You are on page 1of 59

Chapter 3: Property of Pure Substance

Thermodynamics
คุณสมบัติของสารบริสุทธิ์

คุณสมบัติของสารบริสุทธ
• ในการศึกษาเรื่องการถายโอนพลังงานของ
ระบบมักจะมีการเกี่ยวของกับสารตางๆที่ใช
เปนตัวกลางในการชวยสงผานพลังงานหรือ
ชวยในการทํางาน ในบทนี้จะเปนการ
กลาวถึงคุณสมบัติของสารบริสุทธิ์ชนิดตางๆ
วามีการเปลี่ยนแปลงภายใตสภาวะที่
ตางๆกันออกไปอยางไรบาง

1
Chapter 3: Property of Pure Substance

สารบริสุทธิ์
• สารบริสทุ ธิ์คือสารที่มเี นื้อเปนเนื้อเดียวกัน และมี
องคประกอบทางเคมีที่แนนอน สารหลายๆแบบ
สามารถถือวาเปนสารบริสทุ ธิ์ไดไมวาสารนัน้ จะ
เปนสารที่มีองคประกอบของธาตุเพียงธาตุเดียว
หรือเปนสารที่ประกอบของธาตุหลายๆชนิด
รวมกัน เพียงแตวา สารนั้นจะตองเปนสารที่มี
สวนผสมทางเคมีเหมือนกันตลอดทั้งเนื้อสาร

ตัวอยางของสารบริสุทธิ์
• อากาศซึ่งประกอบดวยกาซหลายชนิด
• สามารถจะจัดใหเปนสารบริสทุ ธิไ์ ดเพราะถือวา
มีสวนผสมทางเคมีเหมือนกันตลอด
• น้ําผสมน้าํ มัน
• จะไมถือวาเปนสารบริสทุ ธิ์เพราะมี
องคประกอบทางเคมีไมเหมือนกัน

2
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยางของสารบริสุทธิ์
• น้ําผสมน้ําแข็งในแกว
• สารบริสุทธิ์นั้นไมจํจาํ เปนตองมีสถานะ
เดียว ในกรณีนี้เปนสารบริสุทธิ เพราะ
องคประกอบทางเคมีเปน H2O เหมือนกัน

สถานะของสารบริสุทธิ์
• สําหรับสถานะหลัก(principle phase)
จะมี อยู 3 สถานะ คือ
• ของแข็ง
• ของเหลว
• กาซ

3
Chapter 3: Property of Pure Substance

ของเหลวอัดตัว
• กระบอกสูบและลูกสูบที่ภายในบรรจุน้ําซึ่งมี
อุณหภูมหิ องในขัน้ แรกนี้ สมมุติวาเทากับ 20
°C และความดันบรรยากาศ
• น้ําจะมีสถานะเปนของเหลวอัดตัว
(compressed liquid หรือ subcooled liquid )
• ยังไมพรอมระเหยตัว

ของเหลวอิ่มตัว
• ใหความรอนตอไปจนได T = 100 °C ความ
ดันคงที่ 1 atm
• น้ําพรอมจะระเหยตัว
• ของเหลวอิ่มตัว (Saturated Liquid)

4
Chapter 3: Property of Pure Substance

กระบวนการเปลี่ยนสถานะที่ความดันคงที่
• เมื่อมีความรอนใหกับสารในสภาวะของเหลว
อิ่มตัวตอไปสารก็จะเริ่มเปลีย่ นสถานะกลายเปน
ไอและจะมากขึ้นเรือ่ ยๆ กระบวนการที่เกิดขึ้นนี้
เราเรียกวากระบวนการเปลีย่ นสถานะ
• ในระหวางการเปลีย่ นสถานะถาความดันคงที่
อุณหภูมจิ ะคงที่แตปริมาตรจําเพาะจะเพิ่มขึ้น

ของผสมอิ่มตัว
• ในชวงที่น้ํายังกลายเปนไอไมทั้งหมดภายใน
กระบอกสูบจะประกอบดวยน้ําซึ่งมีสวนหนึง่
เปนของเหลวและอีกสวนหนึ่งเปนไอ
• เรียกสารที่อยูในสภาพเชนนี้วา ของผสม
ระหวางของเหลวและไอน้ําอิ่มตัว (saturated
liquid-vapor mixture) หรือเรียกสัน้ ๆวา ของ
ผสมอิ่มตัว

5
Chapter 3: Property of Pure Substance

ไออิ่มตัว
• ถาใหความรอนตอไปเรื่อยๆจนกระทั่งน้ํา
หยดสุดทายกลายเปนไอ
• สําหรับจุดนี้จึงเปนจุดที่ไอน้ําพรอมที่จะกลั่น
ตัว(condense)อยูตลอดเวลา
• เราเรียกไอที่พรอมจะกลัน่ ตัวนี้วาไออิ่มตัว
(saturated vapor)

ไอรอนยวดยิ่ง
• หลังจากกระบวนการเปลีย่ นสถานะสมบูรณไป
แลวหากใหความรอนตอไปเรื่อยๆโดยรักษาให
ความดันคงที่
• อุณหภูมแิ ละปริมาตรจําเพาะก็จะสูงขึ้นเรื่อย
• ไอในสภาพทีไ่ มพรอมที่จะกลั่นตัวนี้เรียกวา
• ไอรอนยวดยิ่ง (superheated vapor)

6
Chapter 3: Property of Pure Substance

การเปลี่ยนสถานะที่ความดันคงที่

7
Chapter 3: Property of Pure Substance

อุณหภูมิอิ่มตัว
• น้ําเดือดที่อุณหภูมิเทาใด ?
• น้ําเดือดที่อุณหภูมิ 100 °C ?
• ที่ความดัน 500 kPa น้ําเดือดที่ 151.9 °C
• เรียกอุณหภูมทิ ี่สารบริสทุ ธิเ์ ริ่มเดือดที่ความดัน
หนึ่งวาอุณหภูมิอมิ่ ตัว(Saturation Temperature,
Tsat) ที่ความดันทีก่ าํ หนดให

ความดันอิ่มตัว
• เราเรียกความดันที่สารบริสุทธิ์เริ่มเดือดที่อุณหภูมิที่
กําหนดใหวา ความดันอิ่มตัว (Saturation Pressure,Psat) ที่
อุณหภูมินั้น
• โดยในขณะเกิดกระบวนการเปลี่ยนสถานะทั้งความดัน
และอุณหภูมิตางเปนคุณสมบัติที่ขึ้นตอกัน
Tsat = T(Psat)
• เรียกเสนที่แสดงความสัมพันธระหวาง Tsat และ Psat วา
liquid-vapor saturation curve

8
Chapter 3: Property of Pure Substance

Liquid -Vapor Saturation Curve


Liquid-Vapor
• เราเรียกเสนที่แสดงความสัมพันธระหวาง Tsat
และ Psat วา Liquid-Vapor Saturation Curve

แผนภาพทางเทอรโมไดนามิ
โมไดนามิกส
• เนื่องจากความสัมพันธระหวางคุณสมบัติ
ทางเทอรโมไดนามิ
โมไดนามิกสนั้นไดมาจากการ
ทดลอง ซึง่ มีขอมูลจํานวนมาก การศึกษา
แนวโนม หรือลักษณะของความสัมพันธของ
คุณสมบัติตางๆ จะพิจารณาไดงายกวา หาก
เราพิจารณาในลักษณะของกราฟ

9
Chapter 3: Property of Pure Substance

แผนภาพ TT-v
-v
• น้ําที่บรรจุอยูในกระบอกสูบที่ความดัน 1 MPa ที่ความ
ดันซึ่งสูงนี้ น้ํามีปริมาตรจําเพาะต่ํากวาที่ความดัน 1
atm ถาเพิ่มความรอนใหน้ําที่ 1 MPa เสนทางที่เกิดขึ้น
จะคลายคลึงกับน้ําที่ความดัน 1 atm
• เมื่อความดันสูงขึ้นอุณหภูมิที่น้ําเดือดสูงขึ้น ทําให
เสนทางการเปลี่ยนแปลงของสารในขณะที่มีความดัน
สูงกวาจะอยูเหนือเสนที่มีความดันต่ํากวา

แผนภาพ TT-v
-v

10
Chapter 3: Property of Pure Substance

แผนภาพ TT-v
-v
• เมื่อความดันสูงปริมาตรจําเพาะของของเหลวอิ่มตัวจะ
สูงขึ้น
• เมื่อความดันสูงปริมาตรจําเพาะของไออิ่มตัวจะนอยลง
• เสนระดับซึ่งแสดงวาในขณะนั้นอุณหภูมิมีคาคงที่ซึ่ง
เชื่อมตอระหวางจุดของเหลวอิ่มตัวกับจุดไออิ่มจะสั้นลง

จุดวิกฤติ
• จะเห็นวายิ่งความดันสูงขึ้นเทาไรเสนระดับที่
แสดงวามีอุณหภูมิคงที่ก็จะยิ่งสั้นลงเทานั้น
• เมื่อถึงทีร่ ะดับความดันหนึ่งเสนดังกลาวก็จะ
กลายเปนจุดซึ่งจุดนี้เรียกวา จุดวิกฤติ (critical
point)

11
Chapter 3: Property of Pure Substance

แผนภาพ TT-v
-v

คุณสมบัตทิ ี่จุดวิกฤติ
• ที่จุดวิกฤตจะมี อุณหภูมวิ ิกฤติ ความดันวิกฤติ
ปริมาตรจําเพาะวิกฤติ ที่แนนอน
• สรุปคือที่ความดันวิกฤติหากมีการเพิ่มอุณหภูมิ
ใหกับสารเรื่อยๆ สารจะเปลี่ยนจากสภาพ
ของเหลวเปนไอพรอมกันทั้งระบบโดยไมมีการ
เปลี่ยนเขาไปอยูใ นชวงของผสมอิม่ ตัวเลย

12
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยางคุณสมบัตทิ ี่จุดวิกฤติ
• สําหรับน้ําจะมี Pcr เทากับ 22.09 MPa,
Tcr เทากับ 374.14 °C,
vcr เทากับ 0.003155 m3/kg
• สําหรับกาซฮีเลี
เลี่ยมจะมี Pcr = 0.23 MPa,
Tcr = - 267.85 °C, vcr = 0.01444 m3/kg

เสนของเหลวอิ่มตัว
• หากวาลากเสนโยงเสนเชื่อมจุดอิ่มตัว
ทางดานของเหลวอิ่มตัว
• เสนที่ลากเชื่อมในชวงของเหลวจะเรียกเสน
นี้วาเสนของเหลวอิ่มตัว (saturated liquid
line)

13
Chapter 3: Property of Pure Substance

เสนไออิ่มตัว
• หากวาลากเสนโยงเสนเชื่อมจุดอิ่มตัวทั้ง
ทางดานของไออิม่ ตัว
• เสนที่ลากเชื่อมในชวงไอจะเรียกเสนไออิม่ ตัว
(saturated vapor line)
• เสนสองเสนนี้จะมาบรรจบกันตรงจุดวิกฤต
พอดี

เสนอิ่มตัว
• เสนโคงที่ไดจากการตอจุดอิ่มตัวทั้งหมดนี้
จะเรียกรวมกันวาเสนอิ่มตัว (saturated line)
และจะมีลักษณะเปนรูประฆังคว่ํา
• จุดสูงสุดของเสนอิ่มตัวคือจุดวิกฤติ

14
Chapter 3: Property of Pure Substance

การแบงสภาวะดวยเสนอิ่มตัว
• สารในสภาพของเหลวอัดตัวจะอยูดานซายเรียกวา
เขตของเหลวอัดตัว (compressed liquid region)
• สารในสภาพไอรอนยวดยิง่ จะอยูท างดานขวา
เรียกวาเขตไอรอนยวดยิ่ง (superheated vapor
region)
• สารที่อยูภ ายในรูประฆังจะเปนของเหลวผสมกับไอ
เรียกวาเขตของเหลวและไออิ่มตัวผสม

กราฟแสดงเสนอิ่มตัว

15
Chapter 3: Property of Pure Substance

แผนภาพ PP-v
-v
• รูปรางของแผนภาพ P-v คลายคลึงกับ T-v diagram
• ในแผนภาพ T-v เสนความดันคงทีจ่ ะลาดขึ้นขางบน
สวนในแผนภาพ P-v เสนอุณหภูมคิ งที่จะเอียงลง
• การทดลองสามารถทําไดโดยการเปลีย่ นขนาด
น้ําหนักเพื่อรักษาใหอุณหภูมิคงที่

การสรางแผนภาพ PP-v
-v

16
Chapter 3: Property of Pure Substance

P-v Diagram

แผนภาพ PP-v
-v ครอบคลุมสถานะของแข็ง
• สารสวนใหญที่พบเห็นนัน้ จะหดตัวหรือมีปริมาตร
ลดลงหากมีการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปน
ของแข็งหรือเมื่อมีอุณหภูมิลดลง
• ยกเวนสารบางชนิดเชนน้ําที่จะขยายตัวเมื่อ
เปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนของแข็ง

17
Chapter 3: Property of Pure Substance

สารที่หดตัวเมื่อเปลี่ยนเปนของแข็ง

สารที่ขยายตัวเมื่อเปลี่ยนเปนของแข็ง

18
Chapter 3: Property of Pure Substance

เสนสามเชิง
• ในบางสภาวะสารบริสทุ ธิ์อาจอยูในสภาพที่มที ั้ง 3
สถานะรวมกันก็ได
• เราจะพบวามีเสนอยูเสนหนึง่ ซึ่งสารสามารถมี
สภาพเปนไดทั้งสามสถานะในขณะเดียวกัน
• เรียกเสนที่เชื่อมตอจุดของสภาพ 3 สถานะรวมนี้
บน วาเสนสามเชิง (triple line)

แผนภาพ PP-T
-T
• บางครั้งเรียก แผนภาพแสดงสถานะ (phase diagram)
• เพราะจะมีเสนแบงสถานะทั้งสามออกจากกันใหเห็น
อยางชัดเจน เสนการระเหิดจะเปนเสนเขตแดนระหวาง
ของแข็งกับของเหลว
• เสนการระเหย จะเปนเสนระหวางของเหลวกับไอ
• เสนหลอมละลาย แบงระหวางของแข็งกับของเหลว

19
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยางแผนภาพ PP-T
-T

จุดสามเชิง
• สภาวะของสารที่จุดใดๆบนเสนสามเชิง จะมี
ความดันและอุณหภูมิเทากันทั้งหมดแตจะมี
ปริมาตรจําเพาะแตกตางกัน
• หากวาเราพิจารณาเสนสามเชิงบนแผนภาพ
P-T เสนนี้จะปรากฏเปนจุดจุดเดียว เราเรียก
จุดสามเชิง (triple point)

20
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยางจุดสามเชิง

ลักษณะของสารเทียบตอจุดสามเชิง
• สารบริสทุ ธิ์มีความดันต่ํากวาความดันของจุดสาม
เชิงไมวาสารบริสทุ ธิ์ใดก็ไมมีโอกาสที่จะอยูใ น
สถานะของเหลวไดไมวาอุณหภูมหิ รือปริมาตร
จําเพาะจะเปนเทาไร
• ในสภาพซึ่งอุณหภูมิต่ํากวาอุณหภูมขิ องจุดสามเชิง
สารบริสทุ ธิท์ หี่ ดตัวเมื่อกลายเปนของแข็งไมมี
โอกาสที่จะอยูในสถานะของเหลวได

21
Chapter 3: Property of Pure Substance

การกลายเปนไอ
• ของแข็งจะเปลี่ยนสถานะเปนไอได 2 วิธี
• หลอมเหลวกลายเปนของเหลวกอนแลว
จึงระเหย กลายเปนไอ
• กลายเปนไอโดยตรงเลยโดยไมตองผาน
การหลอมเหลวกอน การระเหิด
(sublimation)

การระเหิด
• การที่เกิดการระเหิดไดนั้นแสดงวา
กระบวนการเปลี่ยนสถานะของสาร
บริสุทธิ์เกิดขึ้นในขณะที่ความดันต่ํากวา
ความดันจุดสามเชิง

22
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําถาม
• ทานสามารถอธิบายไดหรือไมวาทําไมเวลาที่
เราเปดน้าํ อัดลมซึ่งเย็นจัดนั้น กอนที่เราจะ
เปดฝาเรามองเห็นน้ําอัดลมในขวดเปน
ของเหลวแตเมื่อเราเปดฝาแลวน้ําอัดลมนั้น
กลับกลายเปนของแข็งหรือที่เราเรียกกันวา
เปนวุนขึน้ มาได ?

P-v-T surface

สารบริสุทธิ์ที่หดตัวเมื่อแข็ง สารบริสุทธิ์ที่ขยายตัวเมื่อแข็ง

23
Chapter 3: Property of Pure Substance

Example and Problems

การใชตารางเทอรโมไดนามิ
โมไดนามิกส
• ความสัมพันธของคุณสมบัติทางเทอรโมโม
ไดนามิกสของสารจะไดมาจากการทดลอง
• ความสัมพันธจะซับซอนเกินที่จะอธิบายไดดวย

สมการคณิตศาสตรทั่วๆไปได
• ดังนั้นในทางปฏิบัติจึงมักแสดงความสัมพันธใน

รูปของตาราง

24
Chapter 3: Property of Pure Substance

เอนทาลป (Enthalpy, H)
พลังงานภายในกับพลังงานที่เกิดจาก
การไหล (flow work) เขียนเปน
ความสัมพันธไดดังนี้คือ
H = U + PV
h = u + Pv

ความสําคัญของเอนทาลป
• คาความแตกตางของเอนทาลปของสารในสภาวะ
ไออิ่มตัวและของเหลวอิ่มตัวทีค่ วามดันหรือ
อุณหภูมิเดียวกันซึง่ แทนดวย hfg
• คานี้เรียกความรอนแฝงของการกลายเปนไอ
• มีคาเทากับปริมาณพลังงานที่ใชในการทําให
ของเหลวอิ่มตัวกลายเปนไอที่ความดันคงที่

25
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตารางเทอรโมไดนามิกส
• ตารางทางเทอรโมไดนามิกสไดจัดรวบรวม
ขอมูลทีเ่ กี่ยวของเขาไวดวยกัน
• การกําหนดสภาวะนั้นตองใชคุณสมบัติที่ไม
ขึ้นกับขนาดที่ไมขึ้นตอกัน 2 คุณสมบัติ
• หลักการของการเปดตารางนี้ก็คืออันดับแรกเรา
ตองสามารถกําหนดสภาวะใหไดกอ น

การแบงตารางเทอรโมไดนามิกส
• ตารางอิ่มตัว
• ตารางไอรอนยวดยิ่ง
• ตารางของเหลวอัดตัว
• ในที่นี้จะยกตัวอยางตารางของน้ํา

26
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตารางสารอิ่มตัว
• เปนการแสดงคุณสมบัติในชวงที่มีการ
เปลี่ยนแปลงสถานะระหวางของเหลวและกาซ
• การใชตารางของสารอิ่มตัวจะใชอุณหภูมแิ ละ
ความดันเปนคุณสมบัติ 2 คาเพื่อในการ
กําหนดสภาวะไมได

SUBSCRIPT
• subscript f หมายถึง ของเหลวอิ่มตัว
• subscript g หมายถึง ไออิม่ ตัว
• subscript fg หมายถึงคาความแตกตางของ
คุณสมบัติที่ไออิ่มตัวกับของเหลวอิ่มตัว

27
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยาง
• vf หมายถึงปริมาตรจําเพาะในสภาพของเหลว
อิ่มตัว
• ug หมายถึงพลังงานภายในในสภาพไออิ่มตัว
• ufg จะมีคาเทากับ ug - uf

ตารางของเหลวอิ่มตัวและไออิ่มตัว
• ตารางคุณสมบัติของของเหลวอิ่มตัวและไอ
อิ่มตัวของน้ําจะใชอุณหภูมิหรือความดันคาก็ได
• ตารางที่ A-4 ใชอุณหภูมเิ ปนหลัก
• ตารางที่ A-5 ใชความดันเปนหลัก
• คาที่แสดงในทั้งสองตารางนี้เหมือนกันทัง้ หมด
ตางกันเฉพาะวิธแี สดงคาเทานั้น

28
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตารางอิ่มตัว : อุณหภูมิ

ตัวอยาง
• ถังใบหนึ่งบรรจุน้ําในสภาวะของเหลวอิ่มตัว
จนเต็ม ถาน้ํามีมวล 50 kg อุณหภูมิ 90 ˚C จง
หาความดันภายในถังและปริมาตรของถัง
• เนื่องจากน้ําอยูในสภาวะของเหลวอิ่มตัว
• ดังนั้นความดัน ณ อุณหภูมิ 90 °C นี้ ตองเปน
ความดันอิ่มตัว ใชตาราง A-4

29
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ
• ที่ T = 90 °C ได Psat = 70.14 kPa Ans
• คาปริมาตรจําเพาะของของเหลวอิ่มตัวที่
อุณหภูมิ 90 °C
• v = vf(90°C) = 0.001036 m3/kg
• V = mv = (50 kg)(0.001036 m3/kg)
= 0.0518 m3 Ans

ตัวอยาง
• ถังใบหนึง่ มีปริมาตร 2 m3 ภายในบรรจุไอน้ํา
อิ่มตัว ถาความดันอิ่มตัว ของน้ําเทากับ 0.15
MPa จงหาอุณหภูมิและมวลของไอน้ํา
• เนื่องจากไอน้ําอยูในสภาวะอิ่มตัว ดังนั้น
อุณหภูมิ ณ ความดัน นี้ตอ งเปน อุณหภูมิ
อิ่มตัว ใชตาราง A-5

30
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ
จากตาราง A-5 ที่ความดัน 0.15 MPa จะได
Tsat@0.15MPa = 111.37 °C Ans
และสําหรับปริมาตรจากตารางจะได
v = vg@0.15MPa = 1.1593 m3/kg
ดังนั้นมวลของระบบจะเปน
m = V/v = (2)/(1.1593) = 1.725 kg Ans

ตัวอยาง
น้ําในสภาวะของเหลวอิ่มตัวมีมวล 200 g ไดรับ
ความรอนจนกระทั่งกลายเปนของเหลวทั้งหมด
ในขณะที่ความดันคงที่อยูที่ 100 kPa จงหา
(a) ปริมาตรของน้ําที่เปลี่ยนไป
(b) พลังงานที่น้ําไดรับ

31
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ (a)
ปริมาตรจําเพาะที่เปลีย่ นไปจากของเหลวอิม่ ตัวเปน
ไออิ่มตัวจะเทากับ
vfg = vg- vf = 1.6940 - 0.001043 = 1.6930 m3/kg
ดังนั้นปริมาตรทีเ่ ปลี่ยนไปทั้งหมดจะเปน
V = mvfg = (0.2 )(1.6930) = 0.3386 m3 Ans

คําตอบ (b)
พลังงานที่ใชในการทําใหน้ํา 1 kg กลายเปนไอที่
ความดัน 100 kPa คือ
hfg@100 kPa = 2258.0 kJ/kg
พลังงานที่ใชกับน้าํ มวล 200 g จะเปน
H = mhfg = (0.2)(2258) = 451.6 kJ Ans

32
Chapter 3: Property of Pure Substance

ของผสมอิ่มตัว
• ในขณะเกิดกระบวนการกลายเปนไอ สารจะ
อยูในสถานะของเหลวผสมไอหรือสวนผสม
ระหวางของเหลวอิ่มตัวกับไออิ่มตัว
• ในการวิเคราะหคุณสมบัติผสมนี้เราตอง
นิยามคุณสมบัติขึ้นมาอีกคาหนึ่ง
• คาคุณภาพ (quality, x)

คาคุณภาพ (quality, x)
อัตราสวนของมวลของสารในสถานะไออิม่ ตัว
หารดวยมวลของสารทั้งระบบ
mvapor
x=
mtotal

mtotal = mliquid + mvapor = mf + mg

33
Chapter 3: Property of Pure Substance

คา quality
คาของ x จะไมนอ ยกวาศูนยหรือมากกวาหนึ่ง

การหาคาคุณสมบัติในชวงของผสมอิ่มตัว
• ปริมาตรของเหลวอิ่มตัวที่ผสมอยู เทากับ Vf
• ปริมาตรไออิ่มตัวที่ผสมอยู เทากับ Vg
• เพราะฉะนั้นปริมาตรรวม V = Vf + Vg
• จาก V = mv
• mtv = mf vf + mg vg

34
Chapter 3: Property of Pure Substance

การหาคาคุณสมบัติในชวงของผสมอิ่มตัว
• เนื่องจาก mf = mt - mg ดังนั้น
mtv = (mt - mg) vf + mg vg
• หารตลอดดวย mt
mt − mg mg
v= vf + vg
mt mt

การหาคาคุณสมบัติในชวงของผสมอิ่มตัว
mt − mg mg
v= vf + vg
mt mt
จาก x = mg / mt
v = (1 − x ) v f + xv g

(
= v f + x vg − v f )
= v f + xv fg

35
Chapter 3: Property of Pure Substance

การหาคาคุณสมบัติในชวงของผสมอิ่มตัว
ถา y เปนคุณสมบัติใดๆ จะไดวา
y = y f − xy fg
การหาคา x สามารถหาไดจาก
y − y
x =
f

y fg

y − y
=
f

y g − y f

ขอควรจําสําหรับของผสมอิ่มตัว

• x = 0 หมายถึงของเหลวอิ่มตัว
• x = 1 หมายถึงไออิ่มตัว
• เปนไปไมไดที่จะมี x > 1 หรือ x < 0
• ในชวงนี้ yf < y < yg เมื่อ y เปนคุณสมบัติใดๆ

36
Chapter 3: Property of Pure Substance

ลักษณะของของผสมอิ่มตัว
• มีความดันเทากับความดันอิ่มตัว
• มีอุณหภูมิเทากับอุณหภูมิอมิ่ ตัว
• มีคุณสมบัติอยูระหวางของเหลวอิ่มตัว
และไออิ่มตัว
yf < y < yg

37
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยาง
ถังใบหนึง่ บรรจุนา้ํ 10 kg อุณหภูมิ 90°C ถา
น้ํา 8 kg อยูในสภาวะของเหลว จงหา
(a) ความดันภายในถัง (b) ปริมาตรของถัง
(a) เนื่องจากน้ําอยูในสภาวะของผสมอิ่มตัว
ดังนั้นความดันตองเปนความดันอิ่มตัว
P = Psat@90°C = 70.14 kPa Ans

คําตอบ (b)
ที่ 90°C คา vf = 0.001036 m3/kg
และคา vg = 2.361 m3/kg
วิธีที่ 1
จาก V = mfvf + mg vg
ดังนั้น V = (8)(0.001) + (2)(2.361)
= 4.73 m3 Ans

38
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ (b)
วิธีที่ 2
x = mg/mt = (2)/(10) = 0.2
= 0.001 + (0.2)(2.361-0.001)
= 0.473 m3/kg
V = mv = (10)(0.473 ) = 4.73 m3 Ans

ตัวอยาง
ภาชนะขนาด 80 ลิตรบรรจุดวยสารทําความ
เย็น R-134a โดยที่มวลของสารเทากับ 4 kg
และมีความดัน 160 kPa จงหา
(a) อุณหภูมิของสารทําความเย็น
(b) คาคุณภาพไอ (c) เอนทาลป
(d) ปริมาตรของ R-134a เฉพาะสวนที่เปนไอ

39
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ
ดวยขอมูลเทาทีโ่ จทยใหมา ยังไมสามารถทราบไดวา
สารทําความเย็นอยูในสถานะใด แตสามารถ
เปรียบเทียบคาไดดังนี้คือ
v = V/m = (0.080)/(4) = 0.02 m3/kg
ที่ความดัน 160 kPa จากตาราง A-12 ไดวา
vf = 0.0007435 m3/kg และ vg = 0.1229 m3/kg

คําตอบ (a)
เนื่องจาก vf < v < vg ดังนั้น สารทําความเย็นนี้จะ
อยูในชวงของ saturated mixture
นั่นคือ อุณหภูมิก็ควรเปนอุณหภูมอิ ิ่มตัว
T = Tsat@ 160kPa = -15.62 °C Ans

40
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ (b)
คาคุณภาพหาไดจาก
x = (v - vf) / vfg
= (0.02-0.0007)/(0.1229-0.0007)
= 0.1579 Ans

คําตอบ (c)
เอนทาลปหาจาก
h = hf + xhfg
= 29.78 + (0.1579)(208.18)
= 62.65 kJ/kg Ans

41
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ (d)
จาก mg = xmt = (0.1579)(4kg) = 0.6316 kg
ดังนั้น Vg= mgvg
= (0.6316)(0.1229) = 0.0776 m3
ปริมาตรสวนที่เปนไอจะเทากับ 77.6 ลิตร
ปริมาตรที่เหลืออีก 2.4 ลิตรจะเปนของเหลว

INTERPOLATION
ƒการใชตารางหากวาคาที่กําหนดใหไม
ตรงกับคาที่มีอยูในตาราง
ƒการเปลี่ยนแปลงคาคุณสมบัตินั้นโดย
ปกติไมไดเปลี่ยนแปลงอยางเชิงเสน

42
Chapter 3: Property of Pure Substance

Linear Interpolation
• ถาการเปลี่ยนแปลงไมมากนักเราอาจสมมุติ
วาการเปลี่ยนแปลงเปนเชิงเสนได
• เราจะหาคาในระหวางนัน้ ไดโดยการใช
linear interpolation

การประมาณดวย Linear Interpolation


Y2
Y
Y1

X1 X X2

43
Chapter 3: Property of Pure Substance

Linear Interpolation
• ที่ x = x1 ได y = y1
• ที่ x = x2 ได y = y2
• ที่ x3 ( x1 < x3 < x2 ) จะได y = ?

Linear Interpolation
x เพิ่มขึน้ (x2 - x1) จะได y เปลี่ยนไป y2 - y1
x เพิ่มขึน้ (x3 - x1) จะได y เปลี่ยนไป Δy = y3- y1
y2 − y1
(x − x )
ดังนั้น
Δy =
x2 − x1 3 1
( − y1 )
(x − x1 )
y
y3 = y1 −
2

(x 2 − x1 )
3

44
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยาง
จงหาความดันอิ่มตัวที่อุณหภูมิ 133 °C
ที่ 130 °C Psat = 270.1 kPa
ที่ 135 °C Psat = 313.0 kPa
ดังนั้นที่ 133 °C จะได Psat เทากับ

คําตอบ
. − 2701
3130 .
Psat @133C = 2701
. + (133 − 130)
135 − 130
ซึ่งไดคําตอบเทากับ
295.84 kPa

45
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตารางไอรอนยวดยิ่ง
สําหรับชวงที่เปนไอรอนยวดยิ่ง สารจะอยู
ในสภาวะสถานะเดียว ดังนั้นอุณหภูมิ
และความดันก็จะเปนอิสระตอกัน เพียง
พอที่จะนํามาใชบงสภาวะของสารได

Super Heated Table

46
Chapter 3: Property of Pure Substance

คุณสมบัติของ ไอรอนยวดยิ่ง
• ณ อุณหภูมิที่กําหนดให ความดันจะต่ํา
กวาความดันอิ่มตัว (P < Psat )
• ณ ความดันที่กําหนดให อุณหภูมิจะสูง
กวาอุณหภูมิอมิ่ ตัว (T > Tsat )

คุณสมบัติอื่นๆของไอรอนยวดยิ่ง
ที่ความดันหรืออุณหภูมิที่กําหนด
กําหนดใหคุณสมบัติอื่นๆ จะตองสูงกวา
คุณสมบัติของไออิ่มตัว
v > vg u > ug h > hg

47
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยาง
จงหาอุณหภูมิของน้ําที่
P = 0.5 MPa, h = 2890 kJ/kg
จากตาราง A-5 ที่ 0.5 MPa น้ําจะมีเอนทาลป
hf =640.23 kJ/kg ; hg=2748.7kJ/kg

คําตอบ
เนื่องจาก h ทีกํ่ กาํ หนด 2890 kJ/kg สูงกวา hg
ดังนั้นตองใชตารางไอรอนยวดยิ่ง A-6 จากตาราง
จะเห็นวาคา h = 2890 kJ/kg
อยูระหวางคา h = 2855 กับ h = 2960.7 kJ/kg

48
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ
ตามตารางขางลางนี้
T1 = 200 h1=2855.4
T2 = ? h2=2890.0
T3 = 250 h3=2960.7

คําตอบ
ดังนั้นหากเปรียบคาโดยใชการเปรียบคา
เชิงเสนจะได
T2 = 216.42 °C
นั่นคือจากสภาพที่กําหนดน้ําจะมีอุณหภูมิ
216.42 °C Ans

49
Chapter 3: Property of Pure Substance

ของเหลวอัดตัว
• สภาวะของของเหลวอัดตัวไดแก
• ที่อุณหภูมิทกํี่ กาํ หนดให ความดันจะสูงกวา
ความดันอิ่มตัว (P > Psat)
• ที่ความดันที่กํกาํ หนดให อุณหภูมิจะต่ํากวา
อุณหภูมิอิ่มตัว (T < Tsat)

ลักษณะของของเหลวอัดตัว
ที่ความดันหรืออุณหภูมิที่กํกาํ นหดให
คุณสมบัติอื่นๆจะนอยกวาคุณสมบัติ
ของของเหลวอิ่มตัว
v < vf u < uf h < hf

50
Chapter 3: Property of Pure Substance

การหาคาคุณสมบัติของเหลวอัดตัว
• การเปลี่ยนแปลงของคุณสมบัติของสารที่อยูใน
สภาพของเหลวเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
ของความดันจะมีนอยมาก
• ในทางปฏิบัติ เราจะอนุโลมใหใชคุณสมบัติ
ของเหลวอิ่มตัว ณ อุณหภูมิที่กําหนดใหแทน
แทน

การประมาณคา
ในทางปฏิบัติอาจประมาณ
y = yf@T
โดยที่ y คือ v, u, h หรือคุณสมบัติอื่นๆ

51
Chapter 3: Property of Pure Substance

ตัวอยาง
จงหาพลังงานภายในของน้ําที่ 80 °C, 5 MPa
(a) โดยวิธีใชขอมูลจากตารางของน้ําเหลวอัด
(b) ใชขอมูลจากตารางน้ําเหลวอิ่มตัว
(c) แสดงความแตกตางของพลังงานภายในจาก
การหาโดยวิธีที่ 1 และ 2

คําตอบ
• ความดันอิ่มตัวของน้ําที่ 80 °C คือ 47.39 kPa
• แตความดันทีกํ่ กาํ หนดใหคืคอื 5 MPa
• นั่นคือ P < Psat
• ดังนั้นน้าํ จะอยูในสภาวะน้ําเหลวอัดตัว

52
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ (a)
(a) จากตารางของน้ําเหลวอัดตัว ตาราง A-7
P = 5 MPa , T = 80 °C จะได
u = 333.72 kJ/kg

คําตอบ (b)
(b) จากตารางของน้ําอิ่มตัว ตาราง A-4
u = uf@80°C
= 334.86 kJ/kg
และได Psat เทากับ 47.39 kPa

53
Chapter 3: Property of Pure Substance

คําตอบ (c)
(c) คาพลังงานภายในตางกันเทากับ
334.86-333.72 = 1.14 kJ/kg
หรือคิดเปนรอยละ 1.14/333.72 = 0.34%
ขณะที่ความดันตางกัน 5000/47.39 = 105.5 เทา

ขอควรจําสําหรับของเหลวอัดตัว

ƒ หากความดันไมสูงมากพอ จะไมสามารถใช
ตารางของเหลวอิ่มตัวได
ƒ การหาคุณสมบัติโดยใชคาของเหลวอิ่มตัว
แทนจะตองใชที่อุณหภูมเิ ดียวกันเทานั้น

54
Chapter 3: Property of Pure Substance

สมการสภาวะของกาซอุดมคติ
• การใชตารางเปนเรื่องยุงยาก หากเรามีสมการ
คณิตศาสตรที่แสดงความสัมพันธระหวาง ความ
ดัน อุณหภูมิ ปริมาตร จะทําใหการคํานวณงายขึ้น
มาก
• สมการสภาวะคือสมการทีแ่ สดง ความสัมพันธ
ระหวาง ความดัน อุณหภูมิ ปริมาตร

กฎของ BOYLE
ในป ค.ศ. 1662 Robert Boyle นักวิทยาศาสตร
ชาวอังกฤษคนพบวา ความดันของกาซจะเปน
ปฏิภาคผกผันกับปริมาตร กลาวคือถาอุณหภูมิ
ของกาซอุดมคติคงที่จะไดวา
1
v∝
P

55
Chapter 3: Property of Pure Substance

กฎของ CHARLES
J.Charles & J.Gay-Lussac ชาว
ฝรั่งเศษคนพบวา ที่ซึ่งความดันต่ํา
ปริมาตรของกาซจะเปนปฏิภาค
โดยตรงกับอุณหภูมิ
v ∝T

สมการสภาวะ
จากทั้งสองกรณีจะได
T
v∝
P
หรือ Pv ∝ T
ดังนั้น Pv = RT
R คือคา Gas Constant แลวแตชนิดของกาซ
T และ P ตองเปนคาสัมบูรณ

56
Chapter 3: Property of Pure Substance

คาคงที่สากลของกาซ
• คา R จะขึ้นอยูกับชนิดของกาซ
• คาคงทีส่ ากลของกาซทุกชนิดจะเทากัน
โดย Ru
R=
M
Ru = 8.314 kJ/(kmol.K)
M คือมวลโมเลกุล (molar mass หรือ molar weight) ใน
SI unit มีหนวยเปน kg/kmol

มวลโมเลกุล
• มวลโมเลกุลนี้หมายถึงมวลในหนวยกิโลกรัม
ของสารปริมาณ 1 kmol
• เชน N2 มวลโมเลกุล 28 หมายความวา N2
จํานวน 1 kmol มีมวล 28 kg
• อีกคาที่สําคัญคือ mole number, N [kmol]
• ถา m คือมวลของสารทั้งหมด จะได m = MN

57
Chapter 3: Property of Pure Substance

สมการสภาวะในรูปแบบอื่น
จาก V = mv จะได PV = mRT
mR = MNR จะได PV = NRuT
จาก V = N v จะได
Pv = Ru T

ไอน้ําเปนกาซอุดมคติหรือไม
• ไอน้ําก็เชนเดียวกับกาซอื่น คือถาหา
กวาความดันต่ําก็อาจพิจารณาวาเปน
กาซอุดมคติได
• โดยทั่วไปจะนิยมใชตารางไอน้ํา
มากกวา

58
Chapter 3: Property of Pure Substance

ความเปนกาซอุดมคติของไอน้ํา

Example and Problems

59

You might also like