You are on page 1of 97

ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน

ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน


้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ


เรอื่ งที่ 2 เรอื่ งที
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เร งที่ ่ 11 การถ่
การถ่ายโอนความร้
ายโอนความร้อนในชี
อนในชี ว ิตประจ
ว ิตประจ าวัน าวัน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
การถ่ายโอนความร้อน

• ความร้อนถ่ายโอนจากน้าหวาน น้าแข็ง

• ความร้อนถ่ายโอนจากซาลาเปา ถาดพลาสติก
อากาศ

• ความร้อนถ่ายโอนจากกองไฟ คน
อากาศ
สังเกตการนาความร้อนของแผ่นทองแดง
เมื่อให้ความร้อน • ชิน้ เทียนไขทีอ่ ยูใ่ กล้เปลวเทียนไข จะได้รบั ความร้อนก่อนและหลอมเหลวก่อน
แก่แผ่นทองแดง • ส่วนชิน้ ทีอ่ ยูห
่ ่างออกไป จะหลอมเหลวเร ียงกันไปตามลาดับ
ความร้อนต่อการเปลีย
่ นแปลงอนุภาคของแข็ง
อนุภาคเรยงชิ
ี ดติดกัน
สั่นอยูก
่ ับที่

เมื่อได้รบ
ั ความร้อน
มีพลังงานมากขึน ้

อนุภาคสั่นมากขึน

ชนกับอนุภาค
ข้างเคียง

อนุภาคติดกัน
สั่นไปด้วย

การถ่ายโอนความร้อน ทีเ่ ร ียกว่า อนุภาคของแข็งเป็นตัวกลาง


ถ่ายโอนความร้อน
เกิดการส่งผ่านความร้อนบร ิเวณทีม ่ อี ุณหภูมิสงู กว่า
อนุภาคสั่นอย่างต่อเนื่อง
ไปยังบรเวณที
ิ ม่ ีอณ
ุ ภูมิตา่ กว่า
นาความร้อนได้ดี

นาความร้อนได้แย่
สถานะของสสารกับการนาความร้อน

ของแข็ง นาความร้อนได้ดีกว่า ของเหลว

ของเหลว นาความร้อนได้ดีกว่า แก๊ส

สุญญากาศ ไม่ สามารถนาความร้อนได้เลย


เง ิน ทองแดง
สสารทีน
่ าความร้อนได้ดี
ตัวนาความร้อน

อลูมเิ นียม เหล็ก


พลาสติก ไม้
สสารทีน
่ าความร้อนได้ไม่ดี

ฉนวนความร้อน

อากาศ โฟม
การนาความร้อนในชีว ิตประจาวัน
ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ


เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เรอื่ งที่ 1 การถ่ายโอนความร้อนในชีว ิตประจาวัน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร

สสาร
คือ สิ่งทีอ
่ ยู่รอบตัวเรา มีมวล ต้องการทีอ
่ ยู่

พลังงาน
คือ สิ่งทีไ่ ม่มีมวล ไม่ต้องการทีอ
่ ยู่
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร

สสารในแต่ละสถานะ

ของแข็ง
รูปร่าง คงที่ ✓
ปร ิมาตร คงที่ ✓
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร

สสารในแต่ละสถานะ

ของเหลว
รูปร่าง ไม่คงที่ 
(เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ)
ปร ิมาตร คงที่ ✓
บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร

สสารในแต่ละสถานะ

แก๊ส
รูปร่าง ไม่คงที่ 
(เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ)
ปร ิมาตร ไม่คงที่ 
(เปลี่ยนแปลงตามภาชนะที่บรรจุ)
ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งทีอ่ ื่ 1งทีแบบจ


เร าลองอนุ
่ 1 แบบจ ภาคของสสารในแต่
าลองอนุ ละสถานะ
ภาคของสสารในแต่ ละสถานะ
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เรอื่ งที่ 1 การถ่ายโอนความร้อนในชีว ิตประจาวัน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ

แบบจาลองอนุภาคของของแข็ง
การจัดเร ียงอนุภาค เร ียงชิดติดกัน
แรงยึดเหนี่ยว
มาก
ระหว่างอนุภาค
การเคลื่อนที่
สั่นอยู่กับที่
ของแต่ละอนุภาค
เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ

แบบจาลองอนุภาคของของเหลว
การจัดเร ียงอนุภาค ห่างกันมากขึ้น
แรงยึดเหนี่ยว
น้อยกว่าของแข็ง
ระหว่างอนุภาค
เคลื่อนที่ได้
การเคลื่อนที่ แต่ไม่เป็นอิสระ
ของแต่ละอนุภาค เคลื่อนที่รอบๆ
อนุภาคใกล้เคียง
เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ

แบบจาลองอนุภาคของแก๊ส
การจัดเร ียงอนุภาค อยู่ห่างกันมาก
แรงยึดเหนี่ยว
น้อยมาก
ระหว่างอนุภาค
เคลื่อนที่อิสระ
การเคลื่อนที่
ทุกทิศทุกทาง
ของแต่ละอนุภาค
ทัว่ ทัง้ ภาชนะทีบ
่ รรจุ
เรอื่ งที่ 1 สรุปแบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

แบบจาลอง
อนุภาคของสสาร

อนุภาคอยู่ห่างกัน
ระยะห่าง อนุภาคอยู่ห่างกัน
อนุภาคอยู่ชด
ิ กัน มากกว่าของแข็ง
ระหว่างอนุภาค มากทีส
่ ุด
แต่น้อยกว่าแก๊ส
มีแรงยึดเหนี่ยว
มีแรงยึดเหนี่ยว มีแรงยึดเหนี่ยว
แรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค
ระหว่างอนุภาค ระหว่างอนุภาค
ระหว่างอนุภาค น้อยกว่าของแข็ง
มากทีส่ ุด น้อยทีส
่ ุด
แต่มากกว่าแก๊ส
อนุภาคเคลื่อนที่
การเคลือ
่ นที่ อนุภาค อนุภาคเคลื่อนทีร่ อบๆ
ได้อย่างอิสระ
ของอนุภาค สั่นอยู่กับที่ อนุภาคใกล้เคียง
ทุกทิศทาง
ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ


เรอื่ งที่ 2 เรอื่ งที
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เร งที่ ่ 11 การถ่
การถ่ายโอนความร้
ายโอนความร้อนในชี
อนในชี ว ิตประจ
ว ิตประจ าวัน าวัน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
การถ่ายโอนความร้อน

• ความร้อนถ่ายโอนจากน้าหวาน น้าแข็ง

• ความร้อนถ่ายโอนจากซาลาเปา ถาดพลาสติก
อากาศ

• ความร้อนถ่ายโอนจากกองไฟ คน
อากาศ
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
การพาความร้อน อนุภาคอุณภูมต
ิ า่ กว่า
เข้ามาแทนที่

พาความร้อนไปด้วย

อนุภาคลอยตัวขึน

ความหนาแน่นน้า
หมุนวนกันไป
บร ิเวณนัน
้ น้อยลง

อยู่ห่างกันมากขึน

อนุภาคเลือ
่ นทีเ่ ร็วขึน

พลังงานสูงขึน

รับความร้อน
อนุภาค
สถานะของสสารกับการพาความร้อน

ของเหลว สามารถพาความร้อนได้
แก๊ส สามารถพาความร้อนได้

ของแข็ง ไม่ สามารถพาความร้อนได้เลย


ตัวอย่างในชีว ิตประจาวัน
ตัวอย่างในชีว ิตประจาวัน
ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ


เรอื่ งทีอ
เร ่ ื่ 2งทีความร้
่ 2 ความร้
อนกัอบนกั บการเปลี
การเปลี ่ยนแปลงอุ
่ยนแปลงอุ ณหภูณมหภู มิของสสาร
ิของสสาร เรอื่ งที่ 1 การถ่ายโอนความร้อนในชีว ิตประจาวัน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

เกิดจาก และ ของอนุภาค

ไม่สามารถวัดได้โดยตรง
วัดระดับพลังงานความร้อนด้วยการวัด โดยใช้
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

ชนิดของเทอร์มอมิเตอร์
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

อุณหภูมิสูง ระดับพลังงานความร้อนสูง
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

อุณหภูมิต่า ระดับพลังงานความร้อนต่า
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

1. ปร ิมาณความร้อนทีส
่ สารได้รบ
ั มีผลหร ือไม่
1. ใส่น้า 60 cm3 ลงในบีกเกอร์ทงั้ 2 ใบ 3. ให้ความร้อนด้วยเทียน 1 เล่ม แก่บก
ี เกอร์ใบที่ 1

۞ วัดอุณหภูมข
ิ องน้าทุกๆ 30 ว ินาที
۞ จนครบ 3 นาที
۞ นาข้อมูลทีไ่ ด้ไปเขียนกราฟ

2. วัดอุณหภูมเิ รม
่ ิ ต้นของน้าในบีกเกอร์ใบที่ 1 ก่อนจะให้ความร้อน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
1. ใส่น้า 60 cm3 ลงในบีกเกอร์ทงั้ 2 ใบ 3. ให้ความร้อนด้วยเทียน 2 เล่ม แก่บก
ี เกอร์ใบที่ 2

۞ วัดอุณหภูมข
ิ องน้าทุกๆ 30 ว ินาที
۞ จนครบ 3 นาที
۞ นาข้อมูลทีไ่ ด้ไปเขียนกราฟ

2. วัดอุณหภูมเิ รม
่ ิ ต้นของน้าในบีกเกอร์ใบที่ 2 ก่อนจะให้ความร้อน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
1. ใส่น้า 75 cm3 และ 150 cm3 ลงในบีกเกอร์แต่ละใบ 3. ให้ความร้อนด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ แก่บก
ี เกอร์ใบที่ 1

۞ วัดอุณหภูมข
ิ องน้าทุกๆ 1 นาที
۞ จนครบ 5 นาที
۞ นาข้อมูลทีไ่ ด้ไปเขียนกราฟ

2. วัดอุณหภูมเิ รม
่ ิ ต้นของน้าในบีกเกอร์ใบที่ 1 ก่อนจะให้ความร้อน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
1. ใส่น้า 75 cm3 และ 150 cm3 ลงในบีกเกอร์แต่ละใบ 3. ให้ความร้อนด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ แก่บก
ี เกอร์ใบที่ 2

۞ วัดอุณหภูมข
ิ องน้าทุกๆ 1 นาที
۞ จนครบ 5 นาที
۞ นาข้อมูลทีไ่ ด้ไปเขียนกราฟ

2. วัดอุณหภูมเิ รม
่ ิ ต้นของน้าในบีกเกอร์ใบที่ 2 ก่อนจะให้ความร้อน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

3. ชนิดของสารมีผลหร ือไม่
1. ใส่น้าและกลีเซอรอล 75 g ลงในบีกเกอร์แต่ละใบ 3. ให้ความร้อนด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ แก่บก
ี เกอร์ใบที่ 1

۞ วัดอุณหภูมข
ิ องน้าทุกๆ 30 ว ินาที
۞ จนครบ 3 นาที
۞ นาข้อมูลทีไ่ ด้ไปเขียนกราฟ

2. วัดอุณหภูมเิ รม
่ ิ ต้นของน้าในบีกเกอร์ทงั้ สอง ก่อนจะให้ความร้อน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
1. ใส่น้าและกลีเซอรอล 75 g ลงในบีกเกอร์แต่ละใบ 3. ให้ความร้อนด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์ แก่บก
ี เกอร์ใบที่ 2

۞ วัดอุณหภูมข
ิ องน้าทุกๆ 30 ว ินาที
۞ จนครบ 3 นาที
۞ นาข้อมูลทีไ่ ด้ไปเขียนกราฟ

2. วัดอุณหภูมเิ รม
่ ิ ต้นของน้าในบีกเกอร์ทงั้ สอง ก่อนจะให้ความร้อน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

ปร ิมาณความร้อนมาก อุณหภูมิเพิ่มขึน
้ มาก มวลของสารมาก อุณหภูมิเพิ่มน้อย

สารต่างชนิดกัน
ได้รบ
ั ปร ิมาณความร้อนเท่ากัน
จะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
แตกต่างกัน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร

“ สารต่างชนิดกันได้รบ
ั ปร ิมาณความร้อนเท่ากันจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นแตกต่างกัน ”

ความร้อนจาเพาะของสาร
ความหมาย
ปร ิมาณความร้อนที่ทาให้สสารมวล 1 หน่วย
มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 หน่วย
หน่วย
แคลอร ี/กรัม องศาเซลเซียส
จูล/กรัม องศาเซลเซียส
ตัวอย่าง

ความร้อนจาเพาะของน้า = 1 แคลอร ี/กรัม องศาเซลเซียส

ถ้าต้องการให้ มีอุณหภูมเิ พิม


่ ขึน

1 องศาเซลเซียส
น้ามวล 1 กรัม

ต้องใช้ปร ิมาณความร้อน
1 แคลอร ี หร ือ 4.18 จูล
สารต่างชนิดกันจะมีความร้อนจาเพาะทีแ
่ ตกต่างกัน
เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ


เรอื่ งที่ 2 เรอื่ งที
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เร งที่ ่ 11 การถ่
การถ่ายโอนความร้
ายโอนความร้อนในชี
อนในชี ว ิตประจ
ว ิตประจ าวัน าวัน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
การถ่ายโอนความร้อน

• ความร้อนถ่ายโอนจากน้าหวาน น้าแข็ง

• ความร้อนถ่ายโอนจากซาลาเปา ถาดพลาสติก
อากาศ

• ความร้อนถ่ายโอนจากกองไฟ คน
อากาศ
การแผ่รงั สีความร้อน

۞ สสารที่มีพลังงานความร้อน

۞ แผ่รงั สีความร้อน

۞ ในรูปแบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

۞ เคลื่อนที่ได้โดยไม่อาศัยตัวกลาง
การแผ่รงั สีความร้อนเกิดขึน
้ กับสสารทุกชนิดทีม
่ ีความร้อน
การถ่ายโอนความร้อน

การพาความร้อน
อากาศร้อนจากกองไฟเคลือ
่ นทีพ
่ าความร้อนไปยังอาหาร

การแผ่รงั สีความร้อน
อากาศร้อนจากกองไฟไปยังอาหารได้โดยตรง

การนาความร้อน
ความร้อนจากตะแกรงโลหะไปยังอาหาร
การแผ่รงั สีความร้อน
การพาความร้อน
การพาความร้อน การพาความร้อน
ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ


เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เรอื่ งที่ 1 การถ่ายโอนความร้อนในชีว ิตประจาวัน
เรอื่ งที่ อ3
เร ื่ งทีความร้
่ 3 ความร้
อนกัอบนกั บการขยายตั
การขยายตั วหรวือหดตั
หร ือหดตั วของสสาร
วของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร
2. นาขวดแก้วไปวางในกระบะ

3. สังเกตลูกโป่ง

1. ครอบลูกโป่งบนปากขวดแก้ว
5.

6. สังเกตลูกโป่ง

4. ย้ายขวดแก้วไปกระบะน้าแข็ง
สสารในสถานะแก๊ส
อนุภาคอยูห
่ ่างกันมาก แก๊สขยายตัว
และมีปร ิมาตรมากขึน

เคลือ
่ นทีไ่ ด้อย่างอิสระ
ระยะห่างระหว่างอนุภาคมากขึน

ขนาดอนุภาคเท่าเดิม
เคลือ
่ นทีเ่ ร็วขึน

จานวนอนุภาคเท่าเดิม

พลังงานเพิม
่ ขึน

เมื่อได้รบ
ั ความร้อน
สสารในสถานะแก๊ส
อนุภาคอยูห
่ ่างกันมาก แก๊สหดตัว
และมีปร ิมาตรลดลง
เคลือ
่ นทีไ่ ด้อย่างอิสระ
ระยะห่างระหว่างอนุภาคลดลง
ขนาดอนุภาคเท่าเดิม
เคลือ
่ นทีช
่ า้ ลง
จานวนอนุภาคเท่าเดิม

พลังงานลดลง

เมื่อสูญเสียความร้อน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร
1 2

4 3
ให้ความร้อน

วางในน้าแข็ง
ของเหลวขยายตัว ของเหลวหดตัว
และมีปร ิมาตรมากขึน
้ และมีปร ิมาตรลดลง

สสารในสถานะของเหลว

ระยะห่างระหว่างอนุภาค

การเคลือ
่ นที่

พลังงาน

เพิ่ม ลด

เมื่อได้รบ
ั ความร้อน เมื่อสูญเสียความร้อน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร
1 2

4 3
ขยายตัว หดตัว
ปร ิมาตรเพิม
่ ขึน
้ ปร ิมาตรลดลง

สสารในสถานะของแข็ง
ระยะห่างระหว่างอนุภาค

การสั่น

พลังงาน

เพิ่ม ลด
เมื่อได้รบ
ั ความร้อน เมื่อสูญเสียความร้อน
ประโยชน์จากการขยายและหดตัวของสสาร
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร

สรุปความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร
รับความร้อน สูญเสียความร้อน

สสารขยายตัว สสารหดตัว

พลังงานสูงขึน
้ พลังงานลดลง

ระยะห่างมากขึน
้ ระยะห่างลดลง

ปร ิมาตรเพิม
่ ขึน
้ ปร ิมาตรลดลง

ขนาดอนุภาคและจานวนอนุภาคเท่าเดิม
ว ิชาว ิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน รหัสว ิชา ว 21102 ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1

หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อน

บทที่ 1 ความร้อนกับการเปลีย
่ นแปลงของสสาร บทที่ 2 การถ่ายโอนความร้อน

เรอื่ งที่ 1 แบบจาลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ


เรอื่ งที่ 2 ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร เรอื่ งที่ 1 การถ่ายโอนความร้อนในชีว ิตประจาวัน
เรอื่ งที่ 3 ความร้อนกับการขยายตัวหร ือหดตัวของสสาร เรอื่ งที่ 2 สมดุลความร้อน
เรอื่ งที่ อ4
เร ื่ งทีความร้ อนกัอบนกั
่ 4 ความร้ การเปลี ่ยนสถานะของสสาร
บการเปลี ่ยนสถานะของสสาร 
เรอื่ งที่ 4 ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร 

ผังการเปลีย
่ นสถานะของสสาร
1 2

4 3
ในทางตรงกันข้าม
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
ของเหลว

แรงยึดเหนี่ยวน้อยลง

อนุภาคอยูห
่ ่างกันมาก

เคลือ
่ นทีอ
่ อกจาก
ตาแหน่งเดิม

อนุภาคสั่นมากขึน

พลังงานเพิม
่ ขึน

ของแข็ง

พลังงานทัง้ หมดทีไ่ ด้รบ


ั หร ือสูญเสียจะใช้ในการเปลีย
่ นสถานะ
แบบจาลองอนุภาคของสสาร
แก๊ส

แรงยึดเหนี่ยวน้อยลง

อนุภาคอยูห
่ ่างกันมาก

เคลือ
่ นทีอ
่ อกห่าง
จากกันมากขึน ้

เคลือ
่ นทีเ่ ร็วขึน

พลังงานเพิม
่ ขึน

ของเหลว

พลังงานทัง้ หมดทีไ่ ด้รบ


ั หร ือสูญเสียจะใช้ในการเปลีย
่ นสถานะ
ที่

ต้องการ
ทาให้นา้ แข็งเปลีย
่ นเป็นน้าจนหมด
ที่

สูญเสียปร ิมาณความร้อน
สรุปเรอื่ งความร้อนกับการเปลีย
่ นสถานะของสสาร

You might also like