You are on page 1of 9

โครงสร้างรายว ิชาว ิทยาศาสตร์พื้นฐาน

ว 21102 ว ิทยาศาสตร์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเร ียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


ชัน
้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเร ียนที่ 2 เวลา 60 ชัว่ โมง จานวน 1.5 หน่วยกิต

เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
1 หน่วยที่ 5 สาระที่ 2 ว ิทยาศาสตร์กายภาพ
พลังงานความร้อน ว 2 . 1 เข้ า ใจส มบั ติ ของสสาร อ ง ค์ ป ร ะกอบของสสาร 8 4
บทที่ 1 ความร้อนกับการ ความสั มพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรง
เปลี่ยนแปลงของสสาร ยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าค หลั ก และธรรมชาติ ข องการ
เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลายและการ
เกิดปฏิกิร ิยาเคมี
ว 2.1 ม.1/9 • สสารทุกชนิดประกอบด้วย 4 2
อธิบายและเปร ียบเทียบการ อนุภาค
ุ โดยสสารชนิด
จัดเร ียงอนุภาค แรงยึด เดียวกันที่่มีสถานะของแข็ง
เหนี่ยวระหว่างอนุภาคและ ของเหลว แก๊ส จะมีการจัด
การเคลื่อนที่ของอนุภาค เร ียงอนุภาคแรงยึ
ุ ดเหนี่ยว
ของสสารชนิดเดียวกันใน ระหว่างอนุภาค
ุ การเคลื่อนที่่
สถานะของแข็ง ของเหลว ของอนุภาคแตกต่
ุ างกัน ซึง่ มี
และแก๊ส โดยใช้แบบจาลอง ผลต่อรูปร่างและปร ิมาตร
ของสสาร
• อนุภาคของของแข็
ุ งเร ียงชิด
กัน มีแรงยึดเหนีย
่ ว
่สุ
ระหว่างอนุภาคมากที
ุ ่ ด

อนุภาคสั่นอยู่กับที่ ทาให้มี
รูปร่างและปร ิมาตรคงที่่
• อนุภาคของของเหลวอยู่
ใกล้กัน มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาคน้อยกว่า
ของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส
อนุภาคเคลื่อนที่่ได้แต่ไม่เป็น
อิสระเท่าแก๊ส ทาให้มีรป
ู ร่าง
ไม่คงที่แต่ปร ิมาตรคงที่
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
• อนุภาคของแก๊
ุ สอยู่ห่างกัน
มาก มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาคน้อยที่สุ
่ ด อนุภาค
เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุก
ทิศทาง ทาให้มีรป ู ร่างและ

ปร ิมาตรไม่่คงที่
ว 2.1 ม.1/10 • ความร้อนมีผลต่อการ 4 2
อธิบายความสัมพันธ์ เปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อ
ระหว่างพลังงานความร้อน ให้ความร้อนแก่ของแข็ง
กับการเปลี่ยนสถานะของ อนุภาคของของแข็งจะมี
สสาร โดยใช้หลักฐานเชิง พลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
ประจักษ์และแบบจาลอง จนถึงระดับหนึ่ง ซึง่ ของแข็ง
จะใช้ความร้อนในการเปลี่ยน
สถานะเป็นของเหลว เร ียก
ความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยน
สถานะจากของแข็งเป็นของ
เหลว ความร้อนแฝงของการ
หลอมเหลวและอุณหภูมข
ิ ณะ
เปลี่ยนสถานะจะคงที่เร ียก

อุณหภูมินว่ี้ า จุดหลอมเหลว
• เมื่อให้ความร้อนแก่ของ
เหลว อนุภาคของของเหลว
จะมีพลังงานและอุณหภูมิ
เพิ่มขึ้นจนถึงระดับหนึ่ง ซึง่
ของเหลวจะใช้ความร้อนใน
การเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส
เร ียกความร้อนที่ใช้ในการ
เปลี่ยนและอุณหภูมข
ิ ณะ
เปลี่ยนสถานะจะคงที่ เร ียก

อุณหภูมินว่ี้ า จุดเดือด
• เมื่อทาให้อุณหภูมข
ิ องแก๊ส
ลดลงจนถึงระดับหนึง่ แก๊สจะ
เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
เร ียกอุณหภูมินวี้ า่ จุดควบ
แน่น ซึง่ มีอณ
ุ หภูมิเดียว
กับจุดเดือดของของเหลวนั้น
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
• เมื่อทาให้อุณหภูมข
ิ อง
ของเหลวลดลงจนถึงระดับ
หนึ่ง ของเหลวจะเปลีย
่ น
สถานะเป็นของแข็ง เร ียก

อุณหภูมิ นีว่้ า จุดเยือกแข็ง
ซึง่ มีอณ
ุ หภูมิเดียวกับจุด
หลอมเหลวของของแข็งนั้น
สาระที่ 2 ว ิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การ 25 21
เปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
สสารและพลังงาน พลังงานในชีว ิตประจาวัน ธรรมชาติของ
คลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
ว 2.3 ม.1/1 • เมื่อสสารได้รบ
ั หร ือสูญเสีย 4 3
ว ิเคราะห์ แปลความหมาย ความร้อนอาจทาให้สสาร
ข้อมูลและคานวณปร ิมาณ เปลี่ยนอุณหภูมิ
ความร้อนที่ทาให้สสาร เปลี่ยนสถานะ
เปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยน หร ือเปลี่ยนรูปร่าง
สถานะโดยใช้สมการ • ปร ิมาณความร้อนที่ทาให้
Q = mcΔt และ Q = mL สสารเปลี่ยนอุณหภูมิขึ้นกับ
ว 2.3 ม.1/2 มวลความร้อนจาเพาะและ 3 3
ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัด อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป
อุณหภูมิของสสาร • ปร ิมาณความร้อนที่ทาให้
สสารเปลี่ยนสถานะขึ้นกับ
มวลและความร้อนแฝงจา
เพาะ โดยขณะที่สสารเปลีย
่ น
สถานะ อุณหภูมิจะไม่
เปลี่ยนแปลง
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
ว 2.3 ม.1/3 • ความร้อนทาให้สสารขยาย 4 3
สร้างแบบจาลองที่อธิบาย ตัวหร ือหดตัวได้ เนือ
่ งจาก
การขยายตัวหร ือหดตัวของ เมื่อสสารได้รบ
ั ความร้อนจะ
สสารเนื่องจากได้รบ
ั หร ือ ทาให้อนุภาคเคลื่อนที่เร็วขึ้น
สูญเสียความร้อน ทาให้เกิดการขยายตัว แต่
ว 2.3 ม.1/4 เมื่อสสารคายความร้อนจะทา 3 3
ตระหนักถึงประโยชน์ของ ให้อนุภาคเคลื่อนที่ชา้ ลง ทา
ความรูข้ องการหดและขยาย ให้เกิดการหดตัว
ตัวของสสารเนื่องจาก • ความรูเ้ รอื่ งการหดและ
ความร้อนโดยว ิเคราะห์ ขยายตัวของสสารเนื่องจาก
สถานการณ์ ปัญหาและ ความร้อนนาไปใช้ประโยชน์
เสนอแนะว ิธีการนาความรู ้ ในด้านต่าง ๆ เช่น การสร้าง
มาแก้ปัญหาในชีว ิตประจา ถนน การสร้างรางรถไฟ
วัน การทาเทอร์มอมิเตอร์

หน่วยที่ 5 ว 2.3 ม.1/5 • ความร้อนถ่ายโอนจากสสาร 4 3
พลังงานความร้อน สร้างแบบจาลองที่อธิบาย ทีม ่ ีอุณหภูมส
ิ งู กว่าไปยังสสาร

บทที่ 2 การถ่ายโอน การถ่ายโอนความร้อนโดย ที่มี
่ อุณหภูมิต่ากว่าจนกระทั่ง
ความร้อน การนาความร้อน การพา อุณหภูมิของสสารทั้งสอง
ความร้อน การแผ่รงั สีความ เท่ากัน สภาพที่่สสารทั้งสอง
ร้อน มีอุณหภูมเิ ท่ากัน เร ียกว่า
สมดุลความร้อน
• เมื่อมีการถ่ายโอนความร้อน
จากสสารที่มีอุณหภูมต
ิ ่างกัน
จนเกิดสมดุลความร้อน
ความร้อนที่เพิ่มขึ้นของสสาร
หนึ่งจะเท่ากับความร้อนที่่
ลดลงของอีกสสารหนึง่ ซึง่
เป็นไปตามกฎการอนุรก
ั ษ์
พลังงาน
ว 2.3 ม.1/6 • การถ่ายโอนความร้อนมี 3 4 3
ว ิเคราะห์สถานการณ์การ แบบ คือ การนาความร้อน
ถ่ายโอนความร้อนและ การพาความร้อนและการแผ่
คานวณปร ิมาณความร้อนที่ รังสีความร้อน การนาความ
ถ่ายโอนระหว่างสสารจน ร้อนเป็นการถ่ายโอน
เกิดสมดุลความร้อน ความร้อนที่่อาศัยตัวกลาง
โดยใช้สมการ โดยที่ตัวกลางไม่เคลื่อนที่
Q สูญเสีย = Q ได้รบ
ั การพาความร้อนเป็นการถ่าย
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
ว 2.3 ม.1/7 โอนความร้อนที่อาศัย 3 3
ออกแบบ เลือกใช้และสร้าง ตัวกลางโดยที่ตัวกลาง
อุปกรณ์เพื่อแก้ปัญหาใน เคลื่อนที่ไปด้วย ส่วนการแผ่
ชีว ิตประจาวันโดยใช้ รังสีความร้อนเป็นการ
ความรูเ้ กี่ยวกับการถ่ายโอน ถ่ายโอนความร้อนที่ไม่ต้อง
ความร้อน อาศัยตัวกลาง
• ความรูเ้ กีย
่ วกับการถ่ายโอน
ความร้อนสามารถนาไปใช้
ประโยชน์ในชีว ิตประจาวันได้
เช่น การเลือกใช้วัสดุเพือ
่ นา
มาทาภาชนะบรรจุอาหารเพื่อ
เก็บความร้อนหร ือการ
ออกแบบระบบระบายความ
ร้อนในอาคาร
รวม 33 25
สอบกลางภาค 3 20

2 หน่วยที่ 6 สาระที่ 2 ว ิทยาศาสตร์กายภาพ
กระบวนการ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีว ิตประจาวัน 4 3
เปลี่ยนแปลง ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
ลมฟ้าอากาศ ของวัตถุ รวมทั้งนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศ ว 2.2 ม.1/1 • เมื่อวัตถุอยู่ในอากาศจะมี 4 3
รอบตัว สร้างแบบจาลองที่อธิบาย แรงที่อากาศกระทาต่อวัตถุ
ความสัมพันธ์ระหว่างความ ในทุกทิศทาง แรงที่อากาศ
ดันอากาศกับความสูงจาก กระทาต่อวัตถุขึ้นอยู่กับขนาด
พื้นโลก พื้นที่ของวัตถุนั้น แรงที่
อากาศกระทาตั้งฉากกับผิว
วัตถุต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่
เร ียกว่า ความดันอากาศ
• ความดันอากาศมี
ความสัมพันธ์กับความสูงจาก
พื้นโลก โดยบร ิเวณที่สูงจาก
พื้นโลกขึ้นไป อากาศเบาบาง
ลง มวลอากาศน้อยลง
ความดันอากาศก็จะลดลง
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
สาระที่ 3 ว ิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของ 23 22
ระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิว
โลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
และภูมอ
ิ ากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม
ว 3.2 ม.1/1 • โลกมีบรรยากาศห่อหุ้ม 4 3
สร้างแบบจาลองที่อธิบาย นักว ิทยาศาสตร์ใช้สมบัติและ
การแบ่งชัน
้ บรรยากาศและ องค์ประกอบของบรรยากาศ
เปร ียบเทียบประโยชน์ ในการแบ่งบรรยากาศของ
ของบรรยากาศแต่ละชัน
้ โลกออกเป็นชัน
้ ซึง่ แบ่งได้
หลายรูปแบบตามเกณฑ์ที่
แตกต่างกัน โดยทั่วไป
นักว ิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตาม
ความสูงแบ่งบรรยากาศได้
เป็น 5 ชัน
้ ได้แก่ ชัน
้ โทรโพส
เฟียร์ ชัน
้ สตราโตสเฟียร์ ชัน

มีโซสเฟียร์ ชัน
้ เทอร์โมส
เฟียร์ และชัน
้ เอกโซสเฟียร์
• บรรยากาศแต่ละชัน
้ มี
ประโยชน์ต่อสิง่ มีชวี ิต
แตกต่างกัน โดยชัน
้ โทรโพส
เฟียร์มีปรากฏการณ์ลมฟ้า
อากาศที่่สาคัญต่อการดารง
ชีว ิตของสิ่งมีชวี ิต ชัน
้ สตรา
โตสเฟียร์ชว่ ยดูดกลืนรังสี
อัลตราไวโอเลตจากดวง
อาทิตย์ไม่ให้มายังโลกมาก
เกินไป ชัน
้ มีโซสเฟียร์ชว่ ย
ชะลอวัตถุนอกโลกที่ผ่่ านเข้า
มาให้เกิดการเผาไหม้กลาย
เป็นวัตถุขนาดเล็ก ลดโอกาส
ที่จะท
่ าความเสียหายแก่ส่ิง
มีชวี ิตบนโลก ชัน
้ เทอร์โมส
เฟียร์ สามารถสะท้อนคลื่น
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
ว ิทยุและชัน
้ เอกโซสเฟียร์
เหมาะสาหรับการโคจรของ
ดาวเทียมรอบโลกในระดับต่า

ว 3.2 ม.1/2 • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะ 3 3


อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการ ของอากาศในเวลาหนึง่ ของ
เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ พื้นที่หนึ่งที่มีการ
ของลมฟ้าอากาศจากข้อมูล เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ที่รวบรวมได้ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบลมฟ้า
อากาศ ได้แก่ อุณหภูมิ
อากาศ ความกดอากาศ ลม
ความชืน
้ เมฆและหยาดน้า
ฟ้า โดยหยาดน้าฟ้าที่พบบ่อย
ในประเทศไทย ได้แก่ ฝน
องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้น
อยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น
ปร ิมาณรังสีจากดวงอาทิตย์
และลักษณะพื้นผิวโลกส่งผล
ต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิ
อากาศและปร ิมาณไอน้า
ส่งผลต่อความชืน
้ ความกด
อากาศส่งผลต่อลม ความชืน

และลมส่งผลต่อเมฆ

หน่วยที่ 6 ว 3.2 ม.1/3 • พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจาก 4 3
กระบวนการ เปร ียบเทียบกระบวนการ การที่อากาศที่มีอุณหภูมิและ
เปลี่ยนแปลง เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและ ความชืน
้ สูงเคลือ
่ นที่ขึ้นสู่
ลมฟ้าอากาศ พายุหมุนเขตร้อนและผลที่ ระดับความสูงที่มีอุณหภูมิต่า

บทที่ 2 มนุษย์และการ มีต่อสิ่งมีชวี ิตและ ลงจนกระทั่งไอน้าในอากาศ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้า สิ่งแวดล้อม รวมทั้งนาเสนอ เกิดการควบแน่นเป็นละออง
อากาศ แนวทางการปฏิบัติตน น้าและเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆ
ให้เหมาะสมและปลอดภัย ขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนอง
ทาให้เกิดฝนตกหนัก ลม
กรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผ่า
ซึง่ อาจก่อให้เกิดอันตราย
ต่อชีว ิตและทรัพย์สิน
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
• พายุหมุนเขตร้อนเกิดเหนือ
่่ ามี
มหาสมุทรหร ือทะเลทีน้
อุณหภูมิสูงตั้งแต่ 26 - 27
องศาเซลเซียสขึ้นไป ทาให้
อากาศที่่มีอุณหภูมแ
ิ ละ
ความชืน
้ สูงบร ิเวณนั้น
เคลื่อนที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
เป็นบร ิเวณกว้าง อากาศจาก
บร ิเวณอื่นเคลื่อนเข้ามา
แทนที่และพัดเว ียนเข้าหา
ศูนย์กลางของพายุ ยิ่งใกล้
ศูนย์กลาง อากาศจะเคลื่อนที่
พัดเว ียนเกือบเป็นวงกลม
และมีอัตราเร็วสูงที่สุด พายุ
หมุนเขตร้อนทาให้เกิดคลื่น
พายุซด
ั ฝั่ง ฝนตกหนัก ซึง่
อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ
ชีว ิตและทรัพย์สน
ิ จึงควร
ปฏิบัติตนให้ปลอดภัยโดย
ติดตามข่าวสารการพยากรณ์
อากาศ และไม่เข้าไปอยู่ใน
พื้นที่ที่เสี่ยงภัย
ว 3.2 ม.1/4 • การพยากรณ์อากาศเป็น 3 3
อธิบายการพยากรณ์อากาศ การคาดการณ์ลมฟ้าอากาศที่
และพยากรณ์อากาศอย่าง จะเกิดขึ้นในอนาคตโดยมีการ
ง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ตรวจวัดองค์ประกอบลมฟ้า
ว 3.2 ม.1/5 อากาศ การสื่อสารแลก 3 3
ตระหนักถึงคุณค่าของการ เปลี่ยนข้อมูลองค์ประกอบลม
พยากรณ์อากาศ โดยนา ฟ้าอากาศระหว่างพื้นทีก
่ าร
เสนอแนวทางการปฏิบัติ ว ิเคราะห์ข้อมูลและสร้างคา
ตนและการใช้ประโยชน์จาก พยากรณ์อากาศ
คาพยากรณ์อากาศ • การพยากรณ์อากาศ
สามารถนามาใช้ประโยชน์
ด้านต่าง ๆ เช่น การใช้ชวี ิต
ประจาวัน การคมนาคม
การเกษตร การป้องกันและ
เวลา น้าหนัก
ที่ ชือ
่ หน่วยการเร ียนรู ้ มาตรฐานการเร ียนรู/้ ตัวชีว้ ัด สาระสาคัญ
(ชัว่ โมง) คะแนน
เฝ้าระวังภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ

ว 3.2 ม.1/6 • ภูมิอากาศโลกเกิดการ 3 3


อธิบายสถานการณ์และ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
ผลกระทบการเปลี่ยนแปลง โดยปัจจัยทางธรรมชาติแต่
ภูมิอากาศโลกจากข้อมูลที่ ปัจจุบน
ั การเปลี่ยนแปลงภูมิ
รวบรวมได้ อากาศเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
ว 3.2 ม.1/7 เนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ 3 4
ตระหนักถึงผลกระทบของ ในการปลดปล่อยแก๊สเร ือน
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ กระจกสู่บรรยากาศ แก๊ส
โลกโดยนาเสนอแนวทาง เร ือนกระจกที่ถก
ู ปลดปล่อย
การปฏิบัติตนภายใต้การ มากที่สุด ได้แก่ แก๊สคาร์
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก บอนไดออกไซด์ซงึ่ หมุนเว ียน
อยู่ในวัฏจักรคาร์บอน
• การเปลี่ยนแปลงภูมอ
ิ ากาศ
โลกก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สิ่งมีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม
เช่น การหลอมเหลวของ
น้าแข็งขั้วโลก การเพิ่มขึ้น
ของระดับทะเล การเปลี่ยน
แปลงวัฏจักรน้า การเกิดโรค
อุบต
ั ิใหม่และอุบัติซ้าและการ
เกิดภัยพิบต
ั ิทางธรรมชาติที่
รุนแรงขึ้น มนุษย์จงึ ควร
เร ียนรูแ
้ นวทางการปฏิบต
ั ิตน
ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว
ทัง้ แนวทางการปฏิบต
ั ิตนให้
เหมาะสมและแนวทางการ
ลดกิจกรรมที่่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมอ
ิ ากาศโลก
รวม 27 25
สอบปลายภาค 3 30
รวมทั้งสิ้ น 60 100

You might also like