You are on page 1of 7

ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องรายวิชา

ระหว่างมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้

รายวิชา ฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา ว31202 จำนวน 60 ชัว่ โมง


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง


มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ 1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุโมเมนต์ K: 1. บอกความหมายและยกตัวอย่างของ • สมดุลกลเป็นสภาพที่วตั ถุรักษาสภาพการ
ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่ และผลรวม ของโมเมนต์ที่มีต่อการ สมดุลกล สมดุลสถิต และสมดุลจลน์ เคลื่อนที่ ให้คงเดิมคือหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่
แนวตรง แรงและ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน หมุน แรงคู่ควบและผล ของแรงคู่ควบ K: 2. บอกความหมายของสมดุลต่อการเลื่อนที่ ด้วยความเร็ว คงตัวหรือหมุนด้วยความเร็ว
กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน ที่มีต่อสมดุลของวัตถุ เขียน แผนภาพ และสมดุลต่อการหมุน เชิงมุมคงตัว
สมดุลกลของวัตถุงาน และกฎการอนุรักษ์ ของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระเมื่อวัตถุ A: 3. อภิปรายเพื่อสรุปเงื่อนไขที่ทำให้วัตถุอยู่ • วัตถุจะสมดุลต่อการเลื่อนที่คือหยุดนิ่งหรือ
พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์ อยู่ในสมดุลกล และคำนวณปริมาณ ในสมดุลต่อการเลื่อนที่และอยู่นิ่งเมื่อมีแรงสอง เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวเมื่อแรงลัพธ์ที่
โมเมนตัม การเคลื่อนที่ แนวโค้ง รวมทั้งนำ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ ทดลองและ แรงกระทำต่อวัตถุ กระทำ ต่อวัตถุเป็นศูนย์เขียนแทนได้ด้วย
ความรู้ไปใช้ประโยชน์ อธิบายสมดุล ของแรงสามแรง P: 4. ทดลอง วิเคราะห์และอภิปรายเพื่อสรุป สมการ
เงื่อนไขของแรงสามแรงที่กระทำต่อวัตถุแล้วทำ
ให้วัตถุ อยู่ในสมดุลต่อการเลื่อนที่และอยู่นิ่ง
P: 5. เขียนแผนภาพวัตถุอิสระ วิเคราะห์และ • วัตถุจะสมดุลต่อการหมุนคือไม่หมุนหรือ
คำนวณปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง เมื่อมีแรง หมุนด้วย ความเร็วเชิงมุมคงตัวเมื่อผลรวม
กระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุอยู่ในสมดุลต่อการ ของโมเมนต์ที่ กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์เขียน
เลื่อนที่และอยู่นิ่ง โดยใช้วิธีการแยกแรง แทนได้ด้วยสมการ โดยโมเมนต์คำนวณได้
K: 6. บอกความหมายและคำนวณโมเมนต์ของ
แรง
A: 7. อภิปรายเพื่อสรุปเงื่อนไขที่ทำให้วัตถุอยู่ จากสมการ
ในสมดุลต่อการหมุน • เมื่อมีแรงคู่ควบกระทำต่อวัตถุ แรงลัพธ์จะ
P: 8. เขียนแผนภาพวัตถุอิสระ วิเคราะห์และ เท่ากับศูนย์ ทำให้วตั ถุสมดุลต่อการเลื่อนที่
คำนวณปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องเมื่อวัตถุอยู่ แต่ไม่สมดุลต่อการหมุน
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ในสมดุลต่อการหมุน • การเขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อ
K: 9. บอกความหมายของแรงคู่ควบและ วัตถุอิสระ สามารถนำมาใช้ในการพิจารณา
ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อมีแรงคู่ควบ แรงลัพธ์และผลรวมของโมเมนต์ที่กระทำต่อ
หนึ่งคู่กระทำต่อวัตถุ วัตถุเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล
2. สังเกตและอธิบายสภาพการ K: 1. บอกความหมายของศูนย์กลางมวลและ • เมื่อออกแรงกระทำต่อวัตถุที่วางบนพื้นที่
เคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทำต่อ ศูนย์ถ่วงของวัตถุ ไม่มีแรงเสียดทานในแนวระดับ ถ้าแนวแรง
วัตถุผ่านศูนย์กลางมวลของวัตถุและผล P: 2. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของ นั้นกระทำผ่านศูนย์กลางมวลของวัตถุ วัตถุ
ของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของวัตถุ วัตถุ เมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุผ่านศูนย์กลาง จะเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่โดยไม่หมุน
มวล ของวัตถุ • วัตถุที่อยู่ในสนามโน้มถ่วงสม่ำเสมอ
P: 3. สังเกตและอภิปรายผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อ ศูนย์กลางมวลและศูนย์ถ่วงอยู่ที่ตำแหน่ง
เสถียรภาพของวัตถุ เดียวกัน ศูนย์ถ่วงของวัตถุมีผลต่อ
K: 4. นำความเข้าใจเกี่ยวกับศูนย์ถ่วงของวัตถุ เสถียรภาพของวัตถุ
ไปอธิบายเสถียรภาพของวัตถุต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจำวัน
3. วิเคราะห์และคำนวณงานของแรง K: 1. บอกความหมายของงานในวิชาฟิสิกส์ • งานของแรงที่กระทำต่อวัตถุหาได้จากผล
คงตัว จากสมการและพืน้ ที่ใต้กราฟ K: 2. วิเคราะห์และคำนวณงานของแรงคงตัว คูณของขนาดของแรงและขนาดของการ
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับตำแหน่ง จากสมการและพื้นทีใ่ ต้กราฟระหว่างแรงกับ กระจัดกับโคไซน์ของมุมระหว่างแรงกับการ
รวมทั้งอธิบาย และคำนวณกำลังเฉลี่ย ตำแหน่ง กระจัด ตามสมการ
K: 3. บอกความหมายของงานที่มีค่าเป็นบวก หรือหางานได้จากพื้นทีใ่ ต้กราฟระหว่างแรง
เป็นลบ หรือเป็นศูนย์ ในแนวการเคลื่อนที่ตำแหน่ง โดยแรงที่
K: 4. วิเคราะห์และคำ นวณงานของแรงไม่คง กระทำอาจเป็นแรงคงตัวหรือไม่คงตัวก็ได้
ตัวจากพื้นทีใ่ ต้กราฟระหว่างแรงกับตำแหน่ง • งานที่ทำได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เรียกว่า
K: 5. บอกความหมายของกำลังและกำลังเฉลี่ย กำลังเฉลี่ย ดังสมการ
K: 6. คำนวณกำลังเฉลี่ย
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ K: 1. บอกความหมายและคำนวณพลังงานจลน์ • พลังงานเป็นความสามารถในการทำงาน
พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหา P: 2. ทดลองเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง • พลังงานจลน์เป็นพลังงานของวัตถุที่กำลัง
ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงาน งานของแรงลัพธ์กับพลังงานจลน์ เคลื่อนที่ คำนวณได้จากสมการ
จลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับ K: 3. อธิบายและประยุกต์ใช้ทฤษฎีบทงาน -
พลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ พลังงานจลน์ในการแก้ปัญหา
• พลังงานศักย์เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับ
ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับ K: 4. บอกความหมายและคำนวณพลังงานศักย์
ตำแหน่งหรือรูปร่างของวัตถุ แบ่งออกเป็น
ระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ โน้มถ่วง
พลังงานศักย์โน้มถ่วง คำนวณได้จากสมการ
ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น P: 5. ทดลองเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง งานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง
งานของแรงลัพธ์และพลังงานจลน์ K: 6. บอกความหมายและคำนวณพลังงานศักย์ และพลังงานศักย์ยืดหยุน่ คำนวณได้จาก
และคำนวณงานที่เกิดขึ้นจากแรงลัพธ์ ยืดหยุ่น สมการ
P: 7. ทดลองเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืด • พลังงานกลเป็นผลรวมของพลังงานจลน์
ออก และความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงาน และพลังงานศักย์ตามสมการ
ศักย์ยืดหยุ่น
K: 8. บอกความหมายและคำนวณพลังงานกล • แรงที่ทำให้เกิดงานโดยงานของแรงนั้นไม่
ขึ้นกับ เส้นทางการเคลื่อนที่ เช่น แรงโน้ม
ถ่วงและ แรงสปริง เรียกว่า แรงอนุรักษ์
• งานและพลังงานมีความสัมพันธ์กัน โดย
งานของ แรงลัพธ์เท่ากับพลังงานจลน์ของ
วัตถุที่เปลี่ยนไป ตามทฤษฎีบทงาน-พลังงาน
จลน์เขียนแทนได้ ด้วยสมการ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
5. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล K: 1. บอกความหมายของแรงอนุรักษ์ • ถ้างานที่เกิดขึ้นกับวัตถุเป็นงานเนื่องจาก
รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณปริมาณ K: 2. จำแนกแรงอนุรักษ์กับแรงไม่อนุรักษ์ แรง อนุรักษ์เท่านั้น พลังงานกลของวัตถุจะ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของ K: 3. วิเคราะห์และอภิปรายเพื่อสรุปเกี่ยวกับ คงตัว ซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรกั ษ์พลังงาน
วัตถุในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎ กฎการอนุรักษ์พลังงานกล กล เขียน แทนได้ด้วยสมการ
การอนุรักษ์พลังงานกล K: 4. จำแนกสถานการณ์ที่มีการอนุรักษ์
พลังงานกลกับสถานการณ์ที่ไม่มีการอนุรักษ์ โดยที่พลังงานศักย์อาจเปลี่ยนเป็นพลังงาน
พลังงานกล จลน์
K: 5. ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องแรงอนุรักษ์และ
• กฎการอนุรักษ์พลังงานกลใช้วิเคราะห์การ
กฎการอนุรักษ์พลังงานกลในแก้ปัญหา เคลื่อนที่ ต่าง ๆ เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุ
ที่ติดสปริง การเคลื่อนทีภ่ ายใต้สนามโน้ม
ถ่วงของโลก
6. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพ K: 1. บอกความหมายและคำนวณ • การทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย ได้แก่
และการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกล ประสิทธิภาพของเครื่องกลอย่างง่าย คาน รอก พื้นเอียงลิ่ม สกรูและล้อกับเพลา
อย่างง่ายบางชนิด โดยใช้ความรู้เรื่อง K: 2. อธิบายการทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย ใช้หลักของงาน และสมดุลกลประกอบการ
งานและสมดุลกล รวมทัง้ คำนวณ โดยใช้ความรู้เรือ่ งงานและสมดุลกล พิจารณาประสิทธิภาพ และการได้เปรียบ
ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกล K: 3. บอกความหมายและคำนวณการ เชิงกลของเครื่องกลอย่างง่าย ประสิทธิภาพ
ได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่าย คำนวณได้จากสมการ

การได้เปรียบเชิงกลคำนวณได้จากสมการ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
7. อธิบาย และคำนวณโมเมนตัมของ K: 1. บอกความหมายของโมเมนตัม • วัตถุที่เคลื่อนที่จะมีโมเมนตัมซึ่งเป็น
วัตถุ และการดลจากสมการและพื้นที่ P: 2. คำนวณโมเมนตัมของวัตถุ ปริมาณ เวกเตอร์มีค่าเท่ากับผลคูณระหว่าง
ใต้กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์ K: 3. วิเคราะห์อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับ มวล และความเร็วของวัตถุดังสมการ
กับเวลา รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเปลี่ยน
ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม โมเมนตัม • เมื่อมีแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุจะทำให้
K: 4. ประยุกต์ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับ โมเมนตัม ของวัตถุเปลี่ยนไป โดยแรงลัพธ์
การเปลี่ยนโมเมนตัมในการแก้ปัญหา เท่ากับอัตรา การเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุ
K: 5. บอกความหมายของแรงดลและการดล • แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในเวลาสั้น ๆ
K: 6. คำนวณการดลจากสมการและพื้นทีใ่ ต้ เรียกว่าแรงดล โดยผลคูณของแรงดลกับ
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กับเวลา 7. เวลา เรียกว่า การดล ตามสมการ
วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม
K: 8. ประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับโมเมนตัมของ ซึ่งการดลอาจหาได้จากพื้นที่ใต้กราฟ
วัตถุการดล และแรงดลในการแก้ปัญหา ระหว่าง แรงดลกับเวลา
8. ทดลอง อธิบาย และคำนวณ K: 1. วิเคราะห์อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับกฎ • ในการชนกันของวัตถุและการดีดตัวออก
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของ การอนุรักษ์โมเมนตัม จากกัน ของวัตถุในหนึ่งมิติเมื่อไม่มีแรง
วัตถุในหนึ่งมิติ ทั้งแบบยืดหยุ่น K: 2. ประยุกต์ใช้กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมใน ภายนอกมา กระทำ โมเมนตัมของระบบมี
ไม่ยืดหยุ่น และการดีดตัวแยกจากกัน การแก้ปัญหา ค่าคงตัวซึ่งเป็นไป ตามกฎการอนุรักษ์
ในหนึ่งมิติซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ P: 3. ทดลองการชนของวัตถุในหนึ่งมิติเพื่อ โมเมนตัม เขียนแทนได้ด้วย สมการ
โมเมนตัม อธิบายการชนแบบยืดหยุ่นและการชนแบบไม่
ยืดหยุ่น โดย เป็นโมเมนตัมของระบบก่อนชน
P: 4. ทดลองการดีดตัวแยกจากกันของวัตถุเพื่อ
และ เป็นโมเมนตัมของระบบหลังชน
สรุปเกี่ยวกับโมเมนตัมและพลังงานที่เกี่ยวข้อง
• ในการชนกันของวัตถุพลังงานจลน์ของ
K: 5. ประยุกต์ใช้ความเข้าใจเกี่ยวกับการชน
ระบบ อาจคงตัวหรือไม่คงตัวก็ได้การชนที่
และการดีดตัวแยกจากกันในการแก้ปัญหา
พลังงานจลน์ ของระบบคงตัวเป็นการชน
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
แบบยืดหยุ่น ส่วนการชน ที่พลังงานจลน์
ของระบบไม่คงตัวเป็นการชน แบบไม่
ยืดหยุ่น
9. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณ P: 1. ทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เพื่อ • การเคลื่อนที่แนวโค้งพาราโบลาภายใต้
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ หาความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดในแนว สนาม โน้มถ่วง โดยไม่คดิ แรงต้านของ
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลอง ระดับกับการกระจัดในแนวดิ่ง อากาศเป็นการ เคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ K: 2. อธิบายหลักการของการเคลื่อนที่แบบ วัตถุมีการเปลี่ยน ตำแหน่งในแนวดิ่งและ
โพรเจกไทล์ แนวระดับพร้อมกัน และเป็นอิสระต่อกัน
K: 3. นำหลักการของการเคลื่อนที่แบบโพรเจก สำหรับการเคลื่อนที่ ในแนวดิ่งเป็นการ
ไทล์ไปคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ เคลื่อนที่ที่มีแรงโน้มถ่วงกระทำ จึงมี
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ความเร็วไม่คงตัว ปริมาณต่างๆ มี
ความสัมพันธ์ ตามสมการ

ส่วนการเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีแรง
กระทำจึงมี ความเร็วคงตัว ตำแหน่ง
ความเร็ว และเวลา มี ความสัมพันธ์ตาม
สมการ
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง
10. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ P: 4. ทดลองการเคลื่อนที่แบบวงกลมเพื่อ • วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือส่วนของ
ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการ ศึกษาความสัมพันธ์เกี่ยวกับคาบ แรงสู่ วงกลม เรียกว่า วัตถุนั้นมีการเคลื่อนที่แบบ
เคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็ว ศูนย์กลาง รัศมีของ การเคลื่อนที่แบบวงกลม วงกลม ซึ่งมี แรงลัพธ์ทกี่ ระทำกับวัตถุในทิศ
เชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการ K: 5. อธิบายหลักการของการเคลื่อนที่แบบ เข้าสู่ศูนย์กลาง เรียกว่า แรงสู่ศูนย์กลาง ทำ
เคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ วงกลมที่เกี่ยวข้องกับแรงสู่ศูนย์กลาง ความเร่ง ให้เกิดความเร่ง สู่ศูนย์กลางที่มีขนาด
รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่ สู่ศูนย์กลาง และความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว สัมพันธ์กับรัศมีของการ เคลือ่ นที่และ
เกี่ยวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้การ เชิงเส้นกับอัตราเร็วเชิงมุม อัตราเร็วเชิงเส้นของวัตถุ ซึ่งแรงสู่ศูนย์กลาง
เคลื่อนที่แบบวงกลม ในการอธิบาย K: 6. หาแรงลัพธ์ทที่ ำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง คำนวณได้จากสมการ
การโคจรของดาวเทียม ซึ่งทำให้เกิดการเคลื่อนทีแ่ บบวงกลม
K: 7. นำหลักการของการเคลื่อนที่แบบวงกลม
ไปคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ นอกจากนี้การเคลื่อนที่แบบวงกลมยัง
เคลื่อนที่แบบวงกลม สามารถ อธิบายได้ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม ซึ่งมี
K: 8. นำหลักของการเคลื่อนที่แบบวงกลมไป ความสัมพันธ์ กับอัตราเร็วเชิงเส้นตาม
คำนวณปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการ สมการ และ แรงสู่ศูนย์กลางมี
เคลื่อนที่ของรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์บน ความสัมพันธ์กับอัตราเร็วเชิงมุม ตาม
ถนนโค้ง สมการ
K: 9. ประยุกต์ใช้ความรูก้ ารเคลื่อนที่แบบ • ดาวเทียมที่โคจรในแนววงกลมรอบโลกมี
วงกลมในการอธิบายและคำนวณการโคจรของ แรงดึงดูด ที่โลกกระทำต่อดาวเทียมเป็นแรง
ดาวเทียม สู่ศูนย์กลาง ดาวเทียมทีม่ ีวงโคจรค้างฟ้าใน
ระนาบของ เส้นศูนย์สูตรมีคาบการโคจร
เท่ากับคาบการหมุน รอบตัวเองของโลก
หรือมีอัตราเร็วเชิงมุมเท่ากับ อัตราเร็ว
เชิงมุมของตำแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทียม จึง
อยู่ตรงกับตำแหน่งที่กำหนดไว้บนพื้นโลก
ตลอดเวลา

You might also like