทากิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันได้
สร้างสารให้พลังงานสูง คือ ATP (Adenosine triphosphate) คือ โมเลกุลสารพลังงานสูงที่ให้พลังงาน
แก่ร่างกายเรา โดยแยกเป็น 2 ส่วน คือ
- เยื่อหุ้มด้านนอก ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสารประกอบฟอสโฟลิปิด
- เยื่อหุ้มด้านใน มีเอนไซม์เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ ATP
3. เป็นแหล่งผลิตเอนไซม์นับพันๆ ชนิด เพื่อใช้ในกระบวนการเผาผลาญอาหารของเซลล์ทุกเซลล์ทั่วร่างกาย
ภายในเมทริกซ์มีของเหลว ที่ทาหน้าที่เป็นเอนไซม์ ซึ่งเกี่ยวข้อง กับปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในวัฏจักรเครปส์ (Krebs
cycle) มี DNA (Deoxyribonucleic acid) RNA (Ribonucleic acid) เอนไซม์ และไรโบโซม อยู่ภายใน
ออร์แกเนลล์ ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนขึ้น ภายในออร์แกเนลล์
Plastid เป็นออร์แกเนลล์ในเซลล์พืช มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น มี 3 ชนิด ตามลักษณะรงควัตถุ ดังนี้

• โครโมพลาสต์ (Chromoplast) : พลาสติดที่มีสีต่างๆยกเว้นสีเขียว


เช่น xanthophyll สีน้าตาลเหลือง carotenoid สีส้มแดง
• คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) : พลาสติดที่มีสีเขียว มีรงควัตถุที่
เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่น chlorophyll a และ
chlorophyll b เป้นต้น
• ลิวโคพลาสต์ (Leucoplast) : พลาสติดที่ไม่มีสี เนื่องจากไม่มีรงควัตถุ
เช่น amyloplast ทาหน้าที่สะสมเม็ดแป้ง
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็นออร์แกเนลล์ที่มีต้นกาเนิด
มาจาก proplastid มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ภายในคลอโรพลาสต์มี
ของเหลวเรียกว่า stroma ซึ่งประกอบด้วยสารพันธุกรรม
(DNA และ RNA) ไรโบโซม เอนไซม์ต่างๆที่ใช้ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง นอกจากนี้ยังมี thylakoid ซึ่งเป็นถุงคล้าย
เหรียญ เป็นที่อยู่ของรงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
โดยเมื่อ thylakoid มาเรียงซ้อนกันจะเรียกว่า granum
ออร์แกเนลล์ทไี่ ม่มเี ยือ่ หุม้
Ribosome
• ไรโบโซม (Ribosome) เป็นออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้ม
ประกอบด้วย rRNA ซึ่งถูกสังเคราะห์จาก neucleolus
ภายในนิวเคลียส รวมตัวกับ ribosomal protein
แบ่งเป็น 2 หน่วยย่อย คือหน่วยย่อยขนาดใหญ่ (large
subunit) และหน่วยย่อยขนาดเล็ก (small subunit)
แต่จะมารวมตัวกันเรียกว่า polysome เพื่อแปลรหัสจาก
mRNA ได้เป็นโปรตีน
• หน้าที่ : สังเคราะห์โปรตีนชนิดต่างๆ เช่น ฮอร์โมน
เอนไซม์ แอนติบอดี เพื่อนาไปใช้ทั่วร่างกาย
Cytoskeleton • ไซโทสเกเลตอน (cytoskeleton) : ช่วยค้าจุนเซลล์ ช่วยให้ออร์แกเนลล์อื่น
เคลื่อนที่ได้ แบ่งเป็น 3 ชนิด

สร้างจากโปรตีนแอคติน (actin) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการไหลและการเคลื่อนที่


ไมโครฟิลาเมนต์
ของไซโทพลาซึม พบในการเคลื่อนไหวแบบเท้าเทียม (pseudopodium)
(microfilament) ของอะมีบา การคอดกิ่วของเซลล์ขณะแบ่งไซโทพลาซึม

อินเตอร์มิเดียต ฟิลาเมนต์ สร้างจากโปรตีนเคราติน (keratin) เป็นโครงสร้างค้าจุนเซลล์ตลอดทั่วทั้ง


(intermediate filament) เซลล์ พบใน ผม เล็บ ขน งา

สร้างจากโปรตีนทูบูลิน (tubulin) ช่วยให้ออร์แกเนลล์ต่างๆเคลื่อนที่ได้ ช่วย


ไมโครทูบูล ค้าจุนโครงสร้างเซลล์ เป็นตัวสร้างเส้นใยสปิดเดิลขณะแบ่งเซลล์
(microtubule) นอกจากนั้นยังเป็นองค์ประกอบของออร์แกเนลล์อื่น ได้แก่ เซนทริโอล
Centriole

• เซนทริโอล (centriole) สร้างจากเส้นใยไมโครทูบูล


9 มัด หนึ่งมัดมี 3 เส้น โดยแต่ละมัดเชื่อมต่อกันด้วย
connecting fiber ตรงกลางกลวง มีเส้นใย เรียก
โครงสร้างแบบนี้ว่า 9+0 = 27
• แหล่งทีพ่ บ : พบในเซลล์สัตว์ ไม่พบในเซลล์พืช
และฟังไจ เซลล์สัตว์จะมีเซนทริโอล 2 อัน วางตั้งฉาก
กันเรียกว่า centrosome
• หน้าที่ : จับกับเส้นใยสปินเดิล (spindle fiber)
เพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ของโครโมโซมขณะแบ่งเซลล์
หน่วยที่ควบคุมการทางานและกระบวนการต่างๆภายในเซลล์ โดยในนิวเคลียสมีสารพันธุกรรม
นิวเคลียส (Nucleus) ได้แก่ DNA และ RNA ทาหน้าที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย
2 ส่วน คือ
1. เยื่อหุ้มนิวเคลียส (nuclear membrane) : คล้ายเยื่อหุ้มเซลล์ 2 ชั้น
ประกบกัน เกิดจาก phospholipid bilayer แต่เยื่อหุ้มนิวเคลียสจะมีรู
พรุนเรียกว่า nuclear pore ทาหน้าที่ส่งสารพันธุกรรมไปยังร่างแหเอน
โดพลาสมิก (RER) เพื่อสังเคราะห์โปรตีน

2. นิวคลีโอพลาซึม (nucleoplasm) : คือส่วนที่อยู่ภายในเยื่อหุ้มนิวเคลียส


แบ่งเป็น 2 ส่วน
- โครมาติน (Chromatin fiber) : ส่วนที่เป็นสารพันธุกรรม (DNA,
histone protein, non histone protein) เมื่อมีการแบ่งเซลล์ โครมา
ตินจะขดตัวแน่นเห็นเป็นแท่งเรียกว่า โครโมโซม (chromosome)
- นิวคลีโอลัส (nucleolus) ทาหน้าที่สังเคราะห์ ribosome (rRNA +
ribosomal protein) เป็นบริเวณเฉพาะในนิวเคลียส
1. แกนกลาง (core) : ส่วนใหญ่เป็น RNA
2. โปรตีนหุม้ RNA : เรียกว่า แคพซิด (capsid)
• ไวรัส (virus) เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างไม่ 3. ไวรัสบางชนิดมีชนั้ ไขมันหุม้ แคพซิดอีกชัน้ หนึ่ง เรียกว่า envelope virus
ซับซ้อน และไม่จัดว่าเป็นเซลล์ เพราะไม่มีเยื่อหุ้มเซลล์ ส่วนพวกที่ไม่มี เรียกว่า non envelope virus
ซึ่งถือเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของเซลล์ ไวรัสที่มี 4. มีการเพิม่ จานวนเมือ่ อยูใ่ นเซลล์สิ่งมีชวี ติ อืน่ เท่านัน้ : เพราะไวรัส ไม่มีออร์
แกเนลล์ต่างๆ จึงต้องอาศัยการทางานจากออร์แกเนลล์ของเซลล์โฮสต์ เท่านั้น
ส่วนประกอบสมบูรณ์ ประกอบด้วย

รู้หมือไร่???
การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

Active
การนาสาร การนาสาร
ใช้พลังงาน เข้าสู่เซลล์ ออกจากเซลล์
transport
Endocytosis Exocytosis
Osmosis ของแข็ง
Phagocytosis
Passive ของเหลว
ไม่ใช้พลังงาน Diffusion Pinocytosis
transport
เลือกรับ
Facilitated Simple บางตัว Receptor-mediated
diffusion diffusion endocytosis
การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง แบ่งเป็น 2 ประเภท
• การลาเลียงสารแบบใช้พลังงาน
(Active transport) : การลาเลียง
สารจากที่ความเข้มข้นต่าไปยังบริเวณ
ที่ความเข้มข้นสูงกว่า เซลล์จึงต้องใช้
พลังงาน ATP เข้าช่วย โดยใช้
โปรตีนตัวพา (carrier protein)
เป็นตัวบังคับทิศทางการเคลื่อนที่
การลาเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน (Passive transport) : การลาเลียงสารเข้า-ออกเซลล์ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยไม่ต้องใช้
พลังงาน ดังนี้
• การแพร่ (diffusion) : การลาเลียงสารจากที่มีความเข้มข้นสูงไปที่มีความเข้มข้นต่ากว่า แบ่งเป็น 2 วิธี
- การแพร่ธรรมดา (simple diffusion) : เป็นการเคลื่อนที่ของ - ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการแพร่
สาร (ตัวถูกละลาย) ที่ไม่มีขั้วผ่าน phospholipid โดยตรง - อุณหภูมิ
จนกระทั่งเข้าสู่ภาวะสมดุล (dynamic equilibrium) ซึ่งความ - ความแตกต่างของความเข้มข้นที่แพร่
เข้มข้นของสารทั้ง 2 บริเวณ จะเท่ากัน - ขนาดและน้าหนักโมเลกุลสารที่แพร่
- พื้นที่หน้าตัด
เช่น การลาเลียงกรดไขมัน วิตามิน A D E และ K เข้าสู่เซลล์บุผิว
ลาไส้เล็ก
- การแพร่โดยใช้ตวั พา (facilitated diffusion) : เป็นการเคลื่อนที่ของสาร (ตัวถูกละลาย) ที่มีขั้ว
โดยอาศัยโปรตีนตัวพา (carrier protein) เป็นตัวนาสารผ่านเข้าออก โดยเมื่อโปรตีนตัวพาจับกับสารแล้ว
พาสารเข้าสู่ไซโทพลาซึมเรียบร้อยแล้ว จะปล่อยสารออกแล้วกลับไปทาหน้าที่ใหม่อีกครั้ง เช่น การลาเลียง
ฟรักโทสเข้าสูเ่ ซลล์บผุ ิวลาไส้เล็ก
• ออสโมซิส (osmosis) : เป็นชื่อเรียกการแพร่ของน้าผ่านเยื่อเลือกผ่าน ให้พิจารณาหลักว่า “น้าจะแพร่จากทีม่ นี ามากไป

ที่มีน้าน้อย” และ “สารความเข้มข้นต่าจะมีนาอยู
้ ม่ ากกว่าสารความเข้มข้นสูง” ออสโมซิสจึงเป็นการแพร่จากสารความ
เข้มข้นต่าไปสูง ซึ่งตรงข้ามกับทิศทางของการแพร่ปกติ มี 3 กรณี
Hypotonic solution : สารละลายมีความ Isotonic solution : สารละลายมีความ Hypertonic solution : สารละลายมีความ
เข้มข้นน้อยกว่าของเหลวในเซลล์ (มีน้า เข้มข้นเท่ากับของเหลวในเซลล์ ไม่เกิดการ เข้มข้นมากกว่าของเหลวในเซลล์ (มีน้าน้อย
มากกว่า) น้าจะออสโมซิสเข้าไปในเซลล์ ออสโมซิส เซลล์คงสภาพปกติ กว่า) น้าจึงออสโมซิสออกจากเซลล์ เรียกว่า
เรียกว่า plasmoptysis ทาให้เกิดแรงดันเต่ง plasmolysis เกิดเซลล์เหีย่ ว (shriveled cell)
(turgor pressure) เซลล์สัตว์จะเต่งจนแตกใน
ที่สุด แต่เซลล์พืชมีผนังเซลล์ จึงไม่แตก
Hypotonic Hypotonic
การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ : ใช้สาหรับนาเข้า-ออกสารที่มีขนาดใหญ่ จะต้องใช้
พลังงาน ATP ในการนาสารเข้า-ออกเซลล์เสมอ

• การนาสารเข้าสูเ่ ซลล์ (endocytosis)


มี 3 วิธี ดังนี้

- Phagocytosis : การนาของแข็งเข้าเซลล์โดยใช้เยื่อ
หุ้มเซลล์ทาเป็นเท้าเทียมโอบล้อมสารเข้าเซลล์ เรียกว่า cell
eating เช่น การกินอาหารของอะมีบา, การกินเชื้อโรคของเซลล์
เม็ดเลือดขาว
- Pinocytosis : การนาของเหลวเข้าสู่เซลล์โดยการดื่ม
เรียกว่า cell drinking เยื่อหุ้มเซลล์จะเว้าเป็นร่องให้ของเหลวเข้า
มาในเซลล์ แล้วจึงเชื่อมติดกันเป็น vesicle เช่น การดูดซึม
ไขมันที่ลาไส้เล็ก
- Receptor-mediated endocytosis : การนา
ไอออนเข้าสู่เซลล์โดยใช้โปรตีนที่มีความจาเพาะที่เยื่อหุ้มเซลล์
เป็นตัวนาพาสาร
• การลาเลียงสารออกจากเซลล์ (Exocytosis) : vesicle หรือ vacuole ซึ่งบรรจุสารที่
เซลล์ต้องหารส่งออก จะหลอมรวมเข้ากับเยื่อหุ้มเซลล์ แล้วปล่อยสารนั้นออกไปนอกเซลล์ เช่น
การส่งอออกเอนไซม์ของกอลจิบอดี
การหายใจระดับเซลล์ (Cellular respiration)
เป็นกระบวนการแคแทบอลิซึม คือ การ
สลายสารอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่ให้มี
โมเลกุลเล็กลง และปลดปล่อยพลังงาน
ออกมาใช้ จนผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ได้คือ
CO2 ซึ่งถูกขับออกมาทางลมหายใจ

สารตั้งต้นของการหายใจระดับเซลล์คือ
อาหารทุกชนิด เช่น คาร์โบไฮเดรต
โปรตีน ไขมัน แต่สารตั้งต้นที่นามาใช้
ศึกษาในบทนี้ คือ กลูโคส (C6H12O6)
เพราะมีขั้นตอนง่ายที่สุด
พลังงานที่ได้จากการหายใจระดับ
เซลล์เก็บไว้ในรูปของ ATP

การหายใจระดับเซลล์เป็นปฏิกิริยาที่
ตรงข้ามกับการสังเคราะห์ด้วยแสง

การออกซิไดส์สารอาหารจะมี e-
และ H+ หลุดออกมา โดยจะมี
ตัวรับสารเหล่านี้ 2 ตัว คือ NAD+
และ FAD แล้วนาเข้าสู่กระบวนการ
แปลงไปเป็นพลังงาน ATP อีก
รอบหนึ่ง
รูปแบบการหายใจระดับเซลล์
1. ไกลโคลิซสิ (Glycolysis) : สลายกลูโคส (C6) ให้กลายเป็นไพรูเวท
• การหายใจแบบใช้ออกซิเจน (aerobic respiration) : เพื่อนา O2 เข้า (C3) 2 โมเลกุล เกิดที่ไซโทพลาซึมของเซลล์
ไปรับ e- ตัวสุดท้ายของกระบวนการหายใจระดับเซลล์ และคาย CO2
ซึ่งเป็นของเสียจากกระวนการย่อยสลายกลูโคส การหายใจแบบนี้ให้ 2. สร้าง acetyl coenzyme A : เป็นการสลายไพรูเวท (C3) จากขั้น
พลังงาน 36 หรือ 38 ATP/กลูโคส กลไกทั้งหมดมี 4 ขั้นตอน คือ แรกให้กลายเป็น acetyl coenzyme A (C2) กระบวนการนี้เกิดขึ้นใน
matrix ของไมโทคอนเดรีย

3. วัฏจักรเครบส์ (Kreb’s cycle) : เป็นจุดสิ้นสุดของการย่อยสลาย


อาหาร โดย acetyl co.A (C2) ย่อยสลายกลายเป็น CO2 2 โมเลกุล
และคายพลังงานจานวนมาก เกิดใน matrix ของไมโทคอนเดรีย

4. การถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport chain) : เป็นการนา


สารพลังงานสูง FADH2 และ NADH จากขั้นตอนแรกมาปลดปล่อย
พลังงานเพื่อสร้าง ATP แล้วนาไปใช้ต่อไป เกิดในเยื่อหุ้มชั้นในของไม
โทคอนเดรีย
• การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic respiration) :
ให้พลังงานเพียง 2 ATP/กลูโคส โดยพบในสิ่งมีชีวิตบาง
ชนิดที่สภาพแวดล้อมมีออกซิเจนไม่เพียงพอ เช่น ยีสต์,
พยาธิตัวตืด, เมล็ดพืช, แบคทีเรีย
การหายใจแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic respiration)
เริ่มที่กลูโคส และมี 4 ขั้นตอนย่อย เมื่อสิ้นสุดกระบวนการจะได้พลังงาน 36 หรือ 38 ATP แล้วแต่เซลล์ ดังนี้
1. ไกลโคลิซิส (Glycolysis) : เป็นการย่อยสลายกลูโคสให้เล็กลง และปลดปล่อยพลังงาน เกิดขึ้นที่
ไซโทพลาซึมของเซลล์
• Phase 1 มี 5 ปฏิกิริยา เป็นการสลายน้าตาลกลูโคส ซึ่งมี
คาร์บอน 6 อะตอมไปเป็น glyceraldehyde-3-phosphate
(G3P หรือ PGAL) ที่มีคาร์บอนอะตอม 2 โมเลกุล
• Phase 2 มี 5 ปฏิกิริยา เป็นการสลาย G3P ไปเป็น
pyruvate โดยระหว่างเกิดปฏิกิริยาจะได้ 4 ATP ต่อกลูโคส 1
โมเลกุล

• สารตั้งต้น : glucose (C6) 1 โมเลกุล


• ผลิตภัณฑ์ : pyruvate (C3) 2 โมเลกุล
• พลังงานสุทธิ : +2 ATP (ใช้ 2 ATP ได้รับ 4 ATP)
• สารรับ e- : 2 NAD+  2NADH
2.อะซิติลโคเอนไซม์ เอ (Acetyl coenzyme A) : ไพรูเวทจากขั้นตอนไกลโคลิซิสก่อนหน้า จะถูก
ขนส่งเข้าสู่ชั้นของเหลวในไมโทคอนเดรีย (matrix) ผ่านทางโปรตีนตัวพาที่เยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ และเข้าทาปฏิกิริยา
รวมตัวกับโคเอนไซม์ เอ เกิดเป็นอะซิติลโคเอนไซม์ เอ
Pyruvate จะถูกออกซิไดส์ (ให้อิเล็กตรอน NAD+) ได้
CO2 และกรดอะซิติก เมื่อรวมกับ coenzyme A ได้เป็น
acetyl coenzyme A โดยมีเอนไซม์ pyruvate
dehydrogenase เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งหมด
• สารตั้งต้น : pyruvate (C3) 2 โมเลกุล
• ผลิตภัณฑ์ : acetyl co.A (C2) 2 โมเลกุล
• พลังงานสุทธิ : ไม่มีพลังงาน ATP เกี่ยวข้อง
• สารรับ e- : 2 NAD+  2NADH
3.วัฏจักรเครบส์ (Krebs Cycle)
หรือ วัฏจักรกรดซิตริก (citric cycle)

ขั้นตอนนี้ยังคงเกิดขึ้นที่ matrix ของไมโทคอนเดรียอยู่


โดยเริ่มจาก acetyl co.A ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของขั้นตอน
ก่อนหน้า เข้ารวมตัวกับ oxaloacetate เกิดเป็นกรดซิตริก
(citric acid : C6) จากนั้นจึงแตกตัวหลายขั้นตอนเป็น
สาร C5>>C4 จนสุดท้ายกลับมาเป็น oxaloacetate อีก
ครั้ง จับตัวกับ acetyl co.A ตัวต่อไปได้ เกิดเป็นวัฏจักร
ไปเรื่อยๆ
สารตั้งต้น : acetyl co.A 2 โมเลกุล
ผลิตภัณฑ์ : CO2 4 โมเลกุล
พลังงานสุทธิ : +2 ATP
สารรับ e- : 6NAD+ >> 6NADH
2FAD >> 2FADH2
การถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport system/ ETS)

เป็นกระบวนการนาพลังงานจากสาร
พลังงานสูง NADH และ FADH2 ที่
ได้จาก 3 ขั้นแรก ไปใช้สร้าง ATP
มีรายละเอียดดังนี้
• NADH และ FADH2 ใน matrix ของไมโทอนเดรีย
ถูกออกซิไดซ์ให้ H+ และ e- หลุด ดังสมการ
• NADH >> NAD+ + 2H+ + 2e-
• FADH2 >> FAD + 2H+ + 2e-

• e- และ H+ ที่หลุดออกมาจะถูกรีดิวซ์ด้วยตัวรับ e-
เป็นทอดๆ คือ coenzyme Q, cytochrome b,
cytochrome c, cytochrome a+a3 และ O2 เป็น
ตัวรับ e- ตัวสุดท้าย เกิดเป็นน้า ดังสมการ
• 2e- + 2H+ + 1/2O2 >> H2O
• แต่ละขั้นของการรีดิวซ์ e- มีการคายพลังงาน
ออกมา พลังงานนี้นามาใช้นการปั๊ม H+
ออกจากชั้น matrix ไปสู่ inner membrane
ของไมโทคอนเดรีย

• เมื่อ H+ ใน inner membrane เข้มข้นมาก H+


จะแพร่กลับเข้าสู่ matrix ผ่านโปรตีน ATP
synthase ที่ inner membrane การแพร่กลับ
ของ H+ นี้ จะคล้ายกับการพัดกังหันน้า คือ H+
ทาให้โปรตีน ATP synthase เกิดการหมุน
และให้พลังงาน ซึ่งนาไปใช้ในการสังเคราะห์
ATP ได้ ดังสมการ
• ADP + Pi +7.3 kcal >>> ATP
• ภาพรวมกระบวนการที่เกิดขึ้น
• สารตั้งต้น : NADH 10 โมเลกุล, FADH2 2 โมเลกุล
• ผลิตภัณฑ์ : NAD+ 10 โมเลกุล, FAD 2 โมเลกุล
• พลังงานสุทธิ : +34ATP (จาก NADH = 10x3 = 30 ATP, จาก FADH2 = 2x2 = 4 ATP)
การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
(anaerobic respiration)

เกิดกับเซลล์ร่างกายในสภาวะที่ขาดออกซิเจน
เช่น เซลล์กล้ามเนื้อลาย และพบการหายใจ
แบบไม่ใช้ออกซิเจนในสิ่งมีชีวิตบางชนิด
เช่น ยีสต์ การหายใจแบบนี้ให้พลังงาน
เพียง 2 ATP/กลูโคส โดยใช้สารอื่นที่
ไม่ใช่ O2 เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้าย
• ไกลโคลิซสิ (glycolysis) : เกิดขึ้นที่ไซโทพลาซึม
และเหมือนการหายใจแบบใช้ออกซิเจนทุกประการ
• การหมัก (fermentation) : เกิดที่ไซโทพลาซึม
การที่ไม่มีออกซิเจน มารับอิเล็กตรอน ทาให้เซลล์
ต้องสร้างสารบางอย่างเพื่อมาใช้รับอิเล็กตรอน
• การหมักแอลกอฮอล์ (Alcoholic
fermentation) พบในยีสต์ พืช
แบคทีเรีย เริ่มจาก pyruvate
กลายเป็นสารที่มี C 2 อะตอม เรียกว่า
acetaldehyde (C2H4O) และ
ปลดปล่อย C ออกมาในรูป CO2
จากนั้นจะรับ 2H+ และ 2e- มาจาก
NADH กลายเป็น ethanol
(C2H5OH) โดยหากเซลล์ขับเอทานอล
ออกไม่ทันจะทาให้เซลล์ตายในทันที

• C6H12O6 + 2ADP >> 2C2H5OH + 2CO2 + 2ATP


• การหมักกรดแลกติก (Lactic acid
fermentation) พบในเซลล์กล้ามเนื้อ
ลายของคน เซลล์พยาธิตัวตืด แบคทีเรีย
บางชนิด โดยเริ่มจาก pyruvate เป็นตัวที่
รับ 2e- และ 2H+ มาจาก NADH
โดยตรง นามาใช้ในการเปลี่ยนแปลงเป็น
กรดแลกติก (C3H6O3) โดยกรดแลกติกที่
เกิดขึ้น จะทาให้เซลล์กล้ามเนื้อเกิดอาการ
เมื่อยล้า จนอาจจะเป็นตะคริวได้ มีสมการ
รวมปฏิกิริยา ดังนี้

• C6H12O6 + 2ADP >> 2C3H6O3 + 2ATP


การแบ่งเซลล์ (Cell division) เป็นการเพิ่มจานวนและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตจาเป็นต้อง
อาศัยขั้นตอนการแบ่งเซลล์ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ๆ

การแบ่งเซลล์
(Cell division)

การแบ่งนิวเคลียส การแบ่งไซโทพลาซึม
(karyokinesis) (Cytokinesis)

Mitosis Meiosis เกิดร่องแบ่ง เกิดแผ่นกั้นเซลล์


furrow (สัตว์) cell plate (พืช)
โครโมโซม (Chromosome) : สารพันธุกรรมทีอ่ ยู่ในนิวเคลียส มีหน่วยย่อยคือ DNA และโปรตีนฮิสโตน

- DNA พันอยู่รอบโปรตีนฮิสโตน เรียกว่า


นิวคลีโอโซม (Nucleosome) นิวคลีโอโซมจะ
ขดตัวเป็นเส้นใย โครมาติน (Chromatin)
- ในช่วงการแบ่งเซลล์ โครมาทินจะขดตัวกลายเป็นแท่ง
เรียกว่า โครโมโซม (Chromosome) แท่งโครโมโซม
ประกอบด้วย 2 โครมาติด (Chromatid) ที่เหมือนกันทุก
ประการ เรียกว่า sister chromatids โครมาติดทั้งสองจะจับ
ตัวกับก้อนโปรตีนไคนีโตคอร์ (Kinetochore) เกิดเป็นรอย
คอดเรียกว่า เซนโตรเมียร์ (Centromere)
โครโมโซมในสิง่ มีชวี ติ : สิ่งมีชวี ติ ที่สบื พันธุแ์ บบอาศัยเพศ จะมีเซลล์ 2 ชนิด
1. เซลล์ร่างกาย (Somatic cell) : มีจานวนโครโมโซมเป็นเลข 2. เซลล์สืบพันธุ์ (sex cell) : ได้แก่ ไข่ (ovum)
คู่ เรียกว่า ดิพลอย์ (diploid) ใช้สัญลักษณ์ 2n โดย และสเปิร์ม (sperm) มีจานวนโครโมโซมเป็นเลขคี่
โครโมโซมแต่ละแท่งจะมีอีกแท่งหนึ่งที่มีลักษณะเหมือนกันทุก เรียกว่าแฮพลอยด์ (haploid) ใช้สัญลักษณ์ n โดย
ประการ เรียกว่า homologous chromosome โครโมโซมแต่ละแท่จะมีลักษณะไม่ซ้ากันเลย
การแบ่งนิวเคลียส (Karyokinesis) แบ่งออกเป็น

• การแบ่งแบบไมโทซิส (Mitosis) : แบ่งเซลล์ร่างกายเพื่อการเจริญเติบโต


• การแบ่งแบบไมโอซิส (Meiosis) : แบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (Mitosis)

• การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (Mitosis) : คือการแบ่ง


เซลล์เพื่อสร้างเซลล์ร่างกายใหม่ หลังแบ่งเซลล์จะมี
โครโมโซมเท่าเดิม (2n>>2n) และเซลล์ยังสามารถแบ่ง
เซลล์ซ้าต่อไปได้อีก เรียกว่า วัฏจักรเซลล์ (cell cycle)
แบ่งเป็น 2 ระยะหลักๆ
1. ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) เป็นระยะในวัฏจักรเซลล์
เพื่อเตรียมความพร้อมที่จะแบ่งเซลล์ แบ่งเป็น 3 ระยะย่อย
- ระยะจี 1 (G1 phase)
- ระยะเอส (S phase)
- ระยะจี 2 (G2 phase)
2. ระยะไมโทซิส (Mitosis phase หรือ M phase) เป็น
ระยะที่มีการแบ่งนิวเคลียสและไซโทพลาซึม แบ่งเป็น 4
ระยะย่อย
- ระยะโพรเฟส (prophase)
- ระยะเมตาเฟส (metaphase)
- ระยะแอนาเฟส (anaphase)
- ระยะเทโลเฟส (telophase)
ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) : เป็นช่วงที่เซลล์ใช้เวลายาวนาน เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเริ่มกระบวนการ
แบ่งเซลล์ ในช่วงนี้จะมีเมทาบอลิซึมสูงที่สุด จึงเรียกว่า metabolic stage มี 3 ขั้นตอนย่อย ดังนี้

• G1 phase : เซลล์เจริญเติบโตมากขึ้น มีการสร้างโปรตีน มีการ


เพิ่มจานวนออร์แกเนลล์ เช่นไมโทคอนเดรีย ร่างแหเอนโดพลาซึม
และมีการสะสมสารที่จาเป็น
• S phase : เซลล์สังเคราะห์ DNA เพิ่มเป็น 2 เท่า (DNA
Replication) ใช้เวลา 10-12 ชม. แต่สาย DNA จะยังติดอยู่ที่
เซนโตรเมียร์เดิม จึงถือว่าโครโมโซมเท่าเดิม
• G2 phase : เป็นระยะพักเตรียมพร้อม เซลล์ยังคงสังเคราะห์
โปรตีนเพิ่มเติม แต่หยุดสร้าง DNA แล้ว
ระยะไมโทซิส (mitosis phase หรือ M-phase) : ใช้เวลาไม่นาน แบ่งเป็น 4 ระยะย่อย

• 1. โพรเฟส (Prophase) :
• ในนิวเคลียส
• โครมาทินขดตัวกลายเป็นแท่งโครโมโซม (1 โครโมโซม มี
2 โครมาทิด) ยึดติดกันด้วยโปรตีนไคนีโตคอร์
• ในไซโทพลาซึม
• เซนทริโอลจาลองตัวเองเป็น 2 อัน แต่ละอันเคลื่อนตัวไปคน
ละขั้วเซลล์ ไมโครทิวบูลต่อกันเป็นสายยาว เรียกว่า เส้น
ใยสปินเดิล (spindle fiber) แล้วไปจับกับเซนทริโอลที่แต่
ละขั้วเซลล์กับเซนโตรเมียร์ของแต่ละโครโมโซม

• ช่วงสุดท้ายของระยะนี้เรียกว่า prometaphase เยื่อหุ้มนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสสลายไป


โครโมโซมขดตัวกันแน่นขึ้น พร้อมกับปรากฏเส้นใยสปินเดิลที่บริเวณขั้วเซลล์ทั้งสอง
• เมทาเฟส (Metaphase) : โครโมโซมย้ายมา
เรียงตัวกันกลางเซลล์ เรียกว่า equatorial plate
เป็นระยะทีเ่ ห็นโครโมโซมชัดเจนที่สุด และนับจานวน
โครโมโซมง่ายที่สุด จึงเหมาะสาหรับทาการแยก
โครโมโซมมาจับเป็นคู่ เพื่อนามาศึกษาความผิดปกติ
ของโครโมโซมเรียกว่า karyotype
• แอนาเฟส (anaphase) : เส้นใยสปินเดิล
หดสั้นลง ดึงโครโมโซมให้ sister chromatid
แยกออกจากกันไปแต่ละขั้วเซลล์อย่างละ 1 ชุด
ระยะนี้มีการใช้พลังงาน ATP สูง
• เทโลเฟส (Telophase) : โครโมโซมแต่ละขั้วเซลล์
คลายตัวออกเป็นเส้นใยโครมาติน เยื่อหุ้มนิวเคลียส
และนิวคลีโอลัสเริ่มเกิดขึ้น แต่ละนิวเคลียสจะ
ประกอบด้วยโครโมโซมที่มีจานวนและชนิดที่
เหมือนกับนิวเคลียสตั้งต้น และเส้นใยสปินเดิล
สลายตัวเป็น microtubule
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (Meiosis)
• การแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์
หลังแบ่งเซลล์จะมีโครโมโซมลดลง
ครึ่งหนึ่ง (2n>>n) และเซลล์ลูกจะแบ่ง
เซลล์แบบไมโอซิสซ้าต่อไปอีกไม่ได้
จุดเด่นของไมโอซิสคือ มีการแบ่ง
นิวเคลียส 2 ครั้ง เพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้
• แบ่งนิวเคลียสครัง้ แรก (Meiosis I) :
แยก homologous chromosome ของ
เซลล์ร่างกายออกจากกัน (2n>>2n)
• แบ่งนิวเคลียสครัง้ สอง (Meiosis II) :
แยก sister chromatid ออกจากกัน
เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (2n>>n)
• ระยะอินเตอร์เฟส (interphase)
: เหมือนกับระยะ interphase
ใน mitosis ทุกประการ
ระยะไมโอซิส I (Meiosis I) :
• Prophase I : คล้ายกับ prophase ใน mitosis มีจุด
ต่างกัน ดังนี้
• โฮโมโลกัสโครโมโซม เริ่มเข้ามาจับคู่กัน เรียกว่า ไซแนปซิส
(Synapsis) คู่ของโฮโมโลกัสโครโมโซม เรียกว่า bivalent
• แขนโครโมโซมที่ไซแนปซิสจะไขว้กันอยู่ เรียกว่า crossing
over จุดที่ไขว้กันเรียกว่า chiasma ทาให้มีการแลกเปลี่ยน
ชิ้นส่วน DNA กัน เรียกว่า recombination นอกจากนั้นอาจมี
การแลกเปลี่ยนชิ้นส่วน DNA ระหว่างโครโมโซมที่ไม่ได้เป็นโฮ
โมโลกัสกัน เรียกว่า ทรานสโลเคชัน (translocation) ทั้งสอง
กรณีก่อให้เกิดความผันแปรของยีน ซึ่งทาให้เกิดความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต
• Metaphase I : โครโมโซมหดสั้นที่สุด
และ spindle fiber จับดึงทึก bivalent
มาเรียงตัวกันอยู่กลางเซลล์
• Anaphase I : spindle fiber จับ
bivalent แยกออกจากกันไปยังแต่ละขั้ว
ของเซลล์ (โครโมโซมยังมี 2 โครมาติด)
• Telophase I : เริ่มมีการแบ่งไซโทพลาซึม และ
เซลล์ลูกมีจานวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง (2n>>n)
ระยะไมโอซิส II (Meiosis II) : คล้าย mitosis มาก

• Prophase II : โครโมโซมหดสั้นมาก
เยื่อหุ้มนิวเคลียสสลายตัว ทาให้เห็นแต่ละ
โครโมโซมมี 2 โครมาทิด
• Metaphase II : แต่ละโครโมโซมจะถูกดึง
ด้วย spindle fiber มาเรียงตัวกันอยู่กลาง
เซลล์ในแนวระนาบ (equatorial plate)
• Anaphase II : spindle fiber หดตัวลง ทาให้ sister
chromatid ของแต่ละโครโมโซมแยกออกจากกัน (disjunction) ไป
ยังขั้วแต่ละข้างของเซลล์ ทาให้โครโมโซมเพิ่มจาก n>>2n ระยะสั้นๆ
• Telophase II : spindle fiber สลายไป เกิด
นิวเคลียสใหม่ 4 นิวเคลียส มีการสร้างเยื่อหุ้มนิวเคลียส
และนิวคลีโอลัสใหม่อีกครั้ง
การแบ่งไซโทพลาซึม (Cytokinesis) : เซลล์สัตว์และเซลล์พืชจะมีการแบ่งไซโทพลาซึมที่แตกต่างกัน
• การแบ่งไซโทพลาซึมในเซลล์สตั ว์ : การก่อตัวของเยื่อหุ้ม การแบ่งไซโทพลาซึมในเซลล์พชื : ผนังเซลล์ก่อตัวจาก
เซลล์ เกิดจากไมโครฟิลาเมนต์ภายในไซโทพลาซึม รวมตัว Golgi body ส่งถุง vesicle มารวมกันให้ใหญ่ขึ้นจนเป็น
กันเป็น contractile ring และหดตัวดึงให้เยื่อหุ้มเซลล์คอด cell plate และใหญ่ขึ้นจนกลายเป็น cell wall ในที่สุด
เข้าหากัน เรียกว่า คลีเวจ เฟอร์โรว (Cleavage furrow)

You might also like