You are on page 1of 68

รายวิชา วิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว21102

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566

หน่วยที่ พลังงานความร้อน
5
บทที่ ความร้อนกับ
1 การเปลี่ยนแปลงของสสาร
หน้า
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร 3

สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค
ซึ่งอาจเป็นอะตอม โมเลกุล หรือไอออน
โดยสสารชนิดเดียวกันที่มี
สถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส
จะมีการจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
การเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกต่างกัน
เมื่อสสารได้รับหรือสูญเสียความร้อน
สสารอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ซึ่งมีผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสาร
ขนาด หรือสถานะของสสาร
หน้า
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร 4

ความร้อนทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ
เมื่อสสารได้รับความร้อนอาจทาให้สสารมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
ในทางตรงกันข้ามเมื่อสสารสูญเสียความร้อนอาจทาให้
สสารมีอุณหภูมิลดลง

โดยทั่วไปเมื่อสสารได้รับความร้อน สสารจะขยายตัว
เนื่องจากความร้อนทาให้อนุภาคเคลือ่ นที่เร็วขึ้นและระยะห่างระหว่างอนุภาคมากขึน้
ในทางกลับกันเมื่อสสารสูญเสียความร้อน สสารจะหดตัว
เนื่องจากความร้อนทาให้อนุภาคเคลือ่ นทีช่ ้าลงและระยะห่างระหว่างอนุภาคลดลง
หน้า
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร 5

ความร้อนอาจทาให้สสารเปลีย่ นสถานะ
เมื่อสสารได้รับความร้อน อนุภาคจะเคลื่อนทีเ่ ร็วขึน้ และ
เคลื่อนที่ออกห่างกันมากขึ้น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
จะลดลงจนสสารเปลี่ยนสถานะ

ในทางกลับกัน เมื่อสสารสูญเสียความร้อน อนุภาคจะเคลื่อนที่ช้าลง


และเข้าใกล้กันมากขึ้น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคจะเพิม่ ขึ้น จนสสารเปลี่ยนสถานะ
ขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะ ความร้อนทั้งหมดจะถูก
ใช้ในการเปลีย่ นสถานะโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
หน้า
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร 6
เหรียญกษาปณ์ที่ใช้กันทั่วไป ผลิตจากโลหะ เช่น
ทองแดง นิกเกิล หรือโลหะผสม
ขั้นตอนการผลิตเหรียญกษาปณ์

ภาพเหรียญกษาปณ์
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 7

สสารเป็นสิง่ ต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีมวล และต้องการที่อยู่


พบได้ทั้งในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ไอโอดีนก็เป็นสสารชนิดหนึ่ง ไอโอดีนในสถานะของแข็งมี
ลักษณะเป็นเกล็ด สีม่วงเข้ม สามารถระเหิดเป็นไอสีม่วง
ซึ่งมีสถานะแก๊สได้
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 8

สสารในสถานะที่แตกต่างกันมีสมบัติทั้งที่เหมือนกันและแตกต่างกัน
เช่น สสารในสถานะของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรคงที่
สสารในสถานะของเหลวมีรูปร่างไม่คงที่ เปลีย่ นแปลงตามภาชนะที่บรรจุ แต่มีปริมาตรคงที่
ส่วนสสารในสถานะแก๊สมีรูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 9
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 10
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 11

ของแข็ง
อนุภาคของของแข็งจะเรียงชิดกันโดยมีแรงยึดเหนีย่ วระหว่างอนุภาค
มากกว่าของเหลวและแก๊ส และสั่นอยู่กับที่ จึงทาให้ของแข็งมีรูปร่าง
และปริมาตรคงที่

ก้อนหินเป็นของแข็งมีลักษณะเป็นก้อนที่มีรูปร่างและปริมาตรเหมือนเดิม
ไม่ว่าจะใส่ไว้ในภาชนะใด
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 12

ของเหลว
ของเหลวมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของเหลวน้อยกว่าของแข็ง
แต่มากกว่าแก๊ส อนุภาคของของเหลวจึงเคลือ่ นที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระ
โดยจะเคลื่อนที่รอบ ๆ อนุภาคใกล้เคียง
รูปร่างเปลี่ยน
ดังนั้นเมื่อบรรจุของเหลวในภาชนะที่มี แต่ปริมาตรเท่าเดิม
รูปร่างและปริมาตรต่างกัน รูปร่างของ
ของเหลวจะเปลี่ยนแปลงตามรูปร่าง
ของภาชนะที่บรรจุ
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 13

แก๊ส
อนุภาคของแก๊สกับของแข็งและของเหลวพบว่าอนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกัน
มาก โดยมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมากอนุภาคจึงเคลือ่ นที่ได้
อย่างอิสระทุกทิศทาง

ดังนั้นเมื่อบรรจุแก๊สในภาชนะที่มีรูปร่างและปริมาตรต่างกัน อนุภาคของ
แก๊สจะฟุ้งกระจายจนเต็มภาชนะที่บรรจุ ทาให้แก๊สมีรูปร่างและปริมาตร
ไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงตามรูปร่าง และปริมาตรของภาชนะ
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 14
หน้า
เรื่องที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ 15
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 16
อนุภาคของของแข็งจะสัน่ อยู่กับที่
ส่วนอนุภาคของของเหลวและแก๊สจะเคลื่อนที่ได้
การสั่นและการเคลื่อนที่ของอนุภาคทาให้เกิด
พลังงานความร้อน (thermal energy) ในสสาร

เราไม่สามารถวัดปริมาณพลังงานความร้อนนี้
ได้โดยตรง แต่เราสามารถวัดระดับพลังงาน
ความร้อนของสสารได้ด้วยการวัดอุณหภูมิ
โดยใช้ เทอร์มอมิเตอร์ แบบต่าง ๆ
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 17

สสารที่มีอุณหภูมิสูงแสดงว่ามีระดับพลังงานความร้อนสูง
ในทางตรงกันข้ามสสารที่มีอุณหภูมิต่าแสดงว่ามีระดับพลังงานความร้อนต่า
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 18
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 19
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 20

ชายทะเลในเวลาเช้าตรู่ จะรู้สึกว่าอากาศและหาดทรายเย็นสบาย
แต่ในช่วงกลางวันที่แดดร้อนจัดจะรู้สึกร้อน

เนื่องจากสสารได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์จึงมีอุณหภูมิสูงขึ้น
แต่อุณหภูมิของสสารจะแตกต่างกัน
ทรายจะมีอุณหภูมิสูงกว่าน้าทะเลและอากาศรอบตัว
แม้ว่าสสารเหล่านี้จะได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์
ในปริมาณที่เท่ากันก็ตาม
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 21

เมื่อให้ความร้อนแก่น้า น้าจะมีระดับพลังงาน ความร้อนหรืออุณหภูมิ


เพิ่มขึ้น อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นของน้าขึ้นอยู่กับมวลของน้าและปริมาณ
ความร้อนที่ได้รับ

แต่ถ้าให้ความร้อนแก่น้าและสสารชนิดอื่นๆในปริมาณที่เท่ากัน
แม้ว่าจะมีมวลเท่ากัน อุณหภูมิที่เปลี่ยนไปจะไม่เท่ากัน
ดังนั้นปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิของสสาร
อันเนื่องมาจากการได้รับความร้อนจึงขึ้นอยู่กับ
มวล ปริมาณความร้อน และชนิดของสสาร
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 22

ในการทาให้สสารต่างชนิดกันทามีมวล 1 หน่วยเท่ากัน
มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 หน่วยเท่ากัน
จะใช้ปริมาณความร้อนทาแตกต่างกัน
ปริมาณความร้อนนี้เป็น ความร้อนจาเพาะของสาร (specific heat)

ความร้อนจาเพาะของสาร มีหน่วยเป็น แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส


จูล/กรัม องศาเซลเชียส หรือ จูล/กิโลกรัม เคลวิน

ค่าความร้อนจาเพาะเป็นค่าเฉพาะตัวของสาร
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 23

ความร้อนจาเพาะของน้ามีค่า 1 แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส


หรือ 4.18 จูล/กรัม องศาเซลเชียส
แสดงว่า ต้องใช้ปริมาณความร้อน 1 แคลอรี หรือ 4.18 จูล
ในการทาให้น้ามวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเชียส
สารต่างชนิดกันจะมีความร้อนจาเพาะแตกต่างกัน
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 24
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 25

สารที่มีความร้อนจาเพาะน้อยต้องการปริมาณความร้อนเพียงเล็กน้อย
เพื่อทาให้สารนัน้ มวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส

สารที่มีความร้อนจาเพาะมากต้องการปริมาณความร้อนมาก
เพื่อทาให้สารนั้นมวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส

ในทางกลับกันถ้าให้ปริมาณความร้อนเท่ากัน
สารที่มีความร้อนจาเพาะน้อยก็จะมีอุณหภูมิเพิม่ ขึ้นมากกว่าสารที่มีความร้อนจาเพาะมาก
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 26

สสารเมื่อได้รับความร้อนจะมีอุณหภูมิสูงขึ้น
ในทางตรงกันข้ามเมื่อสสารสูญเสียความร้อน สสารก็จะมีอุณหภูมิต่าลง

เช่น วางน้าร้อนไว้ที่อุณหภูมิห้อง อุณหภูมิของน้าจะค่อย ๆ ลดลง


เนื่องจากน้าสูญเสียความร้อน อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปของสสารจะขึน้ อยู่กับ
ปริมาณความร้อน มวล และความร้อนจาเพาะของสาร
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 27
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 28
การคานวณปริมาณความร้อนที่ทาให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยนแปลง

Q = mct t = t2 − t1
Q แทน ปริมาณความร้อนที่สสารได้รับหรือสูญเสีย มีหน่วยเป็น แคลอรี (cal)
m แทน มวลของสสาร มีหน่วยเป็น กรัม (g)
c แทน ความร้อนจาเพาะของสาร มีหน่วยเป็น แคลอรี/กรัม องศาเซลเซียส (cal/g oC)
∆t แทน อุณหภูมิของสสารที่เปลี่ยนแปลงไป หรืออุณหภูมิสูงสุด (t2) - อุณหภูมิต่าสุด (t1)

ปริมาณความร้อนที่สสารได้รับหรือสูญเสียเมื่อสสารมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง
มีความสัมพันธ์กันตามสมการ Q = mc∆t
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 29
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 30
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 31
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 32
หน้า
เรื่องที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร 33

หน่วยของอุณหภูมิ ได้แก่ องศาเซลเซียส องศาฟาเรนไฮต์ และเคลวิน มีความสัมพันธ์กัน


สามารถเปลี่ยนจากหน่วยหนึ่งเป็นอีกหน่วยหนึ่งได้ โดยมีความสัมพันธ์ ดังแสดง

C F − 32 K − 273
= =
100 180 100
กาหนดให้ C แทนอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส
F แทนอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮต์
K แทนอุณหภูมิในหน่วยเคลวิน
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 34
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 35
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 36
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 37

จากการทากิจกรรมพบว่าอากาศ น้า และลูกกลมเหล็ก


จะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น เพราะเกิดการขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน
ในทางตรงกันข้าม อากาศ น้าและลูกกลมเหล็ก
จะมีปริมาตรลดลง เพราะเกิดการหดตัวเมื่อสูญเสียความร้อน
โดยไม่มีการเปลี่ยนสถานะ สสารอื่น ๆ รอบตัวก็เช่นเดียวกัน
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 38
นอกจากความร้อนจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารแล้ว
ความร้อนยังทาให้ปริมาตรของสสารเปลี่ยนแปลง
โดยการขยายตัวตามความร้อน (thermal expansion) และ
การหดตัวตามความร้อน (thermal contraction) ซึ่งทาให้รูปร่างของสสารเปลี่ยนแปลง
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 39
อนุภาคของสสารในสถานะแก๊สจะอยู่ห่างกันมากและเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ

เมื่ออนุภาคของแก๊สได้รับความร้อน
- จะมีพลังงานเพิ่มขึ้น
- ทาให้เคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
- มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยลง
- ระยะห่างระหว่างอนุภาคเพิ่มขึ้น
- แก๊สจึงขยายตัวมีปริมาตรมากขึ้น

ในทางตรงกันข้าม เมื่ออนุภาคของแก๊สสูญเสียความร้อน
จะมีพลังงานลดลง ทาให้เคลื่อนที่ได้ช้าลงและมีระยะห่างระหว่างอนุภาคลดลง
จึงทาให้แก๊สหดตัวมีปริมาตรลดลง
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 40
อนุภาคของของเหลวอยู่ใกล้กันมากกว่าอนุภาคของแก๊ส อนุภาคของ
ของเหลวสามารถเคลื่อนที่ได้แต่ไม่เป็นอิสระ โดยจะเคลื่อนที่รอบ ๆ อนุภาคข้างเคียง

เมื่ออนุภาคของของเหลวได้รับความร้อน
- จะมีพลังงานเพิ่มขึ้น
- ทาให้เคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
- มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยลง
- ระยะห่างระหว่างอนุภาคเพิ่มขึ้น
- ของเหลวจึงขยายตัวมีปริมาตรมากขึ้น
ในทางตรงกันข้าม เมื่ออนุภาคของของเหลวสูญเสียความร้อน
จะมีพลังงานลดลง ทาให้เคลื่อนที่ได้ช้าลงและมีระยะห่างระหว่างอนุภาคลดลง
จึงทาให้ของเหลวหดตัวมีปริมาตรลดลง
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 41
อนุภาคของของแข็งเรียงชิดติดกันและสั่นอยู่กับที่
เมื่ออนุภาคของของแข็งได้รับความร้อน
- จะมีพลังงานเพิ่มขึ้น
- ทาให้เคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
- มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยลง
- ระยะห่างระหว่างอนุภาคเพิ่มขึ้น
- ของแข็งจึงขยายตัวมีปริมาตรเพิ่มขึ้น

ในทางตรงกันข้าม เมื่ออนุภาคของของแข็งสูญเสียความร้อน
จะมีพลังงานลดลง ทาให้สั่นช้าลงและมีระยะห่างระหว่างอนุภาคลดลง จึงทาให้ของแข็งหดตัวมีปริมาตรลดลง
แต่เนื่องจากอนุภาคของของแข็งอยู่ชิดติดกัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมาก
การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของสสารในสถานะของแข็งจึงมีขนาดน้อยกว่าสสารในสถานะของเหลวและแก๊ส
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 42
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 43
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 44
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 45
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 46
ถ้าน้าแข็งหลอมเหลวหมด น้าจะล้นออกจากแก้วหรือไม่
เมื่อน้าเปลี่ยนสถานะเป็นน้าแข็งจะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น
ซึ่งต่างจากสสารทั่วไปที่เมื่อเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวเป็นของแข็งแล้วจะมีปริมาตรลดลง

น้าแข็งจึงขยายตัวและมีปริมาตรเพิ่มขึ้น
เมื่อเปลี่ยนสถานะจากน้าเป็นน้าแข็ง

ดังนั้นเมื่อน้าแข็งที่พูนแก้วเปลี่ยนสถานะเป็น
ของเหลวจะมีปริมาตรลดลง น้าจึงไม่ล้นออกมา
หน้า
เรื่องที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร 47
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 48
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 49
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 50

F
D E

B C

A
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 51
น้า สามารถเปลี่ยนจากสถานะหนึ่งไปเป็นอีกสถานะหนึ่งได้ เมื่อได้รับหรือสูญเสียความร้อน
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 52
ช่วง A-B เมื่อให้ความร้อนแก่น้าแข็ง ซึ่งมีสถานะเป็นของแข็ง อุณหภูมิของน้าแข็งจะเพิ่มขึ้น
จนกระทั่งน้าแข็งมีอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่จุดหลอมเหลวของน้าแข็ง

B
A
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 53

B C

ช่วง B-C ณ อุณหภูมินี้น้าแข็งจะเปลี่ยนสถานะเป็นน้า ซึ่งมีสถานะเป็นของเหลว


โดยอุณหภูมิขณะที่น้าแข็งหลอมเหลวเป็นน้าจะคงที่
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 54

ช่วง C-D เมื่อน้าแข็งหลอมเหลวเป็นน้าจนหมด แล้วยังได้รับความร้อนต่อไป


อุณหภูมิของน้าจะเพิ่มขึ้นจนถึง 100 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่จุดเดือดของน้า
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 55

D E

ช่วง D-E ณ อุณหภูมินี้น้าจะเปลี่ยนสถานะเป็นไอน้า


ซึ่งมีสถานะเป็นแก๊ส
โดยอุณหภูมิขณะที่น้าเดือดเป็นไอน้าจะคงที่
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 56

F
E

เมื่อน้าเดือดเป็นไอน้าจนหมด
แล้วยังได้รับความร้อนต่อไป
อุณหภูมิของไอน้าก็จะเพิ่มขึ้น
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 57
สูญเสียความร้อน เริ่ม

สิ้นสุด
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 58

สสารโดยทั่วไปเมื่อได้รับความร้อน เมื่อสสารสูญเสียความร้อน
นอกจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นแล้ว นอกจากอุณหภูมิที่ลดลงแล้ว
สสารยังมีการเปลี่ยนสถานะได้ สสารยังมีการเปลี่ยนสถานะ

โดยจุดหลอมเหลวและจุดเดือดของสสาร โดยจุดเยือกแข็งและจุดควบแน่นของสสาร
ต่างชนิดกัน จะมีค่าแตกต่างกัน ต่างชนิดกัน จะมีค่าแตกต่างกัน

และขณะที่สสารเปลี่ยนสถานะอุณหภูมิจะคงที
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 59
ปริมาณความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะ

ของแข็ง ของเหลว
เมื่อของแข็งได้รับความร้อน ความร้อนจะทาให้
อนุภาคของของแข็งมีพลังงานเพิ่มขึ้น
และสั่นมากขึ้นจนเคลื่อนที่ออกจากตาแหน่งเดิม
ทาให้อนุภาคอยู่ห่างกันมากขึ้น
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลง
ของแข็งจะเปลีย่ นสถานะเป็นของเหลว
โดยช่วงนี้อุณหภูมิของสสารจะคงที่
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 60

ความร้อนที่สสารมวล 1 หน่วยใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เรียกว่า

ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (latent heat of fusion)

มีหน่วยเป็น แคลอรี่ต่อกรัม หรือ จูลต่อกิโลกรัม

โดยปริมาณความร้อนที่สสารรับเข้าไปเพื่อใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว
จะเท่ากับ ปริมาณความร้อนที่สสารสูญเสียเมื่อสสารมีการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 61
ของเหลว แก็ส

เมื่อของเหลวได้รับความร้อน ความร้อนจะทาให้อนุภาคของของเหลวมีพลังงานเพิ่มขึ้นและเคลื่อนที่เร็วขึ้น
ทาให้อนุภาคอยู่ห่างกันมากขึ้น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคลดลง ของเหลวจะเปลีย่ นสถานะเป็นแก๊ส
โดยช่วงนี้อุณหภูมิของสสารจะคงที่
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 62

ความร้อนที่สสารมวล 1 หน่วย ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส เรียกว่า

ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (latent heat of vaporization)

มีหน่วยเป็น แคลอรีต่อกรัม หรือ จูลต่อกิโลกรัม

โดย ปริมาณความร้อนที่สสารรับเข้าไปเพื่อใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส
จะเท่ากับ ปริมาณความร้อนที่สสารสูญเสียเมื่อสสารมีการเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 63
ความร้อนแฝงเป็นสมบัติเฉพาะตัวของสาร
เช่น น้าแข็งมีค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว เท่ากับ 80 แคลอรีต่อกรัม
หมายความว่า น้าแข็งมวล 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
ต้องการปริมาณความร้อน 80 แคลอรี
ในการทาให้ น้าแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นน้ามวล 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
ถ้าต้องการทาให้ น้าแข็งมวล 5 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส หลอมเหลวเป็นน้าที่อุณหภูมิ
0 องศาเซลเซียส ต้องใช้ปริมาณความร้อน
ในทานองเดียวกัน เมื่อน้ามวล 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
เปลี่ยนสถานะเป็นน้าแข็งมวล 1 กรัม ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
จะสูญเสียความร้อนปริมาณเท่ากัน คือ 80 แคลอรี
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 64

ส่วนทองแดงมีจุดหลอมเหลวที่อุณหภูมิ 1,083 องศาเซลเซียส


มีค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลว เท่ากับ 32 แคลอรีต่อกรัม

หมายความว่า ทองแดงมวล 1 กรัมที่อุณหภูมิ 1,083 องศาเซลเซียส


ต้องการปริมาณความร้อน 32 แคลอรี
ในการเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวมวล 1 กรัมที่อุณหภูมิ 1,083 องศาเซลเซียส

ในทานองเดียวกัน ถ้าต้องการให้ทองแดงในสถานะของแข็งกับมา
อยู่ในสถานะของเหลวต้องใช้ปริมาณความร้อน
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 65
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 66
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 67
การคานวณปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนสถานะ

Q = mL
Q แทน ปริมาณความร้อนที่สสารได้รับหรือสูญเสีย มีหน่วยเป็น แคลอรี (cal)
m แทน มวลของสสาร มีหน่วยเป็น กรัม (g)
L แทน ความร้อนแฝงของการเปลี่ยนสถานะของสาร มีหน่วยเป็น แคลอรี/กรัม (cal/g)
หน้า
เรื่องที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 68

You might also like