You are on page 1of 3

สมาชิกในกลุ่ม

1.นางสาวพลอยวลิน มาลัยวรรณ์ เลขที่ 18 ชั้นม.6/3

2.นางสาวเบญญาภา จันทร์ บุญเป็ ง เลขที่ 32 ชั้นม.6/3

หัวข้ อที่จะศึกษา คือ ข้าวหมาก


วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการทำข้าวหมากได้อย่างถูกต้องตามวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น
2. เพื่อศึกษาปริ มาณความหวานและค่าความเป็ นกรด – ด่างในข้าวหมากที่ใช้ระยะเวลาในการหมัก
ที่แตกต่างกัน
3. เพื่อศึกษาประโยชน์ของข้าวหมาก สามารถนำไปทำปุ๋ ยหมักได้
วิธีการดำเนินการศึกษา
1. ศึกษาพันธุข์ า้ วเหนียวในท้องถิ่นที่สามารถนำมาทำเป็ นข้าวหมาก พันธุข์ า้ วเหนียวที่กลุ่มเราได้
เลือกมาทำเป็ นข้าวหมาก คือ ข้าวเหนียวสันป่ าตอง เพราะเป็ นข้าวเหนียวที่นิยมอย่างกว้างขวาง
ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคอีสาน จนกระทัง่ ประเทศลาว มีขนาดเมล็ดที่สวยงาม เมื่อนึ่งสุ ก
แล้วรับประทานอร่ อยและเป็ นข้าวเหนียวที่อยูใ่ นพื้นที่ของกลุ่มเรา
2. ศึกษาวิธีการทำข้าวหมากโดยสอบถามจากคนเฒ่าคนแก่หรื อผูท้ ี่เชี่ยวชาญการทำข้าวหมากจากพื้นที่
ในชุมชนที่กลุ่มเราอาศัยอยู่
3. ศึกษาวิธีวดั ปริ มาณความหวานและค่าความเป็ นกรด – ด่างในข้าวหมากจากในอินเทอร์เน็ตหรื อ
สอบถามจากคุณครู ในโรงเรี ยน

ขั้นตอนการทำข้ าวหมาก
วัสดุอุปกรณ์
1. ข้าวเหนียวสันป่ าตอง 5. ถาด
2. ลูกแป้ ง 6. ซึ้ ง
3. น้ำเปล่า 7. ตะแกรงร่ อน
4. หม้อ
วิธีการทำข้ าวหมาก
1. ต้มน้ำ 1 ลิตร ให้พอเดือด ใส่ ขา้ วเหนียวสันป่ าตอง 500 กรัม คนให้เข้ากัน จากนั้นต้มต่อจนน้ำเริ่ ม
แห้ง
2. นำข้าวเหนียวออกจากหม้อ แล้วนำไปนึ่งต่อในซึ้ งนาน 45 นาทีจนสุ ก
3. กระจายข้าวเหนียวใส่ ถาดตั้งทิ้งไว้ให้แห้งสนิท โรยลูกแป้ ง 10 กรัม จนทัว่ แล้วคลุกเคล้าให้เข้ากัน
4. ตกใส่ กระปุกบ่มนานประมาณ 3 วัน
การหาค่ าปริมาณความหวานในข้ าวหมาก
วัสดุอุปกรณ์
1. น้ำกลัน่
2. ตัวอย่างข้าวหมากที่หมักในระยะเวลาที่แตกต่างกัน ( 0 ,24, 48, 72 ชัว่ โมง )
3. เครื่ อง Brix Refractometer
วิธีการทดลอง
1. เจือจางตัวอย่างน้ำข้าวหมากต่อน้ำกลัน่ 1:1
2. ใช้น ้ำกลัน่ ปรับตั้งค่าเพื่อความแม่นยำโดยยกแผ่นเพลทขึ้นและหยดน้ำกลัน่ 2-3 หยดลงบนกระจก
ปริ ซึม จากนั้นยกแผ่รเพลทปิ ดลงโดยทำให้น ้ำกระจายทัว่ ผิวกระจกทั้งหมดและต้องไม่มีฟองอากาศ
ขึ้น
3. ยก Refractometer ขึ้นโดยหันไปในทิศทางที่มีแสงสว่างและมองเข้าไปที่กล้องส่ องจะเห็นแถบ
วงกลมพร้อมเส้นแบ่งขีดเรี ยงอยูต่ รงกลาง (ควรใช้แสงธรรมชาติในการส่ องอ่านค่าสเกล) จะพบว่า
เส้นเชื่อมระหว่างสี ฟ้าและสี ขาวจะอยูท่ ี่ระดับ 0
4. เช็ดน้ำกลัน่ ออกให้สะอาด ทำการหยดน้ำจากข้าวหมาก ที่ตอ้ งการทราบค่าบนแผ่นปริ ซึม ปิ ดด้วย
แผ่นปิ ด
5. แล้วส่ องมองผ่านช่องในที่มีแสง จะมองเห็นเป็ นแถบสี ที่อ่านค่าตัวเลขได้ ตามสเกลที่เครื่ องกำหนด
ไว้ มีหน่วยเป็ นองศาบริ กซ์
การหาค่ าความเป็ นกรด – ด่ างในข้ าวหมาก
วัสดุอุปกรณ์
1. pH Meter
2. บีกเกอร์
3. ตัวอย่างข้าวหมากที่หมักในระยะเวลาที่แตกต่างกัน ( 0 ,24, 48, 72 ชัว่ โมง )
วิธีการทดลอง
1. ปรับเทียบมาตรฐานกับสารละลายบัฟเฟอร์ PH 7
2. ใส่ ตวั อย่างน้ำข้าวหมากที่หมักในระยะเวลาที่แตกต่างกันลงในบีกเกอร์ อย่างละ 10 ml
3. ทำการวัดค่า pH เมื่อค่า pH หยุดนิ่งประมาณ 10 วินาที บันทึกค่าที่วดั ได้
ขั้นตอนการทำข้ าวหมาก
วัสดุอุปกรณ์
1 น้ำมะพร้าวสด 1 ลูก
2 น้ำข้าวหมาก 1 ช้อนโต๊ะ เอาแต่น ้ำไม่เอาเนื้อ
3 กากน้ำตาลหรื อน้ำตาลทรายแดง 1 ช้อนแกง แต่แนะนำให้เป็ นน้ำตาลทรายแดงดีกว่า ที่ใช้น ้ำตาลทรายแดง
เราใช้เพื่อพลางจุลินทรี ยเ์ พราะจุลินทรี ยไ์ ม่ชอบแสงสว่าง
4 นมเปรี้ ยว 1 ขวดเล็ก
5 ขวดน้ำพลาสติกเหลือใช้
วิธีการทำ
1 ขั้นตอนแรกด้วยนำน้ำมะพร้าสดจากลูก ใส่ ลงในชามผสม
2 ใส่ น ้ำข้าวหมากโดยเอาแต่น้ำไม่เอาเมล็ดข้าวนะคะ
3 ขั้นต่อมานำกากน้ำตาล ใส่ ลงในชามผสมตามลงไปแล้วคนจนส่ วนผสมเข้ากันเป็ นเนื้อเดียวทั้งหมด
4 จากนั้นใส่ นมเปรี้ ยว แล้วคนส่ วนผสมให้เข้ากันเป็ นเนื้อเดียวเลยค่ะ จะได้นน้ำที่มีสีน ้ำตาลเข้ม
5 เข้าสู่ ข้ นั ตอนการกรอกใส่ ในขวดพลาสติก โดยเว้นช่องว่างจากฝาขวดลงมาไว้ประมาณ 1 ฝ่ ามือ เพื่อที่จะ
ระบายก๊าซที่จะเกิดจากการหมักป้ องขันขวดบวมระหว่าหมักค่ะ แล้วหมุนฝาปิ ดไว้อย่าให้แน่น
6 ทำการหมักทิ้งไว้เป็ นเวลา 7 วัน และตั้งทิ้งไว้ในที่ห่างไกลแสงแดด ระหว่างหมักห้ามทำการเปิ ดขวดเด็ด
ขาด เมื่อครบเวลาก็นำมาใช้ได้

You might also like