You are on page 1of 76

โครงสร้าง

และการเจริญเติบโต
ของพืชดอก
โดย
นางสาวณัฐรัมภา นาชัยภูมิ
⊷ ตรวจสอบความรู้ก่อนเรียน
.......1. เซลล์พืชทุกชนิดมีผนังเซลล์หุ้มอยู่ด้านนอกของเยื่อหุ้มเซลล์
.......2. เซลล์ทุกชนิดของพืชมีคลอโรพลาสต์
.......3. เซลลูโลสเป็นโครงสร้างหลักของผนังเซลล์พืช
.......4. พืชดูดน้าและธาตุอาหารผ่านทางเซลล์ขนราก
.......5. ราก ล้าต้น และใบ เป็นอวัยวะที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก
.......6. พืชใบเลียงเดี่ยวที่เจริญเติบโตเต็มที่มีรากแก้ว
.......7. ราก ท้าหน้าที่ช่วยยึดโครงสร้างของล้าต้นพืชให้ติดอยู่กับดินหรือวัสดุปลูก
.......8. ล้าต้น ท้าหน้าที่ล้าเลียงน้า ธาตุอาหาร และอาหาร ไปยังส่วนต่างๆ ของพืช

22
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์อยู่
รวมกัน (multicellular organism) โดยมีการ จัดเป็นระบบ
ของเนือเยื่อ (tissue system) แทนการมีอวัยวะภายใน
เหมือนสัตว์ โดยระบบเนือเยื่อเกิด จากการรวมของเซลล์
และเนือเยื่อชนิดต่าง ๆ ด้วยเหตุนี พืชจึงปรากฏเนือเยื่อ
หลากหลายชนิด โดยใน แต่ละชนิดจะมีลักษณะเฉพาะและ
ท้าหน้าที่แตกต่างกันไปตามบทบาทและต้าแหน่งของ
เนือเยื่อเหล่านัน เพื่อให้พืชสามารถด้ารงชีวิตได้ตาม
สภาพแวดล้อมที่พืชอาศัยอยู่

4
การจัดระเบียบโครงสร้างของพืช
พืชชันสูงจะมีองค์ประกอบของร่างกาย เรียงล้าดับจากเล็กไปใหญ่ ดังนี

โมเลกุล เซลล์พืช เนือเยื่อพืช อวัยวะ ระบบอวัยวะ พืช

5
ระบบเนือ้ เยือ่ พืช (Plant tissue) : แบ่งเป็น 3 ระบบ ได้แก่
• ระบบเนือเยื่อผิว (dermal tissue system) : อยู่ชันนอกสุด ช่วยปกคลุม
อวัยวะจากอันตรายต่างๆ มี 2 ชนิด
• epidermis : ปกคลุมส่วนของพืชที่มีการเจริญเติบโตขันปฐมภูมิ
• Peridermis : ปกคลุมส่วนของพืชที่มีการเจริญขันทุติยภูมิ
• ระบบเนือเยื่อท่อล้าเลียง (vascular tissue system) : เกิดจากเนือเยื่อ
2 ชนิด คือ ไซเล็ม (xylem) และ โฟลเอ็ม (phloem) ท้าหน้าที่ล้าเลียง
น้า แร่ธาตุ และสารอาหาร
• ระบบเนือเยื่อพืน (ground tissue system) : เป็นเนือเยื่อที่
นอกเหนือจากเนือเยื่อผิวและเนือเยื่อท่อล้าเลียง ซึ่งนับเป็นส่วนใหญ่ของ
เนือเยื่อพืช พบอยู่ในชัน cortex และ pith ทังในรากและล้าต้นของพืช
6
อวัยวะของพืช
• เกิดจากการรวมตัวกันของ
เนือเยื่อต่างๆ พืชมีอวัยวะที่
ส้าคัญ ได้แก่ ราก ล้าต้น ใบ
ดอก และเมล็ด ท้าหน้าที่
ต่างกันแต่ท้างานร่วมกัน หาก
ขาดอวัยวะส่วนใดไปอาจท้าให้
พืชเกิดความปกติจนตายได้

7
ระบบอวัยวะของพืช : มีเพียง 2 ระบบหลักเท่านัน้ คือ

•ระบบยอด (shoot system) : ส่วนของพืชที่อยู่เหนือพืนดินทังหมด


•ระบบราก (root system) : ส่วนของพืชที่อยู่ลึกลงไปในดินทังหมด
8
ผนังเซลล์ของพืช (plant cell wall)
•ผนังเซลล์ของพืช ช่วยปกป้องเซลล์และช่วย
ยึดแต่ละเซลล์เข้าด้วยกัน ให้เป็นเนือเยื่อ
มี microfibril เป็นองค์ประกอบหลัก มี
ลิกนิน, คิวติน, ซูเบอริน และเพกตินแทรก
อยู่ ผนังเซลล์จะมีช่องเล็กๆเรียกว่า
plasmodesmata สามารถส่งสารเคมีระหว่าง
กันได้ ผนังเซลล์พืชแบ่งเป็น 3 ชนิด
9
ชนิดของผนังเซลล์พชื
• มิดเดิลลาเมลลา (middle lamella) : เจริญมาจาก cell
plate ในช่วงของการแบ่งเซลล์ เป็นชันบางๆของเพกติน
อยู่ชันนอกสุดของเซลล์ ท้าหน้าที่เชื่อมต่อเซลล์ให้ติดกัน
• ผนังเซลล์ปฐมภูมิ (primary cell wall) : สร้างขึนขณะที่
เซลล์ก้าลังเจริญเติบโต มีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบหลัก
• ผนังเซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell wall) : สร้างขึนเมื่อ
เซลล์หยุดขยายขนาดแล้ว เป็นผนังชันในสุด พบในพืชบาง
ชนิดเท่านัน มีคิวติน เพกติน ลิกนิน ซูเบอริน มาเกาะ
10
เนื้อเยื่อพืช
Plant tissue
เนือเยือ่ พืช หมายถึง เซลล์หลาย ๆ เซลล์
ของพืชที่มาอยู่รวมกัน ท้าหน้าที่คล้ายกัน
หรืออย่างเดียวกัน

12
⊷ เมื่อพิจารณาถึงความสามารถ
ในการแบ่งเซลล์ของเนือเยื่อพืช
แบ่งเนือเยื่อออกได้เป็น 2
ประเภท
⊶ เนือเยื่อเจริญ (meristematic tissue)
⊶ เนือเยื่อถาวร (permanent tissue)

13
เนื้อเยือ่ เจริญ (meristematic tissue)

⊷ เป็นเนือเยื่อที่แบ่งเซลล์ได้ตลอด และไม่ผ่านการ
เปลี่ยนสภาพ
⊷ มีเซลล์เจริญ (meristematic cell) ซึ่งเป็นเซลล์
ที่มีผนังบาง นิวเคลียสใหญ่ เรียงชิดกันอยู่ มี
การแบ่งเซลล์แบบไม่โทซิสได้อย่างรวดเร็ว

14
ชนิดของเนือ้ เยือ่ เจริญ เนือเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary
meristem)
เป็นเนือเยื่อเจริญที่ท้าให้เกิดการ
เจริญเติบโตขันแรก เซลล์มีลักษณะ
เป็นทรงกระบอก ท้าให้ปล้องยืดยาว
ขึน พบในพืชใบเลียงเดี่ยว

เนือเยื่อเจริญด้านข้าง (lateral meristem)


เป็นเนือเยื่อเจริญที่ท้าให้เกิดการ
เจริญเติบโตขันที่สอง คือ ล้าต้นและรากเพิ่ม
ขนาดใหญ่ขึน เนือเยื่อชนิดนีเรียกว่า แคม
เนือเยื่อเจริญส่วนปลาย (apical meristem) เบียม มี 2 ชนิด
พบในพืชทุกชนิดตังแต่เกิดจนตาย อยู่ - วาสคิวลาร์แคมเบียม (vascular
บริเวณปลายยอดและปลายราก เป็นเนือเยื่อ cambium) อยู่ระหว่างxylem และ
ที่เมื่อแบ่งเซลล์แล้วเกิดการเจริญเติบโตขัน phloem
แรก คือ ล้าต้นและรากยืดยาวขึน
- คอร์กแคมเบียม (cork cambium)
แทรกอยู่ระหว่างเนือเยื่อผิว เจริญไปเป็น
คอร์กเพื่อท้าหน้าที่เป็นแปลือกไม้
15
การเจริญของเนือ้ เยือ่ เจริญส่วนปลาย
แบ่งเป็น 3 ส่วนตามการเจริญของเซลล์ ดังนี
1. Protoderm : เจริญไปเป็นเนือเยื่อผิว (epidermis)
ซึ่งเป็นเนือเยื่อถาวร
2. Procambium : เจริญไปเป็นเนือเยื่อล้าเลียงปฐมภูมิ
ซึ่งเป็นเนือเยื่อถาวร และเป็นเนือเยื่อ vascular
cambium ซึ่งเป็นเนือเยื่อเจริญที่จะเจริญต่อไปเป็น
xylem และ phloem
3. Ground meristem : เจริญไปเป็นเนือเยื่อพืน เช่น
พาเรงคิมา คอลเลงคิมา

16
เนื้อเยือ่ ถาวร (permanent tissue)

⊷ เป็นเนือเยื่อที่เติบโตมาจาก
เนือเยื่อเจริญ (meristematic
tissue) และไม่สามารถแบ่ง
เซลล์ต่อไปได้อีก เซลล์จึงมี
รูปร่างที่คงที่ มีลักษณะต่างๆ
เพื่อท้าหน้าที่ต่างๆ ดังนี

17
เนื้อเยื่อถาวร สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้

❖ เนือเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (simple tissue)


❖ เนือเยื่อถาวรเชิงซ้อน (complex tissue)

18
เนื้อเยือ่ ถาวรเชิงเดีย่ ว ⊷ เป็นเนือเยื่อที่เกิดจากเซลล์ถาวรเพียงชนิดเดียว มาอยู่ร่วมกันและท้าหน้าที่ร่วมกัน

1. พาเรงคิมา (parenchyma) : เกิดจากเซลล์พาเรงคิมาหลาย


เซลล์มารวมตัวกัน
❖ เนือเยื่อพืนฐานของพืชมีแวคิวโอลขนาดใหญ่ เป็นเซลล์
รูปร่างทรงกระบอกหลายเหลี่ยม
ค่อนข้างกลม ท้าให้เมื่ออยู่รวมกันเกิดช่องว่าง เรียกว่า แอเรงคิมา
(aerenchyma)
❖ เมื่อโตเต็มที่ยังเป็นเซลล์ที่มีชีวิต มีผนังเซลล์ปฐมภูมิ
❖ ท้าหน้าที่เก็บสะสมอาหารและน้า ท้าหน้าที่เกี่ยวกับการ
สังเคราะห์ด้วยแสง และหลั่งสารออกมาภายนอก

19
คอลเลงคิมา (collenchyma)
⊷ เกิดจากเซลล์คอลเลงคิมาหลายเซลล์รวมตัวกัน
⊷ ผนังเซลล์หนากว่าพาเรงคิมา แต่มีความไม่
สม่้าเสมอ และจะหนามากที่มุมเซลล์ เพราะมี
สารพวกเพกตินมาสะสม
⊷ มีรูปร่างหลายเหลี่ยม เมื่อโตเต็มที่จะยังมีชีวิต
อยู่ และเป็นเซลล์ที่มีผนังเซลล์ทุติยภูมิ
⊷ พบอยู่ถัดจากเอพิเดอร์มิสและไม่พบในราก
⊷ ท้าหน้าที่ให้ความแข็งแรงกับส่วนที่ยังอ่อนของ
พืช เช่น ล้าต้นของพืชล้มลุก ก้านใบ เส้นกลาง
ใบ

20
สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)
⊷ เกิดจากเซลล์สเกลอเรงคิมาหลายเซลล์รวมตัวกัน
⊷ เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย มีหน้าที่หลักในการค้า
จุน ให้ความแข็งแรง แบ่งเป็น 2 ชนิด
⊶ ไฟเบอร์ (fiber) เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างเรียว
แหลมและยาว สร้างความแข็.แรงให้สว่ นที่
โค้งงอ
⊶ สเคลอรีด (sclereid) เป็นเซลล์หลายรูปทรง
แต่สันกว่าไฟเบอร์ มีผนังเซลล์หนามาก
แข็งที่สุด พบในเปลือกผลไม้ที่แข็ง

sclereid
21
เนื้อเยือ่ ผิว (epidermis)
⊷ ประกอบขึนจากเซลล์ที่เปลี่ยนแปลงไปท้าหน้าที่หลาย
ชนิด เช่น เซลล์คุม เซลล์ขนราก เซลล์ขน ต่อม
⊷ อยู่บริเวณด้านนอกสุดของพืช เซลล์เรียงแถวกันแน่น
ไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ ผนังเซลล์เป็นแบบปฐมภูมิ
⊷ ท้าหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนือเยื่อที่อยู่ภายใน
และเสริมความแข็งแรง
⊷ ปกติไม่พบคลอโรพลาสต์ ยกเว้นที่เปลี่ยนเป็นเซลล์คุม
⊷ เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะยังมีชีวิต แต่จะแตกสลายไปเมื่อพืช
มีการเจริญเติบโตขันที่ 2

22
เนื้อเยือ่ ถาวรเชิงซ้อน ⊷ เป็นเนือเยื่อที่เกิดจากเซลล์ถาวรอยู่รวมกันมากกว่า 1 ชนิด ได้แก่ เนือเยื่อท่อล้าเลียง
(vascular tissue) มี 2 ชนิด คือ ไซเล็ม (xylem) และ โฟลเอ็ม (phloem)

23
ท่อล้าเลียงน้า้ (Xylem)
⊷ ล้าเลียงน้าและแร่ธาตุจากยอดสู่รากในแนวดิ่ง
ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด คือ
⊶ Tracheid : เซลล์มีรูปร่างเรียวยาว ปลายแหลม
มีผนังเซลล์ทุติยภูมิ วางเรียงซ้อนกันแบบมีรูพรุน
ด้านข้าง ท้าหน้าที่ล้าเลียงน้าในแนวดิ่ง
⊶ Vessel member : เซลล์รูปทรงกระบอกสัน เมื่อ
เรียงต่อกันเรียกว่า vessel เป็นท่อล้าเลียงน้าใน
พืชดอก
⊶ Parenchyma : เป็นองค์ประกอบเดียวที่ยังคงมี
ชีวิต ใช้ล้าเลียงน้าและแร่ธาตุในแนวรัศมีล้าต้น
⊶ Fiber : เป็นเซลล์ที่เปลี่ยนรูปมาจาก tracheid มี
ผนังเซลล์ทุติยภูมิ ช่วยให้ความแข็งแรงแก่ท่อ
xylem

24
ท่อล้าเลียงอาหาร (Phloem)
⊷ ล้าเลียงอาหารที่สังเคราะห์จากใบไปยังล้าต้น
ประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด คือ
⊶ Sieve tube member : เซลล์มีรูปร่างยาว
ทรงกระบอก ไม่มีนิวเคลียสและไรโบโซม เพราะ
ต้องการเพิ่มพืนที่ล้าเลียงอาหาร ผนังเซลล์มีรูพรุน
ให้ไซโทพลาซึมไหลผ่านได้ ท้าหน้าที่ล้าเลียง
สารอาหารในแนวดิ่ง
⊶ Companion cell : เซลล์มีนิวเคลียสขนาดใหญ่
และออร์แกเนลล์จ้านวนมาก ท้าหน้าที่สร้างเอนไซม์
⊶ Parenchyma : เป็นแหล่งสะสมอาหาร และช่วย
ล้าเลียงอาหารในแนวรัศมี
⊶ Fiber : ช่วยให้ความแข็งแรงท่อ Phloem และใน
พืชใบเลียงคู่ fiber จะรวมกลุ่มกันอยู่ เรียกว่า
fiber cap
25
26
27
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก
⊷ ราก (Root) เป็นโครงสร้างหลักที่อยู่ใต้ดินของพืช มีหน้าที่ส้าคัญคือ ยึดล้าต้นให้อยู่ติดกับ
พืนดิน ท้าหน้าที่ดูดซึมน้าและแร่ธาตุจากดิน ส่งไปยังส่วนต่างๆของล้าต้น

28
โครงสร้างภายในของรากทีเ่ กิดจากการเจริญระยะแรก (primary growth)
⊷ โครงสร้างตามยาวของราก
⊷ โครงสร้างตามขวางของราก

29
โครงสร้างตามยาวของราก ⊷ แบ่งเป็น 4 บริเวณ จากด้านล่างขึนด้านบน ตามล้าดับต่อไปนี
(longitudinal section)

• บริเวณหมวกราก (root cap)


• บริเวณเซลล์ก้าลังแบ่งตัว (region of cell
division)
• บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว (region of
cell elongation)
• บริเวณเซลล์แห่งการพัฒนาเพื่อท้าหน้าที่
เฉพาะ (region of cell maturation)

30
บริเวณหมวกราก
(Root cap)
⊷ อยู่ปลายสุดของราก เป็นชัน
เนือเยื่อถาวรหนา 1-2 cm ท้า
หน้าที่ผลิตเมือกเพื่อท้าให้ดิน
เกิดความชุ่มชืน แล้วจึงชอนไช
รากเข้าไปในดิน และช่วย
ปกป้องเนือเยื่อชันถัดมาด้วย

31
บริเวณเซลล์กา้ ลังแบ่งตัว
(region of cell division

⊷ เป็นชันของเนือเยื่อเจริญปลายรากที่
แบ่งเซลล์เพิ่มจ้านวนตลอดเวลา ส่วน
หนึ่งเจริญไปเป็นหมวกราก อีกส่วน
หนึ่งเจริญเป็นเนือเยื่อที่อยู่สูงถัดขึนไป

32
บริเวณเซลล์ขยายตัวตามยาว
(region of cell elongation)

⊷ เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์มีการ
ขยาดขนาดและรูปร่าง และมีการ
สะสมสารต่างๆ แวคิวโอลขนาดใหญ่
ขึน ท้าให้ความยาวรากเพิ่มขึน

33
บริเวณเซลล์แห่งการพัฒนาเพือ่ ท้าหน้าทีเ่ ฉพาะ
(region of cell maturation)
⊷ เซลล์ที่ขยายขนาดเต็มที่เปลี่ยนเป็น
เนือเยื่อถาวร และเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
เซลล์เพื่อท้าหน้าที่ต่างๆ เช่น พัฒนาไป
เป็นเนือเยื่อล้าเลียง (xylem, phloem)
พัฒนาเป็น เซลล์ขนราก (Root hair)

34
35
โครงสร้างตัดตามขวางของราก (cross section)
เมื่อน้ารากพืชบริเวณที่เซลล์เติบโตเต็มทีแ่ ล้วมาตัดตามขวาง จะพบการจัดเรียงเนือเยื่อจากเนือเยื่อด้านนอกสุดเข้ามาด้านในสุด ดังนี
epidermis
Dicot monocot
cortex
casparian strip
pith
stele

pericycle
xylem
phloem
36
เอพิเดอร์มสิ (epidermis) เป็นเนือเยื่อถาวรที่อยู่ชันนอกสุด เซลล์เรียงตัวติดกันเป็นชันเดียว ส่วนใหญ่ไม่มี
คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์บางพบเซลล์ขนรากที่เนือเยื่อชันนี โดยจะยื่นยาวออกไป
ด้านข้างเพื่อเพิ่มโอกาสในการดูดซึมน้าและแร่ธาตุ

37
คอร์เท็กซ์ (cortex)
เป็นชันเนือเยื่อถาวรที่กว้างมากที่สุด ประกอบด้วยเซลล์
parenchyma เป็นหลัก ท้าหน้าที่เก็บสะสมอาหาร
เนือเยื่อชันในสุดของคอร์เท็กซ์เรียกว่า เอนโดเดอร์มิส
(endodermis) มีการพอกของสารลิกนิน และ ซูเบอริน
ที่ผนังเซลล์ จึงมองเห็นเป็นแถบบางๆเรียกว่า แถบ
แคสปาเรียน (casparian strip) ท้าหน้าที่ควบคุมน้า
ผ่านเข้าสู่ชันstele

38
สตีล (stele) เป็นเนือเยื่อถาวรที่อยู่ชันในสุด ประกอบด้วยเนือเยื่อหลายกลุ่ม เรียง
จากนอกออกมาใน ดังนี
- เพอริไซเคิล (pericycle) : ชันที่อยู่นอกสุดของสตีล
เป็นชันเนือเยื่อมีหน้าทีแ่ บ่งเซลล์เพื่อสร้างรากแขนง และสร้างเนือเยื่อ
คอร์ก ซึ่งเป็นเนือเยื่อถาวรที่เป็นการเจริญชันทุตยิ ภูมิ
- มัดท่อล้าเลียง (vascular bundle) : เป็นชันเนือเยื่อที่
อยู่ตรงกลาง ประกอบด้วย xylem และ phloem จัดเรียงตัวเป็นแนว
รัศมี ดังนี
1. primary xylem : เรียงตัวเป็นแฉก(arch)
2. primary phloem : อยู่ติดกับ xylem โดย
จะแทรกอยู่ระหว่างแฉกของ xylem
- พิธ (pith) : พบเฉพาะรากพืชใบเลียงเดี่ยว เป็นเซลล์
เนือเยื่อพาเรงคิมาอยู่กึ่งกลางราก

39
40
โครงสร้างรากพืชในช่วงการเติบโตขัน้ ทีส่ อง (secondary growth of root)
⊷ พบเฉพาะพืชใบเลียงคู่เท่านัน เป็นการขยายขนาดของราก
ให้กว้างขึน เกิดขึนบริเวณเหนือขนรากขึนไป โดยเกิด
จาก
⊶ เนือเยื่อ vascular cambium (อยู่ระหว่าง
primary xylem และ primary phloem) มีการ
แบ่งเซลล์เพื่อเจริญเป็นเนือเยื่อถาวรด้านในของราก
(secondary xylem ) และ เนือเยื่อถาวรด้าน
นอกของราก (secondary phloem)
⊶ เนือเยื่อ pericycle เปลี่ยนกลับไปเป็นเนือเยื่อ
เจริญ (cork cambium) และแบ่งเซลล์เพื่อสร้าง
เนือเยื่อถาวร cork ซึ่งเป็นเปลือกราก ท้าให้ราก
ไม่สามารถดูดน้าได้

41
ระบบรากพืช : แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ

1. ระบบรากแก้ว (taproot) : เจริญมาจากรากแรก


เกิด (radicle) พบตลอดชีวิตของพืชใบเลียงคู่ แต่พบ
เฉพาะช่วงต้นอ่อนของพืชใบเลียงเดี่ยวและจะสลายไป
รากแก้วจะมีรากแขนง (lateral root) ที่เจริญมาจาก
เนือเยื่อชัน pericycle ของราก
2. รากฝอย (fibrous root) : พบในพืชใบเลียง
เดี่ยว หรือพืชปักช้ากิ่ง เป็นรากที่ไม่ได้เจริญมาจากราก
แรกเกิด แต่เจริญมาจากเนือเยื่อ pericycle บริเวณล้า
ต้นของพืช

42
รากพิเศษ (adventitious root) : พัฒนามาจากรากแก้วหรือรากฝอย เพื่อท้าหน้าทีเ่ ฉพาะ ดังนี
⊷ รากอากาศ(aerial root)
⊷ รากค้าจุน (prop root)
⊷ รากหายใจ (breathing root)
⊷ รากปรสิต/รากกาฝาก (parasite root)
⊷ รากสะสมอาหาร (storage root)
⊷ รากสังเคราะห์แสง (photosynthetic root)

43
โครงสร้างและการเจริญเติบโตของล้าต้น
(Stem structure)

44
โครงสร้างล้าต้นจากปลายยอดตัดตามยาว

45
โครงสร้างล้าต้นจากปลายยอดตัดตามยาว มีองค์ประกอบดังนี
⊷ เนือเยื่อเจริญปลายยอด (shoot apical meristem) : ส่วนของเนือเยื่อเจริญที่อยู่ปลายสุดและ
แบ่งตัวตลอดเวลา
⊷ ใบแรกเกิด (leaf primordium) : ใบที่เจริญอยู่ที่ด้านข้างของเนือเยื่อเจริญปลายยอด ซึ่งจะพัฒนา
ไปเป็นใบอ่อน และใบเต็มวัยต่อไป
⊷ ใบอ่อน (young leaf) : เจริญมาจากใบแรกเกิด โดยที่เซลล์ของใบอ่อนยังคงแบ่งเซลล์อยู่ เพื่อ
เจริญเป็นใบเต็มที่ต่อไป
⊷ ตาซอกแรกเกิด (axillary bud primordium) : เจริญมาจากเนือเยื่อเจริญปลายยอดเหมือนใบแรก
เกิด และจะพัฒนาไปเป็นตาซอกใบ หรือซอกกิ่ง
⊷ ล้าต้นอ่อน (young stem) : เจริญมาจากต้นอ่อนเอ็มบริโอ ประกอบด้วยตอนอ่อนเหนือใบเลียง
(epicotyl) และต้นอ่อนใต้ใบเลียง (hypocotyl)
46
โครงสร้างล้าต้นตัดตามขวาง มีองค์ประกอบดังนี

47
โครงสร้างล้าต้นตัดตามขวาง ประกอบด้วยเนือเยื่อ 3 ชัน เช่นเดียวกับราก ดังนี

1. เอพิเดอร์มสิ (epidermis) : เนือเยื่อชันนอกสุดของล้าต้น ท้าหน้าที่ปกป้อง


อวัยวะต่างๆภายในล้าต้น ผิวด้านนอกของ epidermis มักมีสารคิวทินเคลือบอยู่
เรียกว่า ชันคิวทิเคิล

epidermis

48
โครงสร้างล้าต้นตัดตามขวาง ประกอบด้วยเนือเยื่อ 3 ชัน เช่นเดียวกับราก ดังนี

2. คอร์เท็กซ์ (cortex) : ลักษณะเนือเยื่อ


คล้ายกับชัน cortex ในราก แต่จะมีความ
หนาน้อยกว่าในราก

cortex

49
โครงสร้างล้าต้นตัดตามขวาง ประกอบด้วยเนือเยื่อ 3 ชัน เช่นเดียวกับราก ดังนี
3. สตีล (stele) ชันสตีลในล้าต้นไม่สามารถแยกจากชันคอร์เท็กซ์ได้
ชัดเจนเหมือนราก เป็นชันที่มีบริเวณกว้างมากที่สุดในล้าต้น ประกอบด้วย
เนือเยื่อต่างๆ ดังนี
- มัดท่อล้าเลียง (vascular bundle) : ได้แก่เนือเยื่อ xylem,
phloem และ cambium โดยพืชใบเลียงเดี่ยวและใบเลียงคู่ จะมีการ
จัดเรียงตัวต่างกันคือ
* พืชใบเลียงเดีย่ ว : มัดท่อล้าเลียงจะกระจายทั่วล้าต้น
ไม่มี cambium จึงไม่มีการเจริญเติบโตขันที่สอง
* พืชใบเลียงคู่ : มัดท่อล้าเลียงเรียงตัวเป็นวงรอบล้า
ต้น มี xylem อยู่ด้านใน phloem อยู่ด้านนอก มีเนือเยื่อ cambium
แทรกอยู่ตรงกลาง
50
โครงสร้างล้าต้นตัดตามขวาง ประกอบด้วยเนือเยื่อ 3 ชัน เช่นเดียวกับราก ดังนี

- พิธ (pith) : อยู่ชันในสุดของล้าต้น


ส่วนใหญ่คือเนือเยื่อ parenchyma ท้า
หน้าที่เก็บสะสมอาหาร
* พืชใบเลียงเดี่ยวบางชนิด : เมื่อเจริญเต็ฒที่
พิธจะสลายไป จนเป็นช่องกลวง เรียกว่า pith cavity
เช่น ไผ่ หญ้า
* พืชใบเลียงคู่ : เมื่อมีการเจริญเติบโตขันที่
สอง หรือเมื่อพืชอายุมาก xylem จะขยายใหญ่ขึนจนเข้า
แทนที่ pith ทังหมด เรียกว่า ไม้เนือแข็ง

51
52
โครงสร้างล้าต้นในช่วงการเจริญเติบโตขั้นที่ 2
(secondary growth of stem)
พบเฉพาะในพืชใบเลียงคู่ที่เป็นไม้เนือแข็ง โดยจะมีเนือเยื่อ
2 กลุ่ม ท้าหน้าที่แบ่งเซลล์เพื่อขยายขนาดด้านข้าง ดังนี
1. เนือเยื่อ vascular cambium : เป็น
เนือเยื่อที่พบอยู่ระหว่าง xylem และ
phloem ท้าหน้าที่สร้างท่อล้าเลียงทุติยภูมิ
โดยเมื่อแบ่งเซลล์เข้าทางด้านในจะได้
secondary xylem และเมื่อแบ่งเซลล์ออก
ทางด้านนอกจะได้ secondary phloem
53
2. เนือเยื่อ cork cambium หรือ
phellogen : เกิดจากเซลล์ parenchyma
หรือ collenchyma ในชัน cortex และชัน
epidermis เปลี่ยนกลับมาเป็นเนือเยื่อเจริญแล้ว
ท้าการแบ่งเซลล์ แบ่งเข้าด้านในเป็น
phelloderm และเมื่อแบ่งออกด้านนอกจะเป็น
cork หรือ phellem เนือเยื่อ cork จะดัน
เนือเยื่อ epidermis ให้หลุดออกไป
54
55
เนื้อไม้และเปลือกไม้ (wood and bark)
พบในพืชใบเลียงคู่เท่านัน มีส่วนต่างๆดังนี

1. เนือไม้ (wood) :
ส่วนของเนือเยื่อตังแต่
secondary xylem เข้า
ไปด้านในจนถึง
แกนกลาง (pith)

56
เนื้อและเปลือกไม้ (wood and bark)
พบในพืชใบเลียงคู่เท่านัน มีส่วนต่างๆดังนี
2. เปลือกไม้ (bark) : ส่วนที่อยู่
ถัดจาก vascular cambium ไป
ด้านนอกทังหมด เป็นส่วนที่บอบ
บางกว่าเนือไม้และลอกออกง่าย

57
เนื้อและเปลือกไม้ (wood and bark)
พบในพืชใบเลียงคู่เท่านัน มีส่วนต่างๆดังนี

3. แก่นไม้ (heartwood) :
ส่วนของเนือเยื่อ xylem ด้านใน
สุดที่มีอายุมากสุด มีการสะสม
แทนนินในเนือเยื่อจ้านวนมาก

58
เนื้อและเปลือกไม้ (wood and bark)
พบในพืชใบเลียงคู่เท่านัน มีส่วนต่างๆดังนี

4. กระพีไม้ (sapwood) : ส่วนของ


เนือเยื่อ xylem ด้านนอก เป็นส่วนที่
ยังคงสามารถล้าเลียงน้าและแร่ธาตุได้
ปกติ จะแข็งน้อยกว่าแก่นไม้และมีสี
อ่อน

59
เนื้อและเปลือกไม้ (wood and bark)
พบในพืชใบเลียงคู่เท่านัน มีส่วนต่างๆดังนี
5. วงปี (annual ring) : คือเนือไม้ชัน
xylem ที่เห็นเป็นวงๆเกิดจาก vascular
cambium มีการแบ่งเซลล์ที่เกิดขึนไม่
สม่้าเสมอกัน เนื่องจากความสมบูรณ์ของ
ปริมาณน้า ท้าให้ secondary xylem มี
อัตราการเจริญเติบโตต่างกันในฤดูฝนกับฤดู
แล้ง

60
ลักษณะของล้าต้น : เป็นส่วนที่เจริญต่อ
ขึนมาจากราก ประกอบด้วย
1.ข้อ (node) : เป็นส่วนที่มีใบ กิ่ง ก้าน หรือตา
ยื่นออกมา
2. ปล้อง (internode) : เป็นส่วนที่อยู่ระหว่าง
ข้อแต่ละข้อ จะเป็นปล้องสันๆ ในพืชใบเลียงคู่ท้าให้
มองเห็นไม่ชัด
3. ตา (bud) : เป็นส่วนที่เจริญไปเป็นใบ กิ่ง
ก้าน และดอกต่อไป

61
ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นรูปร่างไปเพือ่ ท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ (modified stem)
1. ล้าต้นหนาม (thorny stem)
2. ล้าต้นไหล (stolon)
3. ล้าต้นมือเกาะ (tendril stem)
4. ล้าต้นสังเคราะห์แสง
(photosynthetic stem)

62
ล้าต้นทีเ่ ปลีย่ นรูปร่างไปเพือ่ ท้าหน้าทีพ่ เิ ศษ (modified stem)
6. ล้าต้นใต้ดนิ (underground stem)
มี 4 ชนิด
- เหง้า (rhizome)
- ทูเบอร์ (tuber)
- คอร์ม (corm)
- บัลบ์ (bulb)

63
โครงสร้างและหน้าทีข่ องใบ (leaf structure)

ใบ (leaf) เป็นอวัยวะที่มีคลอโรพลาสต์
อยู่มากที่สุด และอยู่ต้าแหน่งที่เหมาะสม
ที่สุดในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
เพื่อสร้างอาหารในรูปของแป้ง

64
โครงสร้างของใบพืช แบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก คือ
1. แผ่นใบ (blade หรือ lamina) : เป็นพืนที่ส่วนใหญ่ของใบ ลักษณะแผ่แบน มีหลายรูปทรง มีเส้นกลางใบและเส้นใบ
ซึ่งคือท่อล้าเลียงแยกมาจากกิ่ง
2. ก้านใบ (petiole) : เป็นส่วนเชื่อใบกับกิ่งและล้าต้น ช่วยให้พืชลู่ลมได้ พืชใบเลียงเดี่ยวจะไม่มีก้านใบ
แต่อาจมีกาบใบ (leaf sheath) ห่อหุ้มล้าต้นไว้
3. หูใบ (stipule) : รยางค์ที่ยื่นออกมาตรงโคน
ก้านใบติดกับล้าต้น ลักษณะคล้ายใบขนาดเล็ก
พืชบางชนิดไม่มีหูใบ

65
ชนิดของใบ (leaf characters) : มี 2 ชนิด คือ

1. ใบเดี่ยว (simple leaf) : มีแผ่นใบ


1 แผ่น ใน 1 ก้านใบ และแผ่นใบไม่
เว้าแหว่งลงไปถึงเส้นกลางใบ

66
ชนิดของใบ (leaf characters) : มี 2 ชนิด คือ
2. ใบประกอบ (compound leaf) : มี
แผ่นใบมากกว่า 1 แผ่น ใน 1 ก้านใบ แผ่น
ใบแต่ละแผ่นจะเรียกว่าใบย่อย (leaflet) เช่น
มะขาม

67
ชนิดของใบประกอบ 1. ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaf)
แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 2. ใบประกอบแบบนิวมือ (palmately compound leaf)

68
โครงสร้างภายในของใบ (leaf structure) ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่
Upper epidermis
monocot
dicot
Palisade mesophyll

Spongy mesophyll

Vascular bundle
Lower epidermis
phloem
xylem

69
1. เอพิเดอร์มสิ (epidermis)

เป็นเซลล์ชันนอกสุดของใบ เรียงตัวเป็นชันเดียว
ด้านบนเรียกว่าหลังใบ (upper epidermis)
ด้านล่างเรียกว่าท้องใบ (lower epidermis)
เซลล์ไม่มีคลอโรพลาสต์ จึงไม่มีการสังเคราะห์
ด้วยแสง มีสารคิวทินเคลือบที่ผนังเซลล์ เรียกว่า
คิวทิเคิล (cuticle) ช่วยป้องกันการสูญเสียน้า
นอกจากนี epidermis ยังเปลี่ยนแปลงไปท้า
หน้าที่ได้อีกหลายแบบ เช่น เซลล์คุม (guard cell) : ควบคุมการเปิดปิดของปากใบ
เซลล์ขน (hair cell) : ป้องกันใบจากการกัดกินของแมลง
เซลล์บลั ลิฟอร์ม (bulliform cell) : ช่วยเก็บน้าเมื่อพืชได้รับ
70 น้าเพียงพอ พบในพืชใบเลียงเดี่ยวเท่านัน
2. เนื้อเยือ่ มีโซฟิลล์ (Mesophyll) มีเนือย่อย 2 ชัน คือ
1. Palisade mesophyll : ประกอบด้วยเซลล์
พาเรงคิมาซึ่งมี คลอโรพลาสต์ เรียกว่า คลอเรงคิมา
(chlorenchyme) เป็นเนือเยื่อหลักในการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช มีลักษณะเซลล์เป็น
ทรงกระบอกยาว เรียงตัวกันหนาแน่นบริเวณหลัง
ใบ
2. Spongy mesophyll : ประกอบด้วยเซลล์
พาเรงคิมา รูปร่างเป็นก้อนค่อนข้างกลม
มีคลอโรพลาสต์น้อยกว่าคลอเรงคิมา จึงมักอยู่ท้อง
ใบ เรียงตัวกันอย่างหลวมๆ ท้าให้เกิดช่องว่าง
บริเวณนีจึงท้าหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดี

71
3. มัดท่อล้าเลียง (vascular bundle)
อยู่บริเวณแนวเส้นใบ (vein) ประกอบด้วย
เนือเยื่อ xylem (อยู่ด้านบน) และเนือเยื่อ
phloem (อยู่ด้านล่าง) ท้าหน้าที่ในการ monocot
ล้าเลียงน้า แร่ธาตุ และสารอาหาร
ในพืชบางชนิดมีเยื่อหุ้มที่ช่วยเสริมความ
แข็งแรงของมัดท่อล้าเลียง เรียกว่า บันเดิลชีท
(bundle sheath)

dicot
72
73
การเรียงตัวของเส้นใบ (venation)

74
หน้าทีข่ องใบ
ใบมีหน้าที่สร้างอาหารโดยการสังเคราะห์ดว้ ยแสง รวมถึง
หายใจคายนา้ นอกจากนียังมีใบทีเ่ ปลีย่ นไปท้าหน้าที่
พิเศษอื่นๆ เช่น
- มือเกาะ (leaf tendril) - หนาม (leaf spine)
- ทุ่นลอย (floating leaf)
- ใบสะสมอาหาร (storage leaf)
- ใบสืบพันธุ์ (reproduction)
- ใบดักแมลง (insectivorous leaf)
- .ใบดอกหรือใบประดับ (bract)
- ใบเกล็ด (scale leaf)

75
76

You might also like