You are on page 1of 23

CPE-J01

ชื่อบทความ/ผลงาน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอลลาเจนไฮโดรไลซ์เพื่อการบารุงผิว
(Hydrolyzed Collagen Supplement For Skin Nourishment)
ชื่อผู้เขียนบทความ นศภ.ณัฐทรี คงมีสุข นศภ.พิมพกานต์ อึ้งสถาพรผล และ รศ.ดร.ภญ.ธนภร อานวยกิจ

1. บทคัดย่อ
คอลลาเจนเป็นเส้นใยโปรตีนที่พบมากที่สุดในร่างกายของคน เมื่อผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิสจะได้เป็น
ไฮโดรไลซ์คอลลาเจนซึ่งเป็นโปรตีนที่มีน้าหนักโมเลกุลต่้า โดยคอลลาเจนจัดเป็นส่วนประกอบที่ส้าคัญอย่างหนึ่ง
ของผิวหนัง ผม เล็บ กระดูก กระดูกอ่อน ข้อต่อ กล้ามเนือ และเส้นเอ็น เมื่ออายุมากขึนร่างกายจะผลิตคอลลาเจน
ลดลงปีละ 2 % โดยไฮโดรไลซ์คอลลาเจนมีคุณสมบัติในการพัฒนาผิวพรรณ เช่นเพิ่มความยืดหยุ่น เพิ่มความเนียน
นุ่มของผิว ผิวกระชับขึน ฟื้นฟูผิวได้ อย่างล้าลึก รูขุมขนดูเล็กลง เป็นต้น นอกจากนียังช่วยเติมความชุ่มชืนให้กับ
ผิวหนังชันนอก ท้าให้ช่วยลดสาเหตุการเกิดความชราของผิว อันได้แก่ผิวแห้งและหยาบกร้าน หย่อนคล้อย ร่องลึก
และริวรอย โดยช่วยให้ผิวแลดูกระจ่างใสยิ่งขึน ป้องกันการสูญเสียน้า ผิวแข็งแรงและมีความหนาขึน ลดการเกิดฝ้า
จากแสงอัล ตราไวโอเลตจากแสงแดด เพิ่มการสร้าง Fibroblast ช่ว ยสร้าง Collagen type I และการสร้ า ง
Extracellular matrix ให้กับผิวชันหนังแท้ อีกทังไฮโดรไลซ์คอลลาเจนยังเป็นโปรตีนที่สามารถดูดซึมเข้าสู่กระแส
เลือดของมนุษย์ได้ง่ายและรวดเร็ว มีความปลอดภัย มีความเข้ากันได้ทางชีวภาพ และเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
ด้วยคุณสมบัติของไฮโดรไลซ์คอลลาเจนเหล่านีจึงนิยมน้ามาใช้ในทางอุตสาหกรรมอาหารเสริม
2. คาสาคัญ (Key words)
Hydrolyzed Collagen, Skin Nourishment, Skin Aging, Food supplement drink

3. บทความทางวิชาการฉบับเต็ม
2

3.1 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.ทราบกระบวนการการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังเมื่ออายุมากขึน
2.เข้าใจความหมาย คุณสมบัติของคอลลาเจนและไฮโดรไลซ์คอลลาเจน
3.ประสิทธิภาพของคอลลาเจนต่อผิวหนัง
3.2 เนื้อหา
ในสังคมปัจจุบันผู้คนให้ความสนใจในการดูแลผิวพรรณของตนเองเป็นอย่างมาก อาศัยจากการมีตัวช่วยใน
การดูแลผิวพรรณในรูปแบบที่หลากหลาย เช่นการใช้เครื่องส้าอาง (ครีม โลชั่น เจล มาส์กหน้าบ้ารุงผิว น้าตบบ้ารุง
ผิว เซรั่ม เป็นต้น) การเข้ารับการรักษาที่คลินิกผิวหนัง โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
บ้ารุงผิว
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อการบ้ารุงผิวในปัจจุบันมีการใช้ประโยชน์จากสารที่ได้จากธรรมชาติ และสาร
จากการสังเคราะห์ โดยรูปแบบของผลิตภัณฑ์ก็มีหลากหลาย ซึง่ รูปแบบที่ผู้คนให้ความนิยมและง่ายต่อการบริโภค
คือ รูปแบบเม็ด แคปซูล ผงส้าหรับชงดื่ม หรือในรูปแบบซองพร้อมดื่ม ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อการ
บ้ารุงผิว เช่น คอลลาเจน (Collagen), กลูต้าไทโอน (Glutathione) และ สังกะสี (Zinc) ตามท้องตลาดจะพบว่า
มีผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อการบ้ารุงผิว หนึ่งที่มีความนิยมมากในขณะนีคือ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอลลาเจนเพื่อ
การบ้ารุงผิว โดยคอลลาเจนนันก็มีคุณสมบัติหลากหลายประการที่สามารถน้ามาใช้ท้าเป็นผลิตภัณฑ์เสริม อาหาร
เพื่อการบ้ารุงผิวได้ เช่นเพิ่มความยืดหยุ่น เพิ่มความเนียนนุ่มของผิว ผิวกระชับขึน ฟื้นฟูผิวได้ล้าลึก เป็นต้น
คอลลาเจนเป็นเป็นเส้นใยโปรตีนที่พบมากที่สุดในร่างกาย จัดเป็นส่วนประกอบที่ส้าคัญอย่างหนึ่งของ
ผิวหนัง เมื่ออายุมากขึนร่างกายจะผลิตคอลลาเจนลดลง ส่งผลให้ผิวหย่อนคล้อย ขาดความยืดหยุ่น ผิวบางและ
แห้ง ปัจจุบันจึงมีการน้าคอลลาเจนมาใช้อย่างกว้างขวางในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอลลาเจนเพื่อการบ้ารุงผิว เช่น
คอลลาเจนแบบดั งเดิ ม (Native collagen), ไฮโดรไลซ์ ค อลลาเจน (Hydrolyzed collagen) แต่ ด้ ว ยความ
แตกต่างของประเภทคอลลาเจนที่น้ามาใช้ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ส่งผลให้ประสิทธิภาพต่อผิวหนังที่ได้ย่อม
แตกต่างกัน ดังนันผลิตภัณฑ์เสริมอาหารคอลลาเจนควรอยู่ในรูปแบบที่สะดวกและง่ายต่อการบริโภค สามารถดูด
ซึมเข้าร่างกายได้ดี มีความเข้ากันได้ทางชีวภาพ ไม่เกิดอันตรายหรือเป็นพิษกับร่างกายผู้บริโภค

1. ผิวหนังและโครงสร้าง
3

ผิวหนังเป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกายมนุษย์ที่มีพืนที่และน้าหนักมากที่สุดในร่างกาย1 คิดเป็น 16% ของ


น้าหนักร่างกาย มีโครงสร้างที่ซับซ้อนประกอบด้วยเซลล์และเนือเยื่อหลายชนิดและมีหน้าที่ส้าคัญต่อร่างกายใน
การด้ารงชีวิต เช่นห่อหุ้มร่างกายให้คงรูป ควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย ปกป้องร่างกายจากปัจจัยทางเคมีและปัจจัย
ทางกายภาพภายนอก2 การป้องกันเชือโรคหรือสิ่งแปลกปลอม การป้องกันแสงอัลตราไวโอเลต การรับความรู้สึก
การหายของบาดแผล รวมถึงมีผลต่อภาวะจิตใจ ได้แก่ด้านภาพลักษณ์ ความงาม เป็นต้น โดยผิวหนังในแต่ละชัน
ประกอบด้วยเซลล์และโครงสร้างที่จ้าเพาะ ซึ่งท้าให้มีคุณสมบัติและหน้าที่แตกต่างกันและในแต่ละบริเวณของ
ร่างกายยังพบว่ามีสัดส่วนของผิวหนังแต่ละชันแตกต่างกัน3

โครงสร้างของผิวหนัง ผิวหนังมนุษย์แบ่งได้ 3 ชันคือ Epidermis (หนังก้าพร้า) Dermis (หนังแท้)และ


Hypodermis (ผิวหนังชันไขมัน)4 เรียงจากชันนอกไปในสุดตามล้าดับ ดังนี

1. หนังกาพร้า (Epidermis) เป็นชันนอกสุดของผิวหนัง มีความหนาประมาณ 0.05-0.1 มิลลิเมตร ใน


มนุษย์ ประกอบด้วยเซลล์หลัก 4 ชนิด Keratinocytes, Melanocytes, Langerhans’s cell และ Merkel’s cell
ตามล้าดับ ดังแสดงในรูปที่ 1 ดังนี 5

รูปที่ 1 ผิวหนังชัน Epidermis6


4

1.1 Keratinocytes เป็ น เซลล์ ห ลั ก ของหนั ง ก้ า พร้ า แบ่ ง เป็ น ชั นต่ า ง ๆ 5 ชั น ตามรู ป ร่ า งและ
ส่วนประกอบในเซลล์ จัดเป็น Stratified squamous epithelium เรียงจากชันในไปนอกสุด4 ตามล้าดับ ได้แก่

1.1.1 Stratum basalis หรือ Basal cell layer เป็นชันล่างสุดใกล้กับชันหนังแท้4


ประกอบด้วยเซลล์รูปร่างสี่เหลี่ยม 1 แถว ในชันนีพบมี Keratinocyte ที่มีคุณสมบัติเป็น Stem cell ของ
ผิวหนัง ซึ่งสามารถแบ่งตัวและสร้างเป็น Keratinocyte ตัวใหม่ได้3

1.1.2 Stratum spinosum หรือ Prickle cell layer เป็นชันที่ประกอบด้วยเซลล์


Keratinocytes ซ้อนกัน รูปร่างเป็นหนาม (Spinous/Prickle cell)3 ชันนีมี Desmosomes ที่ยอมให้
เซลล์เกาะติดกันอย่างแน่นหนา มีลักษณะคล้าย “กระดูกสันหลัง”4

1.1.3 Stratum granulosum หรือ Granular cell layer ประกอบด้วยเซลล์ Keratinocytes


ซ้อนกัน 3-5 ชัน หนาแน่น เป็นรูปไข่ ลักษณะเด่นคือ มีเม็ด Granule ที่อุดมไปด้วยไขมันภายในเซลล์7 ซึง่
เม็ด Granule ดังกล่าวคือ Keratohyaline granules มีหน้าที่ช่วยในการสร้าง Keratin3

1.1.4 Stratum lucidum ชันนีเป็นผิวหนังหนาจะพบแค่เฉพาะผิวหนังบริเวณฝ่ามือฝ่าเท้า 4


บางครังเรียกรวมผิวหนั งชัน Stratum basale และ Stratum spinosum ว่าเป็น Stratum malpighii
การแบ่งตัวและเจริญของ Keratinocytes จากชัน Stratum basale ไปถึงชัน Stratum corneum ใช้
เวลา 2 สัปดาห์ และชัน Stratum corneum ใช้เวลาลอกหลุดอีก 2 สัปดาห์ ท้าให้ระยะเวลารวมของชัน
หนังก้าพร้าจากชันล่างสุดเจริญไปจนเป็นชันขีไคลแล้วลอกหลุดใช้เวลารวม 4 สัปดาห์3

1.1.5 Stratum corneum หรือผิวหนังชั้นขี้ไคล (Keratin layer) เป็นชันนอกสุดของหนัง


ก้าพร้า ประกอบด้วยเซลล์ Keratinocyte ที่ไม่มีนิวเคลียส เรียกว่า Corneocytes ตัวเซลล์จะแบน มี
ไขมันมาเคลือบ ระหว่างเซลล์ 3 เนื่องจากเป็นชันที่มี Keratinize และไขมันท้าให้ช่วยควบคุมการสูญเสีย
น้าและของเหลวภายใน4

1.2 Melanocytes เป็นเซลล์ที่สร้างจาก Neural crest ลักษณะรูปร่างเป็น Dendrite cell แทรกตัวอยู่


ในชัน Stratum basale มีหน้าที่สร้างเม็ดสีเมลานิน (Melanin) โดยแสง UVB กระตุ้นการสร้างเมลานินได้5 แล้ว
ส่งออกให้ Keratinocytes3 ท้าให้เกิดสีผิวแตกต่างกันในแต่ละเชือชาติและในรอยโรคต่าง ๆ ของผิวหนัง7
5

1.3 Langerhans cells เป็นเซลล์ที่สร้างจาก Mesoderm ลักษณะเป็น Dendrite cell แทรกตัวในชัน


หนังก้าพร้าส่วนมากพบที่ชัน Stratum spinosum5 เป็นเซลล์ภูมิคุ้มกันของผิวหนัง ชันนอก โดยต้นก้าเนิดที่ไข
กระดูก (Myeloid origin)8 ท้าหน้ าที่เป็ น Antigen presenting cells ในการจับ เชือโรคหรือสิ่ งแปลกปลอมที่
บริเวณผิวหนังและส่งต่อไปยังต่อมน้าเหลืองใกล้เคียง ซึ่งเป็นกุญแจส้าคัญส้าหรับการตอบสนองต่อภูมิคุ้มกันของ
ร่างกายแบบจ้าเพาะ (Adaptive immune responses)3

1 . 4 Merkel cells เ ป็ น เ ซ ล ล์ ที่ แ ท ร ก ตั ว อ ยู่ ใ น ชั น Stratum basale ท้ า ห น้ า ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ


Mechanoreceptor ตอบสนองต่อการสัมผัส เป็นเซลล์ท้าหน้าที่รับความรู้สึกจากการสัมผัสที่เบา พบมากบริเวณ
ปลายนิว5 และ Neuroendocrine functions ในชันหนังก้าพร้าเซลล์ Keratinocytes ยึดติดกันด้วยโปรตีนหลาย
กลุ่มที่ส้าคัญคือ Desmosome ส้าหรับการยึดติดกับหนังแท้มีชัน Basement membrane (Dermo-epidermal
junction) เป็นตัวกัน มีส่วนประกอบโปรตีนหลายชนิดในชันนี เช่น Hemidesmosome, Collagen type IV, VII,
XVII เป็นต้น3

2. หนังแท้ (Dermis) หนังแท้ประกอบด้วยเนือเยื่อเกี่ยวพัน 2 ชัน คือ ชัน Papillary และชัน Reticular5


โดยชันหนังแท้เป็นเนือเยื่อเกี่ยวพันที่ประกอบด้วย Elastin และ Collagen4 โดยมี Fibroblasts ท้าหน้าที่ในการ
สร้ า งเส้ น ใยโปรตี น ที่ ส้ า คั ญ คื อ Collagen (80-85%) Elastic fibers (2-4%) และสร้ า งสารเรี ย กว่ า Ground
substance ซึ่งเป็ น สารพวก Polysaccharides ในชันหนังแท้มีเส้ นเลื อดและเส้นประสาทมาเลียงจ้านวนมาก
นอกจากนี ยั ง มี ร ยางค์ ข องผิ ว หนั ง (Skin appendages) ได้ แ ก่ ห น่ ว ยของเส้ น ขน (Pilosebaceous unit) ซึ่ ง
ประกอบด้วยเส้นขน (Hair follicle) ต่อมไขมัน (Sebaceous gland) ต่อมเหงื่อชนิด (Apocrine sweat gland)
และกล้ามเนือเรียบ (Arrector pili muscle) รยางค์ของผิวหนังยังพบต่อมเหงื่อชนิด (Eccrine sweat gland) ซึ่ง
มีหน้าที่ผลิตเหงื่อ และเล็บ (Nail) มีโครงสร้างและส่วนประกอบที่มีชื่อเฉพาะ3

3. ผิ ว หนั ง ชั้ น ไขมั น (Hypodermis หรื อ Subcutis) เป็ น ผิ ว หนั ง ชั นที่ ส ามและอยู่ ลึ ก ที่ สุ ด มั ก เรี ย กว่ า
Subcutaneous fascia5 โดยผิวหนังชันนีประกอบไปด้วยเนือเยื่อไขมันเป็นส่วนใหญ่ เรียกว่า Adipocytes4 ซึ่งจะ
อยู่กันเป็นก้อน (Fat lobule) และกันด้วยผนังเนือเยื่อเกี่ยวพัน (Fat septum) ซึ่งมี คอลลาเจน หลอดเลือดหลอด
น้าเหลือง เป็นส่วนประกอบ3
2.ปัจจัยที่ส่งผลต่อความชราของผิวหนัง
ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ ผิ ว หนั ง มี 2 ปั จ จั ย หลั ก ได้ แ ก่ ปั จ จั ย ภายใน(Intrinsic aging) และ ปั จ จั ย
ภายนอก (Extrinsic aging)
6

2.1 ปัจจัยภายใน เป็นความชราที่เกิดขึนจากความเสื่อมของผิวหนังที่เป็นไปตามกาลเวลา 9 โดยแต่


ละคนจะมีความแตกต่างกันไปขึนกับเชือชาติ โครงสร้างร่างกายและการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนไม่เกี่ยวข้องกับ
สิ่งแวดล้อม10
2.1.1 เชื้อชาติ
เชือชาติเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่มีผลต่อความชราของผิวในแต่ละบุคคล โดยในกลุ่มคนที่มีเชือ
ชาติต่างกันจะมีระดับของเม็ดสีเมลานิน ที่ผิวต่างกัน โดยเม็ดสีเมลานิน จะมีหน้าที่ปกป้องผิวจากรังสี UV ซึ่งในคน
ที่มีระดับเม็ดสีสูง (Pigmentation) เช่นชาวแอฟริกันจะสามารถเกิด Photoaging ได้น้อยกว่าในกลุ่มเชือชาติที่มี
ปริมาณเม็ดสีที่ผิวน้อย10
2.1.2 การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
การสร้างฮอร์โมนเพศและการลดลงของฮอร์โมนเพศที่สัมพันธ์กับอายุที่มากขึ้น
หลังวัยหมดประจ้าเดือน ผู้หญิงจ้านวนมากตรวจพบความแก่ของผิวอย่างรวดเร็ว ผิวจะบางลง
ด้วยปริมาณคอลลาเจนที่ลดลง ความยืดหยุ่นลดลง รอยย่นเพิ่มขึนและความแห้งกร้านเพิ่มขึน ผลกระทบต่าง ๆ
เหล่านีมีสาเหตุมาจากการลดลงของฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) ซึ่งฮอร์โมนเอสโตรเจนจะมีผลต่อเพิ่มความ
ชุ่มชืนของผิวหนัง ความยืดหยุ่นของผิว และความหนาของผิว ตลอดจนลดริวรอยของผิวและเสริมปริมาณและ
คุณภาพของคอลลาเจน รวมถึงระดับของการไหลเวียนเลือด11
เมื่ออายุเพิ่มมากขึนต่อมหมวกไตซึ่งเป็นที่ผลิตฮอร์โมนหลายชนิดจะท้างานลดลงส่งผลให้ฮอร์โมน
Dehydroepiandrosterone (DHEA) ลดปริมาณลงด้วย ซึ่ง DHEA เป็นฮอร์โมนส้าคัญ ชนิดหนึ่งที่ผลิตจากต่อม
หมวกไตมากที่สุด ใช้เป็นฮอร์โมนเริ่มต้นในการสังเคราะห์ฮอร์โมนเพศชนิดอื่น ๆ เช่น เอสโตรเจน เทสโทสเทอโรน
(Testosterone) และ แอนโดรเจน (Androgen) เป็นต้น เมื่อฮอร์โมน DHEA ลดลงจึงท้าให้ฮอร์โมนเพศมีระดับ
น้อยลงด้วย12 โดย DHEA จะมีปริมาณสูงมากที่สุดในช่วงอายุ 18 –30 ปีและจะค่อย ๆ ลดลงอย่างช้า ๆ ปีละ 1-2
% อีกทังในการศึกษาระดับ DHEA ในผู้สูงอายุช่วง 80 ปีขึนไปพบว่ามีระดับลดลงประมาณ 80 % เมื่อเทียบกับวัย
ผู้ใหญ่13
การสร้ างฮอร์ โ มนเพศที่ต่อมหมวกไตนันเริ่มต้นจากการเปลี่ ยน Dehydroepiandrosterone
sulfate เป็ น สาร DHEA ซึ่ ง จะเปลี่ ย นแปลงไปเป็น ฮอร์ โ มน Androstenedione และท้ า ยที่ สุ ด เปลี่ ย นไปเป็น
ฮอร์โมนเอสโตรเจน และ เทสโทสเทอโรน โดยสารตัวกลางคือ DHEA และ Androstenedione นันมีความเป็น
7

ฮอร์โมนเพศอ่อน ๆ และเปลี่ยนเป็นฮอร์โมนเอสโตรเจน และ เทสโทสเทอโรน ที่อวัยวะปลายทางเช่น สมอง หลอด


เลือด กระดูก ตับ ไขมันและผิวหนัง โดยเอนไซม์ที่ท้าหน้าที่เปลี่ยนแปลงนีคือเอนไซม์ Aromatase14
ตัวรับฮอร์โมนเอสโตรเจนและเทสโทสเทอโรน (Estrogen receptor, ER)
ทังฮอร์โมนเอสโตรเจนและแอนโดรเจนมีส่วนส้าคัญต่อสรีรวิทยาของผิวหนังและเส้นผม โดย
ตัวรับฮอร์โมนเพศนันมี 2 ชนิดคือตัวรับส้าหรับฮอร์โมนเอสโตรเจน ได้แก่ ER-alpha, ER-beta และตัวรับฮอร์โมน
แอนโดรเจน โดย ER-alpha นันจะพบได้ที่ผิวหนังโดยเฉพาะในส่วนของผิวหนังชันนอก เส้นเลือดใต้ผิวหนังและ
เซลล์สร้างเนือเยื่อเกี่ยวพัน ส่วน ER-beta และตัวรับฮอร์โมนแอนโดรเจนนันพบเฉพาะในผิวหนังชันกลางและราก
ผม เฉพาะในต่อมไขมัน ส้าหรับในต่อมเหงื่อจะพบ ER-beta เป็นหลัก15
2.1.3 โครงสร้างที่เปลี่ยนแปลงในผิวที่ชรา
เมื่ออายุมากขึนการเพิ่มจ้านวนเซลล์ในชัน Basal จะลดลง ท้าให้ชัน Epidermis บางและพืนที่
ผิ ว สั ม ผั ส ระหว่ า งชั น Epidermis และ Dermis ลดลง ส่ ง ผลให้ พื นผิ ว การแลกเปลี่ ย นสารอาหารไปยั ง ผิ ว ชั น
Epidermis น้ อยลง ส่ งผลต่อ ความสามารถในการขยายเซลล์ ที่น้อยลงของ Keratinocytes, Fibroblast และ
Melanocyte จึงเรียกปรากฏการณ์นีว่า “ภาวะการเสื่อมของเซลล์ (Cellular senescence)”16 โดยผิวหนังชัน
ต่าง ๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างกันระหว่างวัยรุ่นและวัยชราดังแสดงในรูปที่ 2
ชั้นหนังกาพร้า (Epidermis)

รูปที่ 2 เปรียบเทียบโครงสร้างผิวหนังของวัยรุ่นและวัยชรา17
8

ความหนาของผิวหนังจะหนาขึนเรื่อย ๆ จนถึงอายุ 20 ปี หลังจากนันผิวหนังจะค่อย ๆ บางลง


ตามจ้านวนอายุที่มากขึน18 โดยจะสังเกตได้จากบริเวณใบหน้า ล้าคอ หน้าอกส่วนบน หลังมือและปลายแขนจะ
เห็นได้ชัดว่ามีผิวที่บางขึน19 ซึ่งความหนาของผิวหนังชันนอกจะลดลงทุกปี ปีละประมาณ 6.4% และจะลดลงเร็ว
มากในเพศหญิง18
เมื่ อ อายุ ม ากขึ นจ้ า นวนเซลล์ ใ นผิ ว หนั ง ชั น Epidermis จะลดลงและ Keratinocyte จะ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างท้าให้มีลักษณะเล็กลง ในขณะที่ Corneocytes จะมีขนาดที่ใหญ่ขึน อันเป็นผลมาจากการผลัด
เซลล์ ผิ ว ของชัน Epidermis ลดลง ท้าให้ ผิ ว บางและเกิดการบาดเจ็บได้ง่าย รวมถึง จ้านวน Melanocyte ที่มี
ปริมาณลดลง โดยจะมีปริมาณลดลง 8% ถึง 20% ต่อปี ท้าให้ผู้สูงอายุมีสีผิวที่ไม่สม่้าเสมอ20 อีกทังยังส่งผลให้
จ้ า นวน Langerhan’s cell ลดลง ท้ า ให้ ภู มิ คุ้ ม กั น ทางผิ ว หนั งบกพร่ อ ง ปริ ม าณน้ า ในผิ ว ลดลง ท้ า ให้ ผิ ว แห้ ง
โดยเฉพาะอย่ างยิ่ งในชัน Stratum corneum นันมีปริมาณน้าในผิ ว ต่้ากว่าผิ ว ที่อายุน้อ ยกว่า นอกจากนีการ
เปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโนที่เป็นองค์ประกอบในผิวหนังยังสามารถลดความชุ่มชืนของผิวหนังลงได้ด้วย ท้าให้ลด
ความสามารถในการจับกับน้า17
ชั้นหนังแท้ (Dermis)

รูปที่ 3 การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างของผิวหนังชัน Dermis จากปัจจัยภายใน21


9

เมื่ออายุมากขึนความหนาแน่นของผิวหนังชัน Dermis จะลดลง มีจ้านวนหลอดเลือดลดลง ท้าให้


ผิวหนังบาง เย็น และซีด รวมถึงการรับรู้แรงกดและสิ่งกระตุ้นต่าง ๆ ที่ผิวหนังจะลดลง18 เนื่องจากความเสื่อมของ
Pacinian และ Meissner's corpuscles อีกทังการมีต่อมไขมันและต่อมเหงื่อที่ลดลงยังท้าให้อุณหภูมิของร่างกาย
ไม่คงที่ นอกจากนียังมีการเพิ่มขึนของ Mast cells ที่ท้าให้เกิดการแพ้และอักเสบได้ง่าย มีจ้านวน Fibroblasts
ลดลง ท้าให้ ผ ลิ ต คอลลาเจน ลดลงทุกปี ปีล ะประมาณ 1-2 % น้าไปสู่ การเกิดริวรอย รวมถึงการมีป ริ ม าณ
Glycosaminoglycans และ Hyaluronic acid ที่ลดลง ท้าให้ผิวหนังขาดความชุ่มชืน อีกทัง Elastic fiber จะมี
การเรียงตัวไม่เหมือนเดิมท้าให้ไม่สามารถรักษาความยืดหยุ่นได้ ส่งผลให้เกิดรอยเหี่ยวย่น ผิวหนังหย่อนคล้อย17 ดัง
แสดงในรูปที่ 3
ชั้น Hypodermis
ปริมาณไขมันใต้ผิวหนังจะลดลงตามอายุที่เพิ่มขึน ถึงแม้ว่าสัดส่วนของไขมันในร่างกายจะเพิ่มขึน
จนถึงอายุ 70 ปี การกระจายไขมันในร่างกายก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน เช่นไขมันที่บริเวณใบหน้า มือและ
เท้าจะลดลง ในขณะที่ไขมันที่บริเวณต้นขา เอว และหน้าท้องจะเพิ่มขึน17
2.2 ปัจจัยภายนอก เป็นความชราที่เกิดจากความเสื่อมของผิวหนังเนื่องจากปัจจัยแวดล้อมภายนอก
เช่น มลพิษทางอากาศ การสูบบุหรี่ โภชนาการที่ไม่ดี ความเครียด แสงแดด ส่งผลให้เกิดริวรอย สูญเสียความ
ยืดหยุ่น ความหย่อนคล้อย และมีลักษณะพืนผิวที่หยาบกร้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสัมผัสรังสีอัลตราไวโอเลตจาก
แสงอาทิตย์ (Ultraviolet, UV) ในระยะยาวเป็นปัจจัยหลักของริวรอยผิวภายนอกที่เรียกว่า Photoaging16
2.2.1 แสงแดด
การที่รงั สีอัลตราไวโอเลตสัมผัสกับผิวหนังโดยตรงท้าให้เกิดการตอบสนองระดับโมเลกุลและระดับ
เซลล์ส่งผลให้เกิดความผิดปกติภายในหลายอย่าง โดยดีเอ็นเอเป็นหนึ่งในโมเลกุลที่ดูดซับรังสี UV ที่ส้าคัญเมื่อผิว
ได้รับรังสี UV นาน ๆ จะท้าให้เกิดการสะสมของรังสีที่ผิวหนั งและเซลล์อาจเกิด Mutation ได้22 ซึ่ง UVB ผ่าน
ทะลุถึงผิวหนังชัน Epidermis ท้าหน้าที่กระตุ้นการผลิตเมลานิน ที่มีสีน้าตาลด้าติดทนนาน ท้าให้ผิวคล้าขึน และ
ยั ง สามารถท้ า ให้ ผิ ว หนั ง ไหม้ (Sunburn) ผิ ว เกิ ด ผื่ น แดง 23 อี ก ทั งไปกระตุ้ น โดยตรงให้ เ กิ ด การก่ อ ตั ว ของ
Cyclobutane pyrimidine dimers และ Photoproducts โดยจะท้าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการควบคุมของวัฏ
จั ก รของเซลล์ การเปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า ว เพิ่ ม ความเสี่ ย งของการเปลี่ ย นแปลงของ Keratinocyte และ
Melanocyte ซึ่งในที่สุดจะเกิดเป็นมะเร็งที่ผิวหนังได้22 ในทางกลับกัน UVA จะทะลุผ่านถึงผิวหนังชัน Dermis23
โดยกระตุ้นการผลิตอนุมูลอิสระทางอ้อม ซึ่งการสะสมของอนุมู ลอิสระในร่างกายส่งผลให้เกิด การอักเสบและ
10

ก่อให้เกิดการกดภูมิคุ้มกันของร่างกาย อีกทังยัง กระตุ้นเอนไซม์ Matrix metalloproteinases ที่ไปย่อยสลาย


คอลลาเจนและไปท้าลาย Matrix ที่ผิวหนังชัน Dermis ท้าให้ผิวหนังเกิดการเสื่อมสลายได้ โดย อนุมูลอิสระที่
สะสมในร่างกายจัดเป็นสิ่งที่ส้าคัญที่สุดอย่างหนึ่ง ที่ควรระวัง หลังการได้รับแสงอาทิตย์ เนื่องจากท้าให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงของเซลล์ได้อีกด้วย22
2.2.2 การสูบบุหรี่
ความเสียหายของผิวหนังที่เกิดจากการสูบบุหรี่นันเกี่ยวข้องกับกระบวนการ Oxidative stress
ท้าให้การสังเคราะห์ คอลลาเจนบกพร่ องและไปกระตุ้นเอนไซม์ Matrix metalloproteinases ที่ไปย่อยสลาย
คอลลาเจนและไปท้าลาย Matrix ที่ผิวหนังชัน Dermis ท้าให้ผิวหนังเสื่อมสลายได้ นอกจากนีควันจากการสูบ
บุหรี่ยังกระตุ้น Aryl hydrocarbon receptor pathway ที่เป็นตัวรับสารพิษจากสิ่งแวดล้อมจึงอาจส่งผลให้ผิว
ชราเร็วก่อนวัยอันควร22
2.2.3 อาหาร
เมื่อเรารับประทานน้าตาลจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว ซึ่งท้าให้ระดับน้าตาลที่
บริเวณผิวหนังสูงขึน น้าตาลจะสามารถจับกับกรดอะมิโนของโปรตีนบริเวณผิวหนัง เช่น อีลาสตินและคอลลาเจน
จนท้ า ให้ เ กิ ด การ Schiff base ได้ ส ารตั ว กลางเป็ น Amadori product แล้ ว เกิ ด เป็ น สารประกอบที่ มี ชื่ อ ว่ า
Advanced glycation end products หรื อ AGEs ซึ่ ง เป็ น สาเหตุ ส้ า คั ญ ของการเกิ ด ริ วรอยและแก่ ก่ อ นวั ย
กระบวนการดังกล่าวเรียกว่ากระบวนการไกลเคชั่น (glycation)24,25
3.คอลลาเจนและไฮโดรไลซ์คอลลาเจน
ประวัติและลักษณะทั่วไปของคอลลาเจน
ประวัติของคอลลาเจนเชื่อกันว่า คอลลาเจน (Collagen) มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก จากค้าว่า
“Kolla” ที่แปลว่า กาว ซึ่งสมัยก่อนมีการท้ากาวโดยการน้าหนังและเอ็นม้ามาเคี่ยวจนกลายเป็นกาว ตามหลักฐาน
ที่พบคือมีการใช้งานกาวลักษณะนีมามากกว่า 8,000 ปีแล้ว โดยใช้เป็นส่วนประกอบในการผลิตเชือกและตะกร้า
สานเพื่อให้มีความแข็งแรง26
คอลลาเจนเป็นโปรตีน ในกลุ่ มโปรตีนเส้ นใยที่อยู่ภายนอกเซลล์ มีขนาดใหญ่ ซึ่งพบมากที่สุ ด ใน
ร่างกายของคนและสัตว์โดยพบประมาณร้อยละ 30 ในเนือเยื่อเกี่ยวพันของสัตว์ทุกชนิด 27 และมีมากสุดในทุก
อวัยวะเมื่อเทียบกับน้าหนักของอวัยวะนันเช่น พบ 64% ในเลนส์ตา 4% ที่ตับ 12-24% ในเส้นเลือดใหญ่ 10% ที่
11

ปอด 23% ในกระดูก 50% ในกระดูกอ่อน และ 75% ที่ผิวหนัง ซึ่งคอลลาเจนจะมีโครงสร้างที่ประกอบด้วย


กรดอะมิโน ชนิดไกลซีน 33% อะลานีน 11% โปรตีน 12% และไฮดรอกซีโปรลีน 11% เรียงต่อกันด้วยพันธะ
เปปไทด์ ล้าดับของกรดอะมิโนมักเป็นเส้นใยยาวที่เป็นระเบียบแข็งแรง26
คอลลาเจนเป็นโปรตีนประเภทเส้นใยที่พบในเนือเยื่อเกี่ยวพันของคน สัตว์ และยังพบได้ในแหล่งอาหาร
ทังในพืช ผักผลไม้ และในสัตว์ ดังนันคอลลาเจนจึงเป็นสิ่งที่ร่างกายสามารถสร้างขึนเองได้ ซึ่งตลอดทังชีวิตคนเรามี
กระบวนการสังเคราะห์คอลลาเจนใหม่เพื่อทดแทนคอลลาเจนเดิมที่เสื่อมสลายแต่กระบวนการจะนีเริ่มไม่สมดุล
เมื่อเราอายุมากขึน เพราะการเสื่อมสลายของคอลลาเจนจะมีมากกว่าการสร้างเพื่อทดแทน โดยเฉพาะในคนที่ มี
อายุมากขึนโดยเฉพาะคนที่มีอายุมากกว่า 30 ปี ขึนไปพบว่าการสังเคราะห์คอลลาเจนจะลดลงรวมถึงที่เกิดจาก
ปัจจัยอื่น ๆ ที่ท้าให้คอลลาเจนเสื่อมสภาพหรือถูกท้าลายได้ง่าย เช่น รังสี UV จากแสงแดด ผู้ที่พักผ่อนไม่เพียงพอ
ผู้ที่มีความเครียด การบริโภคอาหารที่ไม่ดีพอ รวมถึงผู้ที่สูบบุหรี่28

ประโยชน์ของคอลลาเจน คือท้าหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงให้กับเนือเยื่อต่าง ๆ เช่นเส้นเอ็น เอ็น ผิวหนัง ฟัน


และโครงสร้างเนือเยื่อเกี่ยวพันอื่น ๆ29 และเพิ่มความยืดหยุ่นให้แก่อวัยวะต่าง ๆ ภายในร่างกาย ทังยังป้องกัน
อวัยวะภายในร่างกาย ช่วยให้อวัยวะทุกส่วนท้าให้เกิดความมั่นคงของเนือเยื่อและอวัยวะ และรักษาความสมบูรณ์
ของโครงสร้างและเชื่อมโครงสร้างอวัยวะต่าง ๆ30 โดยคอลลาเจนใต้ผิวหนังของคนจะอยู่ในผิวหนังชันหนังแท้ ซึ่ง
จะเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการสร้างเนือเยื่อ เสริมความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของผิวหนัง ช่วยท้าให้ผิวตึงกระชับ
เรียบเนียน ชุ่มชืน ซึ่งบทบาทของคอลลาเจนนีจะอยู่คู่กับโปรตีนที่ส้าคัญอีกชนิดหนึ่งคืออีลาสติน โดยคอลลาเจน
จะท้าหน้าที่เสมือนโครงสร้างของผิวและท้าให้ผิวเต่งตึง ในขณะที่อีลาสตินจะมีหน้าที่สร้างความยืดหยุ่นให้กับผิว
และจะท้าให้ผิวไม่เกิดริวรอย ทังนีประสิทธิภาพในการช่วยชะลอริวรอยหรือช่วยเพิ่มความแข็งแรงของผิวจะขึนอยู่
กับหลายปัจจัย เช่นการดูดซึมของคอลลาเจน การสะสมของคอลลาเจนบริเวณผิวหนังหลังจากดูดซึมแล้ว รวมถึง
การท้าลายและขับออกของคอลลาเจนจากร่างกาย เป็นต้น31,32

ส่วนโทษของคอลลาเจนนันส่วนมากแล้วหากเป็นคอลลาเจนที่มีในอาหารแล้วร่างกายได้รับเข้าไปโดยการ
รับประทานในรูปแบบอาหารในแต่ละวัน ไม่พบว่ามีโทษต่อร่างกายแต่อย่างใด อาจเกิดอาการแพ้ส้าหรับผู้ที่มีภูมิ
ต้านทานน้อย หรือเลือกใช้แหล่งคอลลาเจนที่ไม่ได้คุณภาพมีโอกาสเกิดการแพ้ได้ - โดยเป็นการแพ้โปรตีนที่เป็น
แหล่งสกัดของคอลลาเจนในสูตรต้ารับ เช่น คอลลาเจนจากวัว คอลลาเจนจากไก่ คอลลาเจนจากปลา คอลลาเจน
จากหมู เป็นต้น33 นอกจากนียังมีโทษที่เกิดจากผลกระทบจากการขาดคอลลาเจน เช่นการเกิดโรคข้อเข่าเสื่ อม
กระดูกอ่อนเสื่อมสภาพ ผิวหนังหย่อนคล้อยเหี่ยวย่น และเกิดริวรอยบนผิวหนัง34
12

ประเภทของคอลลาเจนที่พบในร่างกาย
ในปัจจุบันมีการค้นพบคอลลาเจนมากกว่า 28 ชนิด แต่คอลลาเจนที่พบมากที่สุด คือ Type I ถึง Type
V35 ดังแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ประเภทของคอลลาเจนและแหล่งที่พบ
ประเภท แหล่งที่พบ
คอลลาเจนประเภทที่ 1 (Type I) พบมากถึง 90% ของคอลลาเจนทังหมดในร่ า งกาย
ช่วยในการสร้างกระดูก ผนังหลอดเลือด เอ็นและเอ็น
ยึดกล้ามเนือ ผิวหนัง กระจกตา และเนือเยื่อเกี่ยวพัน
มีความเหนียวและแข็งแรงมากที่สุด31
คอลลาเจนประเภทที่ 2 (Type II) พบมากในกระดูกอ่อนเช่นส่ ว นประกอบของหู จมูก
หลอดลม และกระดูกซี่โครง31
คอลลาเจนประเภทที่ 3 (Type III) มักพบร่วมกับประเภทที่ 1 คือพบในผิว กล้ามเนือ และ
ผนังหลอดเลือด31
คอลลาเจนประเภทที่ 4 (Type IV) พบใน Basal lamina และ Basement membrane
ในส่วนของ Epithelium-secreted layer31
คอลลาเจนประเภทที่ 5 (Type V) พบในผิวของเซลล์ผมและรก32

การสังเคราะห์คอลลาเจน
กระบวนการสังเคราะห์คอลลาเจนเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีน โดยเกิดขึน
ส่วนใหญ่ในเซลล์ของไฟโบรบลาสต์ (Fibroblast) ซึ่งเป็นเซลล์พิเศษในผิวหนังที่มีหน้าที่หลักในการสังเคราะห์
คอลลาเจนและสโตรมา (Stroma) โดยการสังเคราะห์คอลลาเจนเกิดขึนทังภายในเซลล์ (Intracellular) และนอก
เซลล์ (Extracellular)35
Intracellular
มีสายพอลีเปปไทด์ที่เรียกว่า โปรโตคอลลาเจน (Protocollagen) ซึ่งกรดอะมิโนเหล่านีจะถูกกระตุ้น
ท้าให้กรดอะมิโนโปรลีน (Proline) ถูกเติมหมู่ไฮดรอกซิล (Hydroxyl group) โดยกระบวนการ Hydroxylation
13

หลั ง การแปลรหั ส พั น ธุ ก รรม (Post-translation) โดยเอนไซม์ prolyl hydroxylase โดยมี Vitamin C เป็ น
Cofactor36 กลายเป็น ไฮดรอกซีโปรลีน (Hydroxyproline) และกรดอะมิโนไลซีน (Lysine) จะกลายเป็นไฮดรอก
ซีไลซีน (Hydroxylysine) ที่ท้าให้การยึดเส้นใยหน่วยย่อยของคอลลาเจนให้เป็นมัดที่เสถียร โดยกระบวนการ
ดังกล่าวจะเกิดขึนที่ไรโบโซม (Ribosome) และท้าให้เกิดโปรคอลลาเจน (Procollagen) ขึน จากนันโปรคอลลา
เจนจึงถูกเติมหมู่น้าตาลกลูโคสและน้าตาลกาแลคโตสโดยกระบวนการ Glycosylation ให้กับไฮดรอกซิไลซีน และ
กรดอะมิโนแอสปาราจีน (Asparagine) แล้วสายโพลีเปปไทด์สามสายจะพันเป็นเกลียว (Triple helix)37 โดยการ
เกิดพันธะไดซัลไฟด์ (Disulfide bond) ภายในสายเดียวกันและระหว่างสาย แล้วโปรคอลลาเจนจะถูกขนส่งออก
จาก Endoplasmic reticulum ผ่ า น Golgi แล้ ว เริ่ ม เกิ ด การเกาะกลุ่ ม กั น กลายเป็ น Secretory vesicles ใน
ระหว่างการขนส่ง จากนันจะถูกคัดหลั่งออกมาอยู่นอกเซลล์ (Extracellular space) ทางช่องขนาดเล็กที่เรียกว่า
Microtubules35
Extracellular
ขันตอนของ Propeptide cleavage มีส่วนปลายสายทังสองข้างของโมเลกุลโปรคอลลาเจนจะถูกตัด
ได้ด้วยเอนไซม์เฉพาะที่เรีย กว่า Collagen peptidase ท้าให้โปรคอลลาเจนเปลี่ยนไปเป็นโทรโปคอลลาเจน
(Tropocollagen) และในขันตอน Collagen fibril assembly โทรโปคอลลาเจนหลาย ๆ โมเลกุลจะรวมตัวกัน
โดยการเกิดพันธะโควาเลนต์ (Covalent bond) เชื่อมประสานระหว่างโมเลกุล โดยเอนไซม์ Lysyl oxidase เรียง
ตัวเป็นเส้นใย (Fibril) ซึ่งอยู่ในเนือเยื่อเกี่ยวพัน36
การสังเคราะห์คอลลาเจนเกิดขึนตลอดเวลาที่เรายังมีชีวิตอยู่ เพื่อการซ่อมแซมและแทนที่ส่วนที่ถูก
ท้าลาย การเสื่อมสภาพและท้าให้คอลลาเจนที่ถูกท้าลายให้กลับมาแข็งแรงนัน กระบวนการโดยทั่วไปได้จากการ
สร้างโปรตีนที่ยังไม่สมบูรณ์ ซึ่งจ้าเป็นที่จะต้องสร้างโครงร่างของเซลล์ใหม่ เช่นกระบวนการสมานแผล เป็นต้น38

คอลลาเจนแบบดั้งเดิม (Native collagen)

คอลลาเจนแบบดังเดิม ประกอบด้วย 3 สายโซ่พันกันเป็นเกลียวอยู่ในรูป Triple helix ที่มีกรดอะมิโน


หลัก ๆ คือไกลซีน (33%) โปรลีน และ ไฮดรอกซีโปรลีน (22%) โดยกรดอะมิไกลซีน เป็นกรดอะมิโนที่มีขนาดเล็ก
ที่สุดและมีจ้านวนมากจึงท้าให้สายโซ่มีโครงสร้างที่แน่นหนา คอลลาเจนแบบดังเดิม จึงค่อนข้างมีความเสถียร
เนื่องจากแรงพันธะของ Intramolecular hydrogen bonds ทนต่อความเครียดได้ 35 มีน้าหนักโมกุลประมาณ
300 kDa มีความยาว 280 nm ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.4 nm มีคุณสมบัติในการละลายน้าต่้าหากไม่ท้าการ
Denaturation ท้าให้ยากต่อการน้าไปใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องส้าอางและอาหารเสริม39
14

ไฮโดรไลซ์คอลลาเจน (Hydrolyzed collagen)

ไฮโดรไลซ์ ค อลลาเจน เป็ น โปรตี น ที่ มี น้ า หนั ก โมเลกุ ล ต่้ า ที่ มี ค่ า ในช่ ว ง 1-10 kDa เกิ ด จากการ
Denaturation คอลลาเจนแบบดังเดิม ให้ มีข นาดที่ เล็ กลงภายใต้ ใ นอุ ณหภูมิที่ ก้าหนด (Specific incubation
time) โดยการท้าให้เกิดการตัดสาย Alpha-chain 3 สาย จากตอนแรกที่มีการขดสายแบบสุ่ม (Random coiled
form) แยกสายโซ่ออกจากกัน โดยวิธีเอนไซม์ไฮโดรไลซีส (Enzyme hydrolysis) โดยการให้ความร้อนกับคอลลา
เจนในอุณหภูมิที่สูงกว่า 40°C จากนันใช้ Proteolytic enzymes เช่น Alcalase, Papain, Pepsin และอื่น ๆ ใน
การตัดพันธะเปปไทด์ ได้เป็นไฮโดรไลซ์คอลลาเจนที่เป็นโปรตีนสายสัน มีน้าหนักโมเลกุลประมาณ 3-6 kDa ซึ่ง
คุ ณ สมบั ติ ใ นด้ า นการละลายและฤทธิ์ อื่ น ๆ เช่ น ฤทธิ์ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ (Antioxidant), ฤทธิ์ ต้ า นจุ ล ชี พ
(Antimicrobial) จะขึนกับชนิดและระดับความสามารถในการเกิดไฮโดรไลซีส รวมถึงเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการ
Denaturation คอลลาเจนแบบดังเดิม โดยการไฮโดรไลซีส อีกชนิดหนึ่งคือ Chemical hydrolysis ท้าในสภาวะ
กรดด้วยกรดชนิดต่างๆ เช่น Acetic acid, Hydrochloric acid และ Phosphoric acid หรือในสภาวะด่าง เช่น
การใช้ Sodium hydroxide ซึง่ Reagent ที่นิยมใช้ในการสกัด collagen ด้วย chemical hydrolysis คือ Acetic
acid โดยการสกัดในสภาวะกรดและสภาวะด่างนีท้าให้เกิดการกัดกร่อนที่ค่อนข้างแรง นอกจากนียังมีวิธีอื่นที่ใช้ใน
การสกัด เช่น การให้ความร้อน หรือการใช้อุณหภูมิสูงและความดันสูงแก่โปรตีน รวมถึงการสกัดด้วย Subcritical
water level (SCW) ที่อุณหภูมิระหว่าง 100 ถึง 374 °C และความดันที่ต่ากว่า 22 MP คอลลาเจนมีหลากหลาย
แหล่งที่มา แต่มักนิยมสกัดมาจากสัตว์ เช่นวัว หมูและปลา เป็นต้น การจะใช้วิธีการใดในการสกัดขึนกับคุณสมบัติ
ทางเคมีของคอลลาเจนชนิดนัน ๆ39

ตัวอย่างการสกัดคอลลาเจนจากปลาทะเลโดยวิธี Chemical hydrolysis และ Enzyme hydrolysis


โดยปกติ 75% ของน้าหนักปลาจะประกอบไปด้วยผิวหนัง กระดูก หัวและเกล็ด แต่มักจะถูกทิงเป็นผลพลอยได้
จากอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเล ซึ่ง ผลพลอยได้เหล่านีเป็นแหล่งคอลลาเจนที่อุดมไปด้วยสารออกฤทธิ์ทาง
ชีวภาพที่หลากหลาย โดยการสกัดคอลลาเจนออกจากผิวหนังและกระดูกของปลาทะเลของทัง 2 วิธีจะต้องเริ่มจาก
การก้าจัดส่วนที่ไม่ใช่คอลลาเจนออกด้วยการแช่ใน Sodium hydroxide จากนันจะก้าจัดไขมันออกจากปลาโดย
การใช้ Butyl alcohol แล้วเข้าสู่กระบวนการสกัดโดยวิธี Chemical hydrolysis โดยใช้ Acetic acid ในการสกัด
ส่วนวิธี Enzyme hydrolysis จะใช้เอนไซม์ Pepsin ในการสกัดเป็นหลัก จากนันน้าเข้าเครื่อง Centrifuge เพื่อ
แยกสารที่ยังตกค้างออก และเก็บ Supernatant แล้วน้าไปตกตะกอนด้วย Sodium chloride เก็บตะกอนไว้น้าไป
เข้าเครื่อง Centrifuge อีกครัง จากนันน้าไปท้า Dialysis และเข้ากระบวนการ Lyophilization ได้ออกมาเป็นผง
คอลลาเจน (Collagen powder)40, 41
15

ไฮโดรไลซ์คอลลาเจนนิยมใช้ในด้านต่าง ๆ เช่นด้านเภสัชกรรม อาหาร เครื่องส้าอาง อุตสาหกรรม


หนังสัตว์ การตัดสินใจว่าจะน้าไปใช้ในด้านไหนขึนกับแหล่งที่มาของคอลลาเจน รูปแบบหรือวิธีการสกัดคอลลาเจน
และชนิดของเอนไซม์ที่ใช้ในการสกัดคอลลาเจน โดยมีความนิยมในอุตสาหกรรมการท้าเครื่องส้าอางและผลิตภัณฑ์
เสริมอาหาร เนื่องจากไฮโดรไลซ์คอลลาเจนมีความเข้ากันได้ดีทางชีวภาพ สามารถย่อยสลายได้ง่าย ดูดซึมได้ดี
กระจายตัวได้ในร่างกายมนุษย์ ไม่ก่อให้เกิดการแพ้ มีความปลอดภัย และไม่มีพิษต่อ Cell- line ไม่สามารถสร้าง
ฟิล์มได้ด้วยตัวเองมักใช้ร่วมกับ Biopolymers มีความหนืดน้อยในน้า มีกลิ่นที่ไม่แรง ไม่มีสี มีความโปร่งใส มี
คุณสมบัติ Emulsification, Stabilization, Foam forming, Wettability, Solubility, Dispersibility, Powder
compressibility, Carrier substance โดยมักใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องส้าอางมีคุณสมบัติในการให้ความชุ่มชืนกับ
ผิว มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและมีความปลอดภัยในการใช้ ปัจจุบันจึงนิยมน้าไฮโดรไลซ์คอลลาเจนท้าเป็นผลิตภัณฑ์
เสริมอาหารชนิดรับประทาน โดยเมื่อรับประทานไปแล้วระดับของคอลลาเจนก็เพิ่มการอัตราการดูดซึมในกระแส
เลือดเมื่อเทียบกับคอลลาเจนแบบดังเดิม (Native collagen) และมีคุณสมบัติในการพัฒนาผิวพรรณ เช่นเพิ่ม
ความยืดหยุ่น ผิวเนียนและนุ่มยิ่งขึน ผิวกระชับขึน ฟื้นฟูผิวได้ล้าลึก รูขุมขนดูเล็กลง เติมความชุ่มชืนให้กับผิวใน
ผิวหนังชันนอก39
4.ประสิทธิภาพของไฮโดรไลซ์คอลลาเจนต่อผิวหนัง
การศึกษาของวรินญา ปัญญาแก้ว ปี 2558 ในอาสาสมัครเพศหญิงและเพศชาย อายุ 26-65 ปี โดย
ให้ อ าสาสมั ค รตรวจสภาพผิ ว หน้ า บริ เ วณขมั บ ก่ อ นเริ่ ม ใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ Cutometer และ
Corneometer ซึ่งเป็นเครื่องมือวัดความยืดหยุ่นและความชุ่มชืนของผิว ตามล้าดับ ให้อาสาสมัครน้าผลิ ตภัณฑ์
เสริมอาหารคอลลาเจนชนิดผง 10 กรัม ชงดื่มไปรับประทานเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ จากนันกลับมาทดสอบ
สภาพผิวหน้าอีกครัง วัดผลความชุ่มชืนที่ขมับซ้ายเพิ่มขึน 19.04 % และขมับขวาเพิ่มขึน 15.54 % และวัดความ
ยืดหยุ่นพบว่าที่ขมับซ้ายเพิ่มขึน 8.50% และขมับขวาเพิ่มขึน 3.44 %42
การศึกษาของ Genovese และคณะ ปี 2017 ด้าเนินการศึกษาทางคลินิกในอาสาสมัครสุขภาพดี
เพศชายหรือหญิง ช่วงอายุ 40-60 ปี จ้านวน 120 คน (แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่ม 1 อาสาสมัครเพศหญิง 57 เพศชาย
3 คน และกลุ่ ม 2 อาสาสมัครเพศหญิง 54 เพศชาย 6 คน) เป็น ระยะเวลา 90 วัน โดยกลุ่ ม 1 รับประทาน
Nutricosmetic formulation ปริ ม าตร 50 มิ ล ลิ ลิ ต ร (Hydrolyzed collagen, Hyaluronic acid และ N-
acetylglucosamine, Borage oil และส่ ว นผสมอื่ น ๆ เช่ น Vitamins, Minerals, Antioxidants และพวก
Bioactive ingredients ) และกลุ่ม 2 รับประทาน Placebo 50 มิลลิลิตร (น้า และส่วนผสมอื่น ๆ เช่น Flavors,
Organic acids และ Soybean polysaccharide) ผลของการศึ ก ษานี เมื่ อ มี ก ารวิ เ คราะห์ เ นื อเยื่ อ พบว่ า การ
16

รับประทาน Nutricosmetic formulation ปริมาตร 50 มิลลิลิตร นันท้าให้โครงสร้างและการแบ่งชันของผิวหนัง


ชันหนังก้าพร้าดีขึน โครงสร้างของเส้นใยคอลลาเจนของผิวหนังชันหนังแท้ได้รับการพัฒนาให้ดีขึน และเมื่อท้าการ
ส้ารวจแบบสอบถามอาสาสมัคร พบว่า 95% ของผู้เข้าร่วมเห็นด้วยว่าผิวมีความชุ่มชืนยิ่งขึน 91.6% ผิวมีความ
ยืดหยุ่นมากขึน 81.7% ผิวแข็งแรงขึน และ 91.7% ผิวมีความหนาขึน43
การศึกษาของ Ito และคณะ ปี 201844 ด้าเนินการศึกษาทางคลินิกในอาสาสมัครเพศชายและหญิง
สุ ขภาพดี จ้ านวน 40 คน ช่ว งอายุ 31-48 ปี โดยการรับประทาน Fish-derived collagen และ Ornithine
(CPO) drink ปริมาตร 30 มิลลิลิตร หรือรับประทาน Placebo เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่า การ
รับประทาน Fish-derived collagen และ Ornithine (CPO) drink ปริมาตร 30 มิลลิลิตร ท้าให้ผิวหนังมีความ
ชุ่มชืนและยืดหยุ่นมากยิ่งขึน อีกทังช่วยลดจ้านวนรูขุมขนให้น้อยลงด้วย
การศึกษาของ Kim และคณะ ในปี 201845 ในผู้หญิงอาสาสมัคร อายุระหว่าง 40-60 ปี โดยสุ่มคน
ออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ได้รับประทาน Low molecular weight collagen peptide (LMWCP) 1,000 mg
ต่อวันและกลุ่มที่ได้รับ Placebo ซึ่งจะนัดมาตรวจสภาพผิวหน้าก่อนใช้และหลังใช้ไป 6 สัปดาห์และ 12 สัปดาห์
โดยก่อนมาตรวจผิวหน้า ผู้เข้าร่วมวิจัยจะต้องห้ามใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องส้าอางใด ๆ เลยเป็นเวลา 12 ชั่วโมง ก่อนท้า
การทดสอบสภาพผิวหน้า 30 นาทีต้องล้ า งหน้าออกด้วยคลี นซิ่ง พบว่าความชุ่มชืนของผิ วเพิ่มมากขึนหลังใช้
ผลิตภัณฑ์เมื่อเทียบกับก่อนใช้ และกลุ่มที่ได้รับ Placebo พบว่าไม่แตกต่างจากเดิม โดยกลุ่มที่ได้รับคอลลาเจนมี
ความชุ่มชืนมากกว่ากลุ่ม Placebo 2.9 เท่าที่เวลา 12 สัปดาห์ (p-value=0.003) ดังแสดงในรูปที่ 4 เมื่อดูผลของ
ริวรอยพบว่าหลังใช้คอลลาเจนริวรอยลดลง ลดรอยขรุขระบนผิว ผิวเรียบเนียนขึนอย่างมีนัยส้าคัญ เมื่อเทียบกับ
ก่อนใช้ และเมื่อเทีย บกั บ กลุ่ ม Placebo (p-value =0.013, 0.043, 0.004) เมื่อดูผ ลความยืดหยุ่นของผิ ว หนัง
พบว่าผิวหนังมีความยืดหยุ่นขึนเมื่อเทียบกับก่อนใช้ (p-value=0.088) และ Placebo (p-value= 0.025) ไม่มี
รายงานอาการข้างเคียงหลังใช้ผลิตภัณฑ์และเมื่อตรวจ Blood-chemical tests, Urine test และ Vital sign หลัง
ใช้ผลิตภัณฑ์พบว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ
17

รูปที่ 4 การเปลี่ยนแปลงความชุ่มชืนเมื่อได้รับ Low molecular weight collagen peptide (LMWCP)


หรือ Placebo45
การศึ ก ษาของ Laing และคณะ ในปี 201946 ในผู้ ห ญิ ง อายุ 40 ถึ ง 70 ปี จ้ า นวน 60 คน ให้
รับประทานอาหารเสริมคอลลาเจนยี่ห้อ Elasten วันละ 1 ครังก่อนอาหาร เป็นเวลา 12 สัปดาห์ ซึ่งในอาหารเสริม
มี ป ระมาณคอลลาเจน 2.5 กรั ม จากนั นตรวจสภาพผิ ว หน้ า ก่ อ นและหลั ง รั บ ประทานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด้ ว ยเครื่ อ ง
VIVASCOPE พบว่าโครงสร้างของคอลลาเจนที่ผิวหน้ามีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึน (p-value=0.037) ดังแสดงในรูปที่
5 และผลจากการสอบถามจากผู้ ใช้ พบว่า ผิ ว แห้ งน้ อยลง ผิ ว อ่อนโยนขึน ผิ ว นุ่มขึน (p-value=0.035, 0.043,
0.024) เมื่อเทียบกับก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ ไม่มีรายงานการเกิดอาการข้างเคียงหลังใช้ผลิตภัณฑ์

รูปที่ 5 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างคอลลาเจนบนผิวหน้า วัดด้วยเครื่อง VIVASCOPE46


18

การศึกษาของ Skov และคณะ ปี 201947 ด้าเนินการศึกษาทางคลินิกเพื่อตรวจสอบการดูดซึมคอลลา


เจนจากกระดูกวัว (หลังรับประทานอาหาร) ท้าการศึกษาในอาสาสมัครเพศชาย อายุในช่วง 18-35 ปี สุขภาพดี
จ้านวน 10 คน อาสาสมัครอยู่ในแผนก Public health ของมหาวิทยาลัย Arahus โดยการรับประทานไฮโดร่ไลซ์
คอลลาเจน (EHC) 35 กรัม, คอลลาเจนแบบดังเดิม (NC) 35 กรัม และ Placebo (น้าปริมาตร 250 มิลลิลิตร) เป็น
ระยะเวลา 3 วันติดต่อกัน ผลการศึกษาสรุปได้ว่าอัตราการดูดซึมคอลลาเจน และการดูดซึมของกรดอะมิโนเฉพาะ
3 ชนิด (Glycine, Proline และ Hydroxyproline) สูงขึนอย่างมีนัยส้าคัญหลังการรับประทานไฮโดรไลซ์คอลลา
เจน 35 กรัม เมื่อเทียบกับการรับประทานคอลลาเจนแบบดังเดิม 35 กรัม และ Placebo (น้าปริมาตร 250
มิลลิลิตร) ดังแสดงในรูปที่ 6

รูปที่ 6 ความเข้มข้นของกรดอะมิโนทังหมด (AAs) ในพลาสมา EHC คือ Edible Hydrolyzed collagen, NC คือ
Native collagen47

3.3.บทสรุป
ไฮโดรไลซ์คอลลาเจนเป็นโปรตีนสายสัน เกิดจากการตัดสายคอลลาเจนแบบดังเดิม ให้มีขนาดโมเลกุลเล็ก
ลง เมื่อรับประทานไฮโดรไลซ์คอลลาเจน จึงท้าให้สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์ได้ง่ายและรวดเร็ว มี
ประสิทธิภาพในการลดริวรอย เพิ่มความชุ่มชืนให้แก่ผิว เพิ่มความยืดหยุ่น ลดรอยขรุขระ ผิวเรียบเนียนขึน ท้า
ให้ผิวมีความหนาแน่นและแข็งแรงขึน สามารถลดรูขุมขนให้น้อยลงได้และยังมีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ ลด
การเกิดฝ้าจากแสงยูวีอีกด้วย อีกทังการใช้ไฮโดรไลซ์คอลลาเจน ยังไม่ก่อให้เกิดการแพ้ จึงมีความปลอดภัยใน
การใช้งาน ปัจจุบันจึงนิยมน้าไฮโดรไลซ์คอลลาเจนมาท้าเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อใช้บ้ารุงผิว
19

3.4. เอกสารอ้างอิง
1. Lai-Cheong JE, McGrath JA. Structure and function of skin, hair and nails. Medicine.
2021;49(6):337–42.

2. Boer M, Duchnik E, Maleszka R, Marchlewicz M. Structural and biophysical characteristics of


human skin in maintaining proper epidermal barrier function. Postepy Dermatol Alergol.
2016;33(1):1–5.

3. Structure and function of skin [อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 25 กรกฎาคม 2021]. Available at:
https://meded.psu.ac.th/binlaApp/class05/388_573/intro_to_dematology/index.html

4. Agarwal S, Krishnamurthy K. Histology, Skin. ใน: StatPearls [อินเทอร์เน็ต]. Treasure Island (FL):
StatPearls Publishing; 2021 [อ้างถึง 2 สิงหาคม 2021]. Available at:
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK537325/

5. Yousef H, Alhajj M, Sharma S. Anatomy, Skin (Integument), Epidermis. ใน: StatPearls


[อินเทอร์เน็ต]. Treasure Island (FL): StatPearls Publishing; 2021 [อ้างถึง 2 สิงหาคม 2021].
Available at: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK470464/

6. Cells and Layers of the Epidermis [อินเทอร์เน็ต]. Earth’s Lab. 2018 [อ้างถึง 31 กรกฎาคม 2021].
Available at: https://www.earthslab.com/physiology/cells-layers-epidermis/

7. Cichorek M, Wachulska M, Stasiewicz A, Tymińska A. Skin melanocytes: biology and


development. Postepy Dermatol Alergol. กุมภาพันธ์ 2013;30(1):30–41.

8. Rajesh A, Wise L, Hibma M. The role of Langerhans cells in pathologies of the skin. Immunol
Cell Biol. 2019;97(8):700–13.

9. Skin_Aging.pdf [อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 2 สิงหาคม 2021]. Available at:


https://skinident.com/fileadmin/img/spanish-pictures/pdf/Skin_Aging.pdf

10. Farage MA, Miller KW, Elsner P, Maibach HI. Intrinsic and extrinsic factors in skin ageing: a
review. International Journal of Cosmetic Science. 2008;30(2):87–95.
20

11. Thornton MJ. Estrogens and aging skin. Dermato endocrinol. 2013;5(2):264–70.

12. Nippoldt TB, Nair KS. DHEA replacement. Baillière’s Clinical Endocrinology and Metabolism.
1998;12(3):507–20.

13. dehydroepiandrosterone a hormone in: Journal of Endocrinology Volume 187 Issue 2 (2005)
[อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 2 สิงหาคม 2021]. Available at:
https://joe.bioscientifica.com/view/journals/joe/187/2/1870169.xml

14. DHEA treatment: Trends in Endocrinology & Metabolism [อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 2 สิงหาคม 2021].
Available at: https://www.cell.com/trends/endocrinology-metabolism/fulltext/S1043-
2760(02)00617-
3?_returnURL=https%3A%2F%2Flinkinghub.elsevier.com%2Fretrieve%2Fpii%2FS1043276002
006173%3Fshowall%3Dtrue

15. The Distribution of Estrogen Receptor β Is Distinct to That of Estrogen Receptor α and the
Androgen Receptor in Human Skin and the Pilosebaceous Unit | Elsevier Enhanced Reader
[อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 1 สิงหาคม 2021]. Available at:
https://reader.elsevier.com/reader/sd/pii/S0022202X15529497?token=E25E86E0430AF7E37F1
3351ED1FE3BFA4A2F1E3EA2FCC47B489241B57A0CBF0C63FECE1BB408B17877689FB8A4161D9
D&originRegion=eu-west-1&originCreation=20210731225015&fbclid=IwAR3pZypfXSO-
EbqLQ93Tjifu3YezQD8ob2C9t0cDgjkWHGWTIZci4OGc1WA

16. Zhang S, Duan E. Fighting against Skin Aging. Cell Transplant. 2018;27(5):729–38.

17. Farage MA, Miller KW, Elsner P, Maibach HI. Structural characteristics of the aging skin: a
review. Cutan Ocul Toxicol. 2007;26(4):343–57.

18. Waller JM, Maibach HI. Age and skin structure and function, a quantitative approach (I):
blood flow, pH, thickness, and ultrasound echogenicity. Skin Research and Technology.
2005;11(4):221–35.

19. Boss GR, Seegmiller JE. Age-Related Physiological Changes and Their Clinical Significance.
West J Med. 1981;135(6):434–40.
21

20. Farage MA, Miller KW, Elsner P, Maibach HI. Characteristics of the Aging Skin. Adv Wound
Care (New Rochelle). 2013;2(1):5–10.

21. Naylor EC, Watson REB, Sherratt MJ. Molecular aspects of skin ageing. Maturitas.
2011;69(3):249–56.

22. Mesa-Arango AC, Flórez-Muñoz SV, Sanclemente G, Mesa-Arango AC, Flórez-Muñoz SV,
Sanclemente G. Mechanisms of skin aging. Iatreia. 2017;30(2):160–70.

23. D’Orazio J, Jarrett S, Amaro-Ortiz A, Scott T. UV Radiation and the Skin. Int J Mol Sci.
72013;14(6):12222–48.

24. Kim C-S, Park S, Kim J. The role of glycation in the pathogenesis of aging and its prevention
through herbal products and physical exercise. J Exerc Nutrition Biochem. 2017;21(3):55–61.

25. Fournet M, Bonté F, Desmoulière A. Glycation Damage: A Possible Hub for Major
Pathophysiological Disorders and Aging. Aging Dis. 2018;9(5):880–900.

26. Parvizi J, Kim GK. Chapter 53 - Collagen. ใน: Parvizi J, Kim GK, บรรณาธิการ. High Yield
Orthopaedics [อินเทอร์เน็ต]. Philadelphia: W.B. Saunders; 2010 [อ้างถึง 25 กรกฎาคม 2021]. น.
107–9. Available at:
https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/B978141600236900064X

27. Ricard-Blum S. The Collagen Family. Cold Spring Harb Perspect Biol.2011;3(1):a004978.

28. Veysey EC, Finlay AY. CHAPTER 22 - Aging and the Skin. ใน: Fillit HM, Rockwood K,
Woodhouse K, บรรณาธิการ. Brocklehurst’s Textbook of Geriatric Medicine and Gerontology
(Seventh Edition) [อินเทอร์เน็ต]. Philadelphia: W.B. Saunders; 2010 [อ้างถึง 25 กรกฎาคม 2021].
น. 133–7. Available at:
https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/B9781416062318100224

29. Vollmer DL, West VA, Lephart ED. Enhancing Skin Health: By Oral Administration of Natural
Compounds and Minerals with Implications to the Dermal Microbiome. Int J Mol Sci.
72018;19(10):3059.
22

30. Sandhu SV, Gupta S, Bansal H, Singla K. Collagen in Health and Disease. Journal of Orofacial
Research. 2012;2.

31. Tzaphlidou M. The role of collagen and elastin in aged skin: an image processing approach.
Micron. 2004;35(3):173–7.

32. Ganceviciene R, Liakou AI, Theodoridis A, Makrantonaki E, Zouboulis CC. Skin anti-aging
strategies. Dermato endocrinol. 2012;4(3):308–19.

33. Lupu M-A, Gradisteanu Pircalabioru G, Chifiriuc M-C, Albulescu R, Tanase C. Beneficial effects
of food supplements based on hydrolyzed collagen for skin care (Review). Exp Ther Med.
2020;20(1):12–7.

34. CollagenTypes&Disorders.pdf [อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 31 สิงหาคม 2021]. Available at:


http://www.bu.edu/aldolase/biochemistry/html_docs/CollagenTypes%26Disorders.pdf

35. Wu M, Cronin K, Crane JS. Biochemistry, Collagen Synthesis. ใน: StatPearls [อินเทอร์เน็ต].
Treasure Island (FL): StatPearls Publishing; 2021 [อ้างถึง 2 สิงหาคม 2021]. Available at:
http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK507709/

36. Albaugh VL, Mukherjee K, Barbul A. Proline Precursors and Collagen Synthesis: Biochemical
Challenges of Nutrient Supplementation and Wound Healing. J Nutr. 2017;147(11):2011–7.

37. Collagen Synthesis - an overview | ScienceDirect Topics [อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 31 สิงหาคม


2021]. Available at: https://www.sciencedirect.com/topics/medicine-and-dentistry/collagen-
synthesis

38. เพชรพงไพศาล รค พรพิมพา. บทบาทของวิตามินซีต่อการเสริมสร้างคอลลาเจน [อินเทอร์เน็ต]. ระบบคลัง


ความรู้ SciMath. 2010 [อ้างถึง 25 กรกฎาคม 2021]. Available at: https://www.scimath.org/article-
chemistry/item/614-vitaminc2

39. León-López A, Morales-Peñaloza A, Martínez-Juárez VM, Vargas-Torres A, Zeugolis DI,


Aguirre-Álvarez G. Hydrolyzed Collagen—Sources and Applications. Molecules.
2019;24(22):4031.
23

40. Collagen extraction process [อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 31 สิงหาคม 2021]. Available at:
http://www.ifrj.upm.edu.my/23%20(03)%202016/(1).pdf?fbclid=IwAR2kKT8rZr_FEzY2E6lPrciU
ESq22ESo0K2OC1kVfphNT3nBSD_G6OLfh7s

41. Marine Fish Proteins and Peptides for Cosmeceuticals: A Review [อินเทอร์เน็ต]. [อ้างถึง 31
สิงหาคม 2021]. Available at:
https://www.researchgate.net/publication/317115295_Marine_Fish_Proteins_and_Peptides_f
or_Cosmeceuticals_A_Review

42. วรินญา ปัญญาแก้ว. การศึกษาผลของการรับประทานคอลลาเจนเสริมต่อความยืดหยุ่นและความชุ่มชืนของ


ผิว. :59.

43. Genovese L, Corbo A, Sibilla S. An Insight into the Changes in Skin Texture and Properties
following Dietary Intervention with a Nutricosmeceutical Containing a Blend of Collagen
Bioactive Peptides and Antioxidants. SPP. 2017;30(3):146–58.

44. Ito N, Seki S, Ueda F. Effects of Composite Supplement Containing Collagen Peptide and
Ornithine on Skin Conditions and Plasma IGF-1 Levels—A Randomized, Double-Blind,
Placebo-Controlled Trial. Marine Drugs. 2018;16(12):482.

45. Kim D-U, Chung H-C, Choi J, Sakai Y, Lee B-Y. Oral Intake of Low-Molecular-Weight Collagen
Peptide Improves Hydration, Elasticity, and Wrinkling in Human Skin: A Randomized, Double-
Blind, Placebo-Controlled Study. Nutrients. 2018;10(7):826.

46. Laing S, Bielfeldt S, Ehrenberg C, Wilhelm K-P. A Dermonutrient Containing Special Collagen
Peptides Improves Skin Structure and Function: A Randomized, Placebo-Controlled, Triple-
Blind Trial Using Confocal Laser Scanning Microscopy on the Cosmetic Effects and Tolerance
of a Drinkable Collagen Supplement. J Med Food. 2020;23(2):147–52.

47. Skov K, Oxfeldt M, Thøgersen R, Hansen M, Bertram HC. Enzymatic Hydrolysis of a Collagen
Hydrolysate Enhances Postprandial Absorption Rate—A Randomized Controlled Trial.
Nutrients. 2019;11(5):1064.

You might also like