You are on page 1of 7

1

การทดลองที่ 1
การทดสอบหาความบริสุทธิ์ของสารโดยวิธีหาจุดหลอมเหลว

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาความบริ สุทธิ์ ของสารที่เป็ นของแข็งจากช่วงของจุดหลอมเหลว
2. เพื่อศึกษาความแตกต่างของสารบริ สุทธิ์ และของผสม
3. เพื่อเรี ยนรู้เทคนิคในการหาจุดหลอมเหลวโดยวิธีไมโคร

คานา
สิ่ งที่จะเป็ นตัวบ่งชี้ ถึงความบริ สุทธิ์ ของสารต่างๆ ที่เป็ นของแข็ง คือจุ ดหลอมเหลวของสารนั้น
โดยนาสารนั้นมาเพียงเล็กน้อย บรรจุลงในภาชนะที่ใช้สาหรับหาจุดหลอมเหลว แล้วสังเกตว่าเมื่อให้ความ
ร้อนแก่สารแล้วจะมีอุณหภูมิหนึ่งที่สารนั้นเริ่ มหลอมไปจนถึงอีกอุณหภูมิหนึ่ งที่สารนั้นหลอมเป็ นของเหลว
จนหมด ดังนั้นอุณหภูมิของจุ ดหลอมเหลวของสารจะบันทึกออกมาเป็ นช่ วง เช่ น จุ ดหลอมเหลวของสาร
ชนิดหนึ่งมีค่าเท่ากับ 51 – 54 องศาเซลเซี ยส ซึ่ งแสดงว่าสารชนิดนี้หลอมเหลวอยูใ่ นช่วง 3 องศาเซลเซี ยส
จุดหลอมเหลวของสารชนิ ดหนึ่ งๆ จะมีค่าเฉพาะตัว ซึ่ งถื อได้ว่าเป็ นคุ ณสมบัติทางกายภาพของ
สารชนิ ดนั้น เนื่ องจาก ความดันไอสารที่เป็ นของแข็งจะต่ากว่าความดันไอสารที่เป็ นของเหลว ดังนั้น การ
เปลี่ยนแปลงของความดันบรรยากาศจึงไม่มีผลต่อการหลอมเหลวของสาร

Melting point behavior


จุดหลอมเหลวของสารนั้นสามารถที่จะบอกความบริ สุทธิ์ ของสารได้ 2 อย่างคือ
1. จุดหลอมเหลวของสารที่บริ สุทธิ์ จะสู งกว่าจุดหลอมเหลวของสารผสม
2. สารบริ สุทธิ์ จะมีช่วงการหลอมเหลวแคบกว่าสารผสม
การเติ มสารอื่ นหรื อสิ่ งเจื อปน (impurity) ลงในสารบริ สุทธิ์ จะทาให้จุดหลอมเหลวต่ าลง ตาม
สัดส่ วนของปริ มาณสารหรื อสื่ งเจือปนที่เติมลงไป จากกราฟรู ปที่ 1 แสดงจุดหลอมเหลวทัว่ ๆ ไปของสาร
ผสม 2 ชนิ ด กาหนดให้คือ สาร A และสาร B เส้น curve บน แสดงถึงอุณหภูมิที่สารผสมหลอมเหลวจน
หมด ส่ วนเส้น curve ล่าง แสดงถึงอุณหภูมิที่สารเริ่ มหลอมจากจุดเริ่ มต้นที่ A เป็ นอุณหภูมิที่สารบริ สุทธิ์ A
หลอมเหลวและอุณหภูมิของ A จะลดลงเรื่ อยๆ เมื่อมีสาร B เจือปนอยูใ่ นปริ มาณต่างๆ จนกระทัง่ ถึ งจุดที่
อุณหภูมิต่าที่สุดแล้วอุณหภูมิของจุดหลอมเหลวของสารผสมก็จะเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ จนกระทัง่ ถึงจุด B ซึ่ งเป็ น
จุดหลอมเหลวของสาร B เมื่อบริ สุทธิ์ โดยทัว่ ๆ ไปแล้ว เส้น curve ของจุดหลอมเหลวที่ต่าลงสาหรับสาร A
เมื่อมีสาร B เป็ นสารเจือปน (impurty) กับเส้น curve ของสาร B เมื่อมีสาร A เป็ นสารเจือปนจะตัดกันที่
อัตราส่ วนหนึ่ งโดยเฉพาะที่มีอุณหภูมิต่าที่สุด ดังรู ปที่ 1 ระยะทางที่เส้นตรงตัดจากเส้น curve บนถึงเส้น
curve ล่าง คือช่วงของจุดหลอมเหลว ซึ่ งเส้น curve ประเภทนี้ ได้จากการหาจุดหลอมเหลวที่มี impurty ใน
ปริ มาณน้อย (15 %) อย่างไรก็ดี ณ ที่จุดต่าสุ ดของ curve สารผสมจะรวมตัวกันอยูใ่ นรู ปของ eutectic ซึ่ งจะ
2

หลอมเหลวที่อุณหภูมิคงที่ และมีช่วงการหลอมเหลวแคบ สารผสมแต่ละคู่ไม่จาเป็ นต้องมี eutectic เสมอไป


และบางคู่อาจมีมากกว่าหนึ่ง eutectic ก็ได้

รู ป 1. จุดหลอมเหลวของสารผสม

ทฤษฎี
รู ปที่ 2 แสดงถึง phase diagram ของจุดหลอมเหลวของสารผสม (A + B) อุณหภูมิของจุด
หลอมเหลวที่วดั ได้จะสัมพันธ์กบั ปริ มาณของสาร A และสาร B ที่ผสมกันอยู่ โดยเริ่ มต้นจากสาร A ที่
บริ สุทธิ์ ไม่มีสาร B ปน มีจุดหลอมเหลวที่ tA อยูด่ า้ นซ้ายมือ ส่ วน tB คืออุณหภูมิของจุดหลอมเหลวของสาร
B ที่บริ สุทธิ์ (ไม่มีสาร A ปน) อยู่ดา้ นขวามือ ซึ่ งทั้ง tA และ tB เป็ นจุดหลอมเหลวที่คงที่และมีช่วงการ
หลอมเหลวแคบ เมื่ อนาสาร A และสาร B มาผสมกันดัง รู ป ที่ 2 โดยเริ่ ม ต้น จากอัต ราส่ วนผสมที่
ประกอบด้วยสาร A 80% สาร B 20% (สัดส่ วนโมลเปอร์ เซ็นต์) จุดหลอมเหลวของสารผสมนี้ ที่อุณหภูมิ tM
ที่จุด M ซึ่ งจะเห็นได้ว่าเมื่อเป็ นของผสมจุดหลอมเหลวของสารจะต่าลงจาก tA ไปเป็ น tM นอกจากนี้ ช่วง
หลอมเหลวก็กว้าง เพราะ tM เป็ นอุณหภูมิที่สารผสมหลอมเหลวหมด จุดหลอมเหลวที่ต่าลงเนื่ องจากสาร
บริ สุทธิ์ A มีสาร B เจือปน เป็ นผลมาจากความแตกต่างของความดันไอของของเหลว และของแข็งระหว่าง
สาร A และสารเจือปน ( B ) เพราะจุดหลอมเหลวของสารบริ สุทธิ์ คือ อุณหภูมิที่ solid phase อยูใ่ นสมดุลกับ
liquid phase เป็ นอุณหภูมิที่ของแข็งและของเหลวมีความดันไอเท่ากัน แต่เมื่อเติมสารเจือปน ( B ) ลงไป
สาร B จะไปลด molc fraction และความดันไอของสาร A นอกจากนี้ สามารถอธิ บายในทิศทางตรงข้ามคือ
ให้ความร้ อนแก่สารผสมจนกระทัง่ หลอมเหลวหมดที่อุณหภูมิสูง แล้วปล่อยทิ้งไว้ให้เย็นลง จนกระทัง่ ถึ ง
อุณหภูมิหนึ่ งซึ่ งของเหลวเริ่ มเปลี่ยนเป็ นของแข็ง เรี ยกว่า จุดเยือกแข็ง (freezing point) อุณหภูมิที่ของเหลว
เริ่ มแข็งตัว กับอุณหภูมิของจุดหลอมเหลวจะเปลี่ยนเป็ นอุณหภูมิอนั เดียวกัน กรณี ที่สาร A มีสาร B เจือปน
จะทาให้จุดเยือกแข็งของสาร A ต่าลง (Freezing point depression) ทานองเดียวกัน จุดหลอมเหลวก็จะต้อง
ต่าลงด้วย ยิ่งถ้ามีสารเจือปนมากจุดหลอมเหลวก็จะยิ่งต่าลงจนกระทัง่ ปริ มาณของสารเจือปนมากที่สุด ไม่
สามารถละลายในสาร A ได้อีก เมื่อถึงจุดนี้ ของเหลว A จะอิ่มตัวไปด้วย สาร B และการละลายของสาร B
3

ในสาร A จะสู งสุ ด ทาให้จุดหลอมเหลวไม่สามารถลดต่าลงไปกว่านี้ ได้อีก คือ ต่ าลงจนถึงอุณหภูมิ tC ซึ่ ง


เรี ยกว่า eutectic point
พิจารณาปรากฏการณ์ของจุดหลอมเหลวผสมเมื่อ A 80 % และสาร B 20 % คือ เมื่อเริ่ มให้ความ
ร้อน สาร A จะเริ่ มหลอม ช่ วงนี้ จะไม่สามารถมองเห็ นได้เพราะเกิดก่อนที่สารบรรจุละลายเป็ นของเหลว
โดยที่เมื่อสาร A เริ่ มอ่อนตัวมันจะละลายในสาร B จุดหลอมเหลวจะต่าลงไปเรื่ อยๆ จนสาร B ละลายหมด
หรื อถึงจุด eutectic point จากนั้นก็จะเหลื อแต่สาร A เป็ นส่ วนใหญ่ที่เริ่ มหลอมจุดนี้ อาจเริ่ มมองเห็ นเป็ น
ของเหลว อุณหภูมิก็จะเริ่ มสู งขึ้นจนสารที่เหลือหลอมเหลวหมดที่ t ณ จุด M จะได้วา่ tM เป็ นอุณหภูมิที่ของ
ผสมหลอมเหลวจนหมด ส่ วนอุ ณหภู มิที่สารผสมเริ่ มหลอมมักจะเป็ น tC แต่ว่ามักจะมองเห็ นได้ยากที่
อุณหภูมิน้ ี นอกจากจะมีปริ มาณของสาร B ปนอยูใ่ นปริ มาณที่ค่อนข้างมาก

รู ป 2. แผนผังวัฏภาคการหลอมเหลวของสาร 2 ชนิด

Mixed Melting points


จุ ดหลอมเหลวของสารนอกจากจะเป็ นตัวบ่ งชี้ ความบริ สุ ท ธิ์ ของสารแล้ว ยังใช้เป็ นตัวพิสู จน์
เปรี ยบเทียบว่าเป็ นสารชนิ ดเดียวกันหรื อไม่กบั สารอีกตัวหนึ่ ง เพราะว่าสารทั้งสองมีจุดหลอมเหลวที่เท่ากัน
ได้ โดยนาสารทั้งสองมาผสมในอัตราส่ วนที่เท่ากัน แล้วบดให้ละเอียด นาไปหาจุดหลอมเหลว ถ้าหากว่า
เป็ นสารชนิ ดเดี ยวกันก็จะได้จุดหลอมเหลวของสารผสมที่ยงั คงเดิ ม และมีช่วงการหลอมเหลวแคบ แต่ถ้า
สารทั้งสองเป็ นสารคนละชนิ ดกัน จุดหลอมเหลวที่หาได้ก็จะมีค่าต่ าลงกว่าเดิ ม และมีช่วงการหลอมเหลว
กว้างด้วย

การสลาย การอ่ อนตัว และการยุบตัวของของแข็ง


ของแข็งบางชนิดเมื่อถูกความร้อนจะสลายตัว ซึ่ งการสลายตัวจะสังเกตได้โดยสี จะเปลี่ยนไป เมื่อ
สารสลายตัวแล้ว สมบัติทางกายภาพของสารนั้นจะเปลี่ยนไปไม่เหมือนเดิม
4

การสลายตัวจะถือว่าเป็ นสมบัติทางกายภาพเฉพาะของสารนั้นๆ ไป ดังนั้นบางทีจึงพบว่าสารบาง


ชนิ ด เช่น thiamine hydrochloride มี m.p. 248 d หมายความว่าสารนี้ หลอมเหลวพร้อมกับเกิดการสลายตัวที่
อุณหภูมิ 248 องศาเซลเซียส
สารบางชนิ ดสลายตัวที่อุณหภูมิต่ ากว่าจุดหลอมเหลว ซึ่ งสารดังกล่าวจะเป็ นสารที่ ไม่เสถี ยรต่อ
ความร้ อน โดยเมื่อนาสารนั้นไปทาให้ความร้ อน สารอาจจะเกิด elimination reaction หรื อเกิด anhydride
formation ขึ้นระหว่างการหา m.p. products ที่เกิดขึ้น ทาหน้าที่คล้ายกับเป็ น impurities ในสารนั้น เป็ นผลทา
ให้ m.p. ของสารนั้นต่าลง เนื่องจาก decomposition
สาหรับสารทัว่ ไปในการหาจุดหลอมเหลว จะพบว่า ก่อนที่สารจะหลอมเหลว สารเมื่อถูกความ
ร้อนจะค่อยๆ อ่อนตัวและยุบตัวลง นัน่ เป็ นสิ่ งปกติสาหรับของแข็ง โดยที่การเกิ ดเช่ นนั้นมิได้หมายถึงเกิ ด
decomposition แต่หมายถึ งการเปลี่ยนโครงสร้ างผลึ ก สารบางชนิ ดที่ตกผลึ กในตัวทาละลาย เมื่อถูกความ
ร้อนอาจคายตัวทาละลายที่อยูใ่ นผลึกออกมาก่อนที่จะหลอม แต่ไม่ใช่การหลอมละลาย การหลอมเหลวจริ ง
จะเกิดขึ้นเมื่อของแข็งกลายเป็ นของเหลวหมดเท่านั้น
สารบางชนิ ดที่ มี ค วามดันไอสู ง เมื่ อถู ก ความร้ อนจะระเหิ ดก่ อนที่ จะหลอมเหลว โดยจะเห็ น
ของแข็งไปเกาะอยูด่ า้ นบนของ capillary tube แทนที่จะหลอมเหลวแก้ไขได้โดยหา m.p. ใน sealed capillary
tube

สารเคมี
1. benzoic acid
2. cinnamic acid
3. urea

อุปกรณ์
ชุดเครื่ องมือหาจุดหลอมเหลว ประกอบด้วย
1. หลอดเทเล (Thiele tube)
2. หลอดคาปิ ลลารี (capillary tube)
3. เทอร์โมมิเตอร์
4. จุดยางเสี ยบเทอร์โมมิเตอร์
5. ยางรัดเทอร์ โมมิเตอร์ กบั หลอดคาปิ ลลารี
6. ตะเกียงแก๊ส
5

รู ปที่ 3 ชุดเครื่ องมือหาจุดหลอมเหลว

วิธีทดลอง
1. เตรียมหลอดคาปิ ลลารีบรรจุสารทดสอบจุดหลอมเหลว (melting – point capillary)
เมื่อนิสิตทุกกลุ่มได้หลอดคาปิ ลลารี ซ่ ึ งมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ยาวประมาร
5 – 6 เซนติเมตร ให้นาไปปลายหลอดข้างหนึ่ งมาหลอมให้ตนั ด้วยเปลวไฟจากตะเกี ยงแก๊ส โดยวิธีการ
หลอม ให้หมุนหลอดคาปิ ลลารี ไปรอบๆ จนกระทัง่ ปลายปิ ดสนิท

หมายเหตุ : การเลือกหลอดคาปิ ลลารี ไม่ควรให้มีเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กจนเกินไป เพราะจะบรรจุ


สารลงไปได้ยาก และไม่ควรให้มีเส้ นผ่าศูนย์กลางใหญ่ เกิ นไป เพราะเมื่ อหาจุ ดหลอมเหลวจะทาให้จุด
หลอมเหลวมีช่วงกว้าง เนื่ องจากความร้อนกระจายไม่ทวั่ เนื้ อสาร นอกจากนี้ ไม่ควรใช้หลอดคาปิ ลลารี หนา
เกินไปด้วย

2. บดสารทีจ่ ะหาจุดหลอมเหลว
นาสารที่จะหาจุดหลอมเหลวมาเพียงเล็กน้อยใส่ ลงบนกระจกนาฬิ กา แล้วบดให้ละเอียดด้วย
แท่งแก้วปลายมน โดยสารที่จะหาจุดหลอมเหลวต้องแห้ง แล้วเขี่ยรารวมเป็ นกองไว้

3. บรรจุสารลงในหลอดคาปิ ลลารีทเี่ ตรียมในข้ อ 1


ใช้ปลายเปิ ดของหลอดคาปิ ลลารี ที่เตรี ยมไว้ในข้อ 1 กดไปบนกองสารในข้อ 2 ประมาณ 2 – 3
ครั้ง แล้วหงายหลอด เคาะหลอดทางปลายตันกับโต๊ะเพื่อให้ผงของแข็งตกลงก้นหลอด และอัดแน่น โดยให้
มีปริ มาณของแข็งในหลอดสู งประมาณ 2 – 3 มิลลิเมตร
6

4. จัดตั้งอุปกรณ์ การหาจุดหลอมเหลว (Oil Bath)


ผูกหลอดคาปิ ลลารี ที่เตรี ยมในข้อ 3 ติดกับเทอร์ โมมิเตอร์ ใส่ ลงในหลอด thiele tube ที่บรรจุ
น้ ามันที่มีจุดเดือดสู ง เช่น น้ ามันพาราฟิ น น้ ามันเมล็ดฝ้ าย กลีเซอรอล หรื อ ซิ ลิโคน ออยส์ โดยที่น้ ามันอยูส่ ู ง
จากแขนของ thiele tube ประมาณ 1 เซนติเมตร ดังรู ปที่ 3. ทั้งนี้ อย่าให้ปลายหลอดคาปิ ลลารี ทางด้านเปิ ดจุ่ม
อยูใ่ ต้ระดับน้ ามัน และอย่าใช้ thiele tube ที่เปี ยกน้ าใส่ น้ ามัน เพราะจะทาให้น้ ามันเดือดรุ นแรง และกระเด็น
ถูกร่ างกาย

5. ให้ ความร้ อนกับ Oil Bath


ให้ความร้อนแก่ oil bath จนอุณหภูมิต่ากว่าจุดหลอมเหลวของสารที่จะหาประมาณ 15 องศา
แล้วจึงค่อยๆ ทาให้ร้อนทีละน้อยด้วยอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิประมาณ 1 – 2 องศาเซลเซี ยสต่อนาที
ในกรณี ที่ ไ ม่ ท ราบจุ ดหลอมเหลวของสาร ควรบรรจุ ส ารใส่ หลอด 2 หลอด หลอดแรกหาจุ ด
หลอมเหลวโดยประมาณอย่างรวดเร็ วก่อน แล้วทาให้น้ ามันเย็นลงต่ากว่าจุดหลอมเหลวครั้งแรกประมาณ 3
องศาเซลเซี ยส จากนั้นจึงหาจุดหลอมเหลวของสารในหลอดที่สองโดยละเอียด
หมายเหตุ : ถ้าให้อุณหภูมิเพิม่ เร็ วไป ค่าจุดหลอมเหลวที่หาได้จะมีโอกาสผิดไปมาก เพราะสายตา
ไม่สามารถมองการหลอมของของแข็งได้ทนั และทาให้ช่วงของการหลอมเหลวกว้างมากขึ้น

สารทีจ่ ะหาจุดหลอมเหลว
ตอนที่ 1 หาจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์
สารบริ สุทธิ์ ที่ใช้ในการหาจุดหลอมเหลวมีดงั นี้ คือ
1. benzoic acid
2. cinnamic acid
3. urea

ตอนที่ 2 หาจุดหลอมเหลวของสารผสม
นาสารผสม 2 ชนิด คือ benzoic and และ urea หรื อ benzoic acid และ cinnamic acid
ที่มีสัดส่ วน mole % ดังนี้
7

Mole % ของสารบริสุทธิ์
Benzoic Benzoic Cinnamic
Urea
acid acid acid
90 10 90 10
80 20 80 20
70 30 70 30
60 40 60 40
50 50 50 50
40 60 40 60
30 70 30 70
20 80 20 80
10 90 10 90

เมื่อทาการทดลองเสร็ จแล้ว ให้นาค่าจุดหลอมเหลวมาพลอต melting point composition curve

ตอนที่ 3 หาจุดหลอมเหลวของสาร Unknown


นาสาร Unknown ที่ได้รับแจกหาจุดหลอมเหลว โดย Unknown ที่ได้รับแจกจะเป็ นสาร
บริ สุทธิ์ ตวั ใดตัวหนึ่งที่ใช้ในการทดลองนี้ คือ benzoic acid urea หรื อ cinnamic acid ซึ่ งวิธีหาจุดหลอมเหลว
อาจทาได้โดยหาจุดหลอมเหลวของ Unknown โดยตรง หรื อนา Unknown ที่ได้ไปผสมกับสารบริ สุทธิ์ ที่
สงสัยว่าจะเป็ นตัวเดียวกับ Unknown แล้วนาไปหาจุดหลอมเหลว โดยถ้า Unknown เป็ นสารบริ สุทธิ์ ชนิ ดใด
จุดหลอมเหลวของสารผสมจะมีช่วงแคบ

หนังสื ออ้างอิง
1. Practic Organic Chemistry Arthur [“ Vogel.
2. Introduction to Organic Laboratory Techniques, 2nd Edition Pavia, Lampman, Kriz.

You might also like