You are on page 1of 79

การเคลื่ อ นที่ แ ละแรง

ผู้สอน ณัฐวุฒิ ขยันขาย (ครูฟลุ๊ค)


ตัวอย่างการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในลักษณะต่าง ๆ
ตำแหน่งอ้ำงอิง
(reference point)
เป็นตำแหน่งที่ใช้เปรียบเทียบว่ำวัตถุนั้นอยู่ห่ำงจำกตำแหน่งอ้ำงอิงไปทำงทิศใด
กิจกรรมที่ 4.2 ระยะทำงและระยะห่ำงระหว่ำงสองตำแหน่งแตกต่ำงกัน
อย่ำงไร

จุดประสงค์ 1. สังเกตและอธิบำยควำมแตกต่ำงของระยะทำงของ
กำรเคลื่อนที่และระยะห่ำงระหว่ำงสองตำแหน่ง
2. วัดและคำนวณระยะทำงของกำรเคลื่อนที่และ
ระยะห่ำงระหว่ำงสองตำแหน่ง
3. เขียนลูกศรแสดงระยะห่ำงและทิศทำงระหว่ำงสอง
ตำแหน่ง
กำหนดให้ 1 cm ในแผนที่ มีค่ำเท่ำกับ 100 m
ระยะทาง (distance) & การกระจัด (displacement)
ระยะทาง (distance) : (𝑠) หมายถึง ความยาวตำมเส้นทำงที่วัตถุเคลื่อนที่ไปได้ทั้งหมด
หรือ ระยะจริงที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ เป็นปริมาณ สเกลำร์ (scalar) มีค่าเป็นบวกเสมอ หน่วยเป็น
เมตร (m)
การกระจัด (displacement) : (𝑠) റ หมายถึง
ความยาวที่วัดได้ในแนวเส้นตรงจากตาแหน่งเริ่มต้นไป
ยังตาแหน่งสุดท้าย ไม่ขึ้นกับเส้นทางการเคลื่อนที่ หำก
วัตถุเคลื่อนที่ไปแล้วกลับมำที่ตำแหน่งเริ่มต้น แสดง
ว่ำ ระยะกระจัดเป็นศูนย์ เป็นปริมาณ เวกเตอร์
(vector) มีหน่วยเป็น เมตร (m)
ระยะทำงมีค่ำมำกกว่ำหรือเท่ำกับขนำดของกำรกระจัดเสมอ
จริงหรือไม่ เพรำะเหตุใด ?
กิตติขบั รถจากบ้านไปทางทิศตะวันออกเป็นระยะทาง 300 เมตร ไปร้านขายของ จากนั้นขับรถไป
ตัวอย่างที่ 1
ในทิศตรงข้ามอีก 700 เมตร จนถึงบ้านเพือ่ น จงหาระยะทางและการกระจัดของกิตติจากบ้านไป
ยังบ้านเพือ่ น
ตัวอย่างที่ 2
ตัวอย่างที่ 3
ชวนคิด หน้า 141 นักเรียนคนหนึ่งเดินเล่นรอบสนำมกีฬำรูปวงกลม รัศมี 140 เมตร ดังภำพ
ระยะทำง กำรกระจัด และกำรเขียนลูกศรแสดงกำรกระจัดของกำร
เคลื่อนที่ในแต่ละสถำนกำรณ์เป็นอย่ำงไร
สถำนกำรณ์ที่ 1. นักเรียนเดินจำกจุดศูนย์กลำงวงกลมที่ตำแหน่ง A ไปยังตำแหน่ง B

กำหนดให้ 1 เซนติเมตร มีค่ำเท่ำกับควำมยำว 50 เมตร


ชวนคิด หน้า 141 นักเรียนคนหนึ่งเดินเล่นรอบสนำมกีฬำรูปวงกลม รัศมี 140 เมตร ดังภำพ
ระยะทำง กำรกระจัด และกำรเขียนลูกศรแสดงกำรกระจัดของกำร
เคลื่อนที่ในแต่ละสถำนกำรณ์เป็นอย่ำงไร
สถำนกำรณ์ที่ 2. นักเรียนเดินจำกจุดศูนย์กลำงวงกลมที่ตำแหน่ง A ไปยังตำแหน่ง B
แล้วเดินต่อไปตำมเส้นรอบวงไปยังตำแหน่ง C

กำหนดให้ 1 เซนติเมตร มีค่ำเท่ำกับควำมยำว 50 เมตร


ชวนคิด หน้า 141 นักเรียนคนหนึ่งเดินเล่นรอบสนำมกีฬำรูปวงกลม รัศมี 140 เมตร ดังภำพ
ระยะทำง กำรกระจัด และกำรเขียนลูกศรแสดงกำรกระจัดของกำร
เคลื่อนที่ในแต่ละสถำนกำรณ์เป็นอย่ำงไร
สถำนกำรณ์ที่ 3. นักเรียนเดินจำกจุดศูนย์กลำงวงกลมที่ตำแหน่ง A ไปยังตำแหน่ง B
แล้วเดินต่อไปตำมเส้นรอบวงไปยังตำแหน่ง C แล้วเดินกลับมำตำแหน่งเริ่มต้น

กำหนดให้ 1 เซนติเมตร มีค่ำเท่ำกับควำมยำว 50 เมตร


1 วำ = 2 เมตร
1 ไมล์ = 1,609.34 เมตร
1 ปีแสง = 9.461 x 1015 เมตร
ปริมาณทางฟิสิกส์

ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantity)


หมายถึง ปริมำณที่ระบุแต่ขนำดอย่ำงเดียว
ไม่ มี ทิ ศ ทำง เช่ น พลั ง งาน อุ ณ หภู มิ เวลา
พื้นที่ ปริมาตร อัตราเร็ว ซึ่งต้องระบุหน่วยของ
ปริมาณด้วย
ปริมาณทางฟิสิกส์

ปริมาณเวกเตอร์ (vector quantity)


หมายถึง ปริมำณที่มีทั้งขนำดและทิศทำง ใน
การหาผลลัพธ์ของปริมาณเวกเตอร์ต้องอาศัย ความเร่ง
วิ ธี ก ารทางเวกเตอร์ โดยต้ อ งหาผลลั พ ธ์ ทั้ ง
ขนาดและทิศ
จำกนิทำนอีสปเรือ่ งกระต่ำยกับเต่ำ ให้นักเรียนเปรียบเทียบ
อัตรำเร็วเฉลี่ยและอัตรำเร็วขณะหนึ่งของกระต่ำยกับเต่ำ
จากรู ป
นักเรียนคิดว่า
อุ ปกรณ์ดังรู ป
ทาหน้าที่อะไร ?
อัตราเร็ว (speed) : (𝑣) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลง
ระยะทางต่อหน่วยเวลา เป็น ปริมาณสเกลาร์ (scalar) มีหน่วยเป็น
เมตรต่อวินาที (m/s) สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
กรณี ท่ ี วั ต ถุ มี ก ารเคลื่ อนที่ ด้ ว ยอั ต ราเร็ว
ที่ ไ ม่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ส ด ง ว่ า วั ต ถุ นั ้ น มี
อ ั ต ร า เ ร ็ว ค ง ต ั ว แ ต ่ ถ ้ า ว ั ต ถ ุ ม ี ก า ร
เคลื่ อนที่ ด้ ว ยอั ต ราเร็ว ที่ ไ ม่ ค งตั ว จะคิ ด
เป็ น อั ต ราเร็ว เฉลี่ ย (average speed)
แ ล ะ บ า ง ก ร ณี ถ ้ า ต้ อ ง ก า ร พิ จ า ร ณ า
อั ต ราในช่ ว งเวลาที่ สั้ น มาก ๆ จนเกื อ บ
เป็ น ศู น ย์ จะเรีย กว่ า อั ต ราเร็ว ขณะใด ๆ
(instantaneous speed)
റ หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลง
ความเร็ว (velocity) : (𝑣)
การกระจัดต่อหน่วยเวลา เป็นปริมาณเวกเตอร์ (vector) มีหน่วยเป็น เมตร
ต่อวินาที (m/s)
ความเร่ง (acceleration)

ความเร่ง (acceleration) : (𝑎)


റ หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของ
ความเร็วต่อหน่วยเวลา เป็นปริมาณเวกเตอร์ (vector) มีหน่วยเป็น เมตรต่อ
วินาที2 (m/s2) สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่คงที่ในช่ วงเวลาหนึ่ง ๆ
อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็วอาจเพิ่มขึ้นหรือลดลงถ้าเพิ่มขึ้น
เรี ย กว่ า ความเร่ ง (acceleration) ซึ่ งมี ค่ า เป็ น บวก (+)
แต่ถ้าลดลงจากเดิม เรียกว่า ความหน่วง (deceleration) มี
ค่าเป็น ลบ (-) โดยการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจเปลี่ยนแปลง
เฉพาะขนาดหรือทิศทาง หรือทัง้ ขนาดและทิศทางก็ได้
ตัวอย่างที่ 1
สมชำยวิ่งออกกำลังกำยรอบสนำมในสวนสำธำรณะซึ่งมีระยะทำงโดยรอบเท่ำกับ 400 เมตร ขณะที่เขำ
ตัวอย่างที่ 2 วิ่ง ไปได้ครึ่ง สนำมใช้เ วลำ 5 นำที และอยู่ห่ ำ งจำกจุด เริ่ ม ต้นเท่ ำ กับ 75 เมตร จงหำควำมเร็ ว และ
อัตรำเร็ว
กิจกรรมที่ 4.3 อัตรำเร็วและควำมเร็วแตกต่ำงกันอย่ำงไร

จุดประสงค์ 1. วิเครำะห์สถำนกำรณ์ อธิบำยและคำนวณอัตรำเร็วและ


ควำมเร็วของวัตถุ
2. เขียนแผนภำพแสดงขนำดและทิศทำงของควำมเร็ว
กำหนดให้ 1 cm ในแผนที่ มีค่ำเท่ำกับ 100 m
คำถำมท้ำยกิจกรรม
1. สถำนกำรณ์ใดบ้ำงที่อัตรำเร็วและควำมเร็วของกำรเคลื่อนที่ของกิตติมีค่ำเท่ำกัน
เพรำะเหตุใด
2. สถำนกำรณ์ใดบ้ำงที่อัตรำเร็วและควำมเร็วของกำรเคลื่อนที่ของกิตติมีค่ำ
ไม่เท่ำกัน เพรำะเหตุใด
3. อัตรำเร็วและควำมเร็วแตกต่ำงกันอย่ำงไร
4. จำกกิจกรรม สรุปได้ว่ำอย่ำงไร
กำรเคลื่อนที่
เกี่ยวข้องกับ

กำรบอกตำแหน่ง กำรเปลี่ยนตำแหน่ง ปริมำณ กำรเคลื่อนที่


ทำงวิทยำศำสตร์ ช้ำหรือเร็วของวัตถุ
เทียบกับ
บรรยำยด้วย แบ่งเป็น บรรยำยด้วย
จุดอ้ำงอิง ระยะทำง กำรกระจัด เวกเตอร์ สเกลำร์ อัตรำเร็ว ควำมเร็ว

โดยระบุ เป็น เป็น

ระยะห่ำง ทิศทำง เป็น เป็น


แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุต่อไปนี้เป็นเท่ำใดและมีทิศทำงอย่ำงไร

1.1)
แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุต่อไปนี้เป็นเท่ำใดและมีทิศทำงอย่ำงไร

1.2)
แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุต่อไปนี้เป็นเท่ำใดและมีทิศทำงอย่ำงไร

1.3)
แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุต่อไปนี้เป็นเท่ำใดและมีทิศทำงอย่ำงไร

1.4)
แรงขนำด 7 นิวตัน กระทำต่อวัตถุหนึ่ง โดยมีทิศทำงดังภำพ ถ้ำต้องกำรให้
แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ ต้องมีแรงกระทำต่อวัตถุอย่ำงน้อย 1 แรง
แรงนี้ต้องมีขนำดและทิศทำงเป็นอย่ำงไร
รู้อะไรบ้ำงก่อนเรียน
จำกภำพมีแรงกระทำต่อหนังสือที่วำงนิ่งอยู่บนโต๊ะหรือไม่ ถ้ำมีแรงกระทำ
ให้เขียนแผนภำพแสดงแรงนั้น ๆ และแรงลัพธ์ที่กระทำต่อหนังสือเป็นเท่ำใด
แรง (Force) เป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มขี นาดและทิศทาง
มีหน่วยเป็นนิวตัน

แรง คื อ ปริ ม าณที่ ก ระท าต่ อ วั ต ถุ แ ล้ ว ท าให้ วั ต ถุ เ กิ ด


การเปลี่ยนแปลงสภาพ เช่ น ทาให้เปลี่ยนรู ปร่าง หยุ ดนิ่ง
หรือเคลื่อนที่
ปริมาณเวกเตอร์สามารถเขียนแทนเป็นสัญลักษณ์ได้

1. แทนด้วยลูกศร โดยที่ขนาดความยาวลูกศรแทนขนาดของ
เวกเตอร์ และหัวลูกศรแทนทิศทางของเวกเตอร์ เช่น
2. แทนด้วยตัวอักษรและมีลูกศรกากับ เช่น FԦ หรือ Fറ
3. แทนด้วยตัวอักษรตัวหนา เช่น F
4. แทนด้วยสัญลักษณ์ AB คือ เวกเตอร์ที่มี A เป็นจุดเริ่มต้น
และ B เป็นจุดสุดท้าย
แรงลั พธ์ (net force)
แรงลัพธ์ (net force) หมายถึง ผลรวมของแรงย่อยแบบเวกเตอร์
ของแรงทั้งหมดที่กระทาต่อวัตถุ

แรงย่อย หมายถึง แรงที่เป็นองค์ประกอบของแรงลัพธ์


กำรรวมเวกเตอร์แบบหำงต่อหัว
(tail to head method)
เป็นกำรนำเวกเตอร์ย่อยมำต่อกัน โดยต่อหำงเวกเตอร์หนึ่งกับ
หัวของอีกเวกเตอร์หนึ่ง จนครบทุกเวกเตอร์ จำกนั้นหำเวกเตอร์ลัพธ์
โดยลำกเส้นจำกหำงเวกเตอร์แรกยังไปหัวเวกเตอร์สุดท้ำย

เวกเตอร์ลัพธ์
เวกเตอร์ 2
เวกเตอร์ 1
การหาขนาดและทิศทางแรงลัพธ์จากแรงลัพธ์สามารถหาจากการพิจารณาทิศทางของแรงย่อยทุกแรง
ที่มากระทาต่อวัตถุ เมื่อแรงย่อยอยู่ในแนวเดียวกัน แรงลัพธ์ที่มากระทาต่อวัตถุสามารถหาได้ ดังนี้
1. แรงลัพธ์ท่ ีเกิดจากแรงย่อยที่อยู่ในแนวเดียวกันมากระทากับวัตถุในทิศทางเดียวกัน

Fลัพธ์=F1 +F2
2. แรงลัพธ์ท่ ีเกิดจากแรงย่อยที่อยู่ในแนวเดียวกันมากระทากับวัตถุในทิศทางตรงข้ามกัน

Fลัพธ์=F1 + (−F2 )
เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์
วัตถุจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่เดิมเอาไว้
แบ่งออกเป็น 2 กรณี ดังนี้
1. วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่
ตราบที่ไม่มีแรงลัพธ์ภายนอกมากระทา
2. วัตถุที่เคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
ด้วยควำมเร็วคงตัว ตราบที่ไม่มีแรงลัพธ์
ภายนอกมากระทา
ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 1 แรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุในทิศทางเดียวกันดังรูป ขนาดแรงลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จะหาได้จากผลรวมของแรงดังนี้
ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 2 แรง 2 แรงกระทาต่อวัตถุในทิศทางตรงกันข้ามกันดังรูป ขนาดแรงลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จะหาได้จากผลต่างของแรงแต่ละแรงดังนี้
ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 3 ออกแรงดึ ง วั ต ถุ ที่ อ ยู่ นิ่ ง ด้ วยแรง 3 แรง ที่ มี ข นำดและทิ ศทำงดั ง ภำพ แรงลั พ ธ์ ที่
กระทำต่อวัตถุเป็นเท่ำใดและวัตถุจะเคลื่อนที่หรือไม่ อย่ำงไร

กำหนดให้ควำมยำวลูกศร 1 เซนติเมตร แทนแรงขนำด 10 นิวตัน


ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 3

แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์
ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 4 วัตถุชิ้นหนึ่งวำงนิ่งบนโต๊ะ มีแรงมำกระทำ 3 แรง โดยมีขนำดและทิศทำงดังภำพ
หำแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ พร้อมทั้งอธิบำยกำรเคลื่อนที่ของวัตถุได้อย่ำงไร

ภำพกำรออกแรงกระทำต่อวัตถุ (เมื่อมองจำกด้ำนบน)
ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 4

เขียนเวกเตอร์แทนแรง แรงลัพธ์ของแรงทั้ง 3 ที่กระทำต่อวัตถุมีขนำด


20 นิวตัน มีทิศทำงไปทำงทิศตะวันตก
ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 5 ออกแรงผลักวัตถุที่อยู่นิ่งด้วยแรง 3 แรงที่มีขนำดและทิศทำงแตกต่ำงกัน ดังภำพ
แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีขนำดเท่ำใด และวัตถุจะมีกำรเคลื่อนที่หรือไม่ อย่ำงไร

ภำพกำรออกแรงกระทำต่อวัตถุ (เมื่อมองจำกด้ำนบน)
ตัวอย่ำงโจทย์ที่ 5

เขียนลูกศรแทนเวกเตอร์ของแรง แรงลัพธ์ของแรงทั้ง 3 มีขนำด 6.7 นิวตัน


มีทิศทำงทำมุม 26.6 องศำ
กับทิศตะวันออกไปทำงทิศเหนือ
การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงที่กระทาต่อวัตถุอยู ่ในแนวที่ทามุมต่อกัน
เมื่อออกแรงกระทำำต่อวัตถุ 2 แรง คือ
วิธส
ี ่ีเหลี่ยมด้านขนาน F₁ F₂ ดังภำพ จะหำแรงลัพธ์ได้โดย
การหาแรงลัพธ์ด้วยวิธีสี่เหลี่ยมด้านขนาน
เป็ น อี ก วิ ธี ห นึ่ ง ที่ นิ ย มใช้ ห าแรงลั พ ธ์ ที่
กระทาต่อวัตถุ เมื่อมีแรง 2 แรงกระท า 1. สร้ำงรูปสี่เหลี่ยมด้ำนขนำนโดย F₁ F₂
เป็นด้ำนของสี่เหลี่ยมด้ำนขนำน
ต่อวัตถุซี่งทาาได้โดยการสร้างรูปสี่เหลี่ยม
ด้ า นขนานโดยแรงทั้ ง 2 เป็ น ด้ า นทั้ ง 2
ด้าน ของสี่เหลี่ยมด้านขนาน แรงลัพธ์คือ 2. ลำกเส้นทแยงมุมจำกหำงของลูกศรแทน
เส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยมด้ำนขนำน แรง F₁ และ F₂ ไปยังมุมของสี่เหลี่ยมด้ำน
ขนำนที่อยู่ตรงข้ำม ควำมยำวของแส้นทแยง
เช่น มุมจะเท่ำกับขนำดของแรงลัพธ์และทิศทำง
ของแรงลัพธ์จะมีทิศทำงตำมทิศทำงของ
เส้นทแยงมุม
กฎของนิวตัน (Newton’s laws)

เกิด 25 ธันวำคม 1642


เสียชีวิต 20 ธันวำคม 1727

Sir Isaac Newton


นักวิทยำศำสตร์ชำวอังกฤษค้นพบ
ธรรมชำติของกำรเคลื่อนที่ คือ
กฎแรงโน้มถ่วง เมื่อปี 1666
กฎกำรเคลื่อนที่ เมื่อปี 1686
ก. นักสเกตบอร์ดออกแรงผลักกำแพง ข. นักสเกตบอร์ดเคลื่อนที่ออกจำกกำแพง
เนื่องจำกแรงที่กำแพงกระทำโต้ตอบกับมือ
𝑭𝟏𝟐 = −𝑭𝟐𝟏

𝑭𝟏𝟐 คือ แรงที่มือกระทำกับกำแพง


𝑭𝟐𝟏 คือ แรงที่กำแพงกระทำโต้ตอบกับมือ
แรงกิริยำและแรงปฏิกิริยำระหว่ำงเท้ำกับพื้น

แรงที่เท้ำกระทำกับพื้น

แรงที่พื้นกระทำกับเท้ำ
แรงกิริยำและแรงปฏิกิริยำระหว่ำงโลกกับดวงจันทร์

แรงโน้มถ่วงที่ดวงจันทร์
กระทำกับโลก
แรงโน้มถ่วงที่โลก
กระทำกับดวงจันทร์
แรงกิริยำและแรงปฏิกิริยำระหว่ำงหนังสือกับโลก

แรงโน้มถ่วงที่โลก
กระทำกับหนังสือ

แรงโน้มถ่วงที่หนังสือ
กระทำกับโลก
แรงกิริยำและแรงปฏิกิริยำระหว่ำงหนังสือกับโต๊ะ
แรงที่หนังสือ
กระทำกับโต๊ะ

แรงที่โต๊ะ
กระทำกับหนังสือ
แรงที่กระทำต่อหนังสือ

แรงโน้มถ่วงที่โลก
แรงที่โต๊ะ กระทำกับหนังสือ
กระทำกับหนังสือ (น้ำหนัก)
กิจกรรมเสริม ลูกโป่งเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงไร
ออกแบบลูกโป่งให้เคลื่อนที่ไปตำมเส้นเชือกให้เร็วที่สุด พร้อมอธิบำยว่ำ
ลูกโป่งเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำได้อย่ำงไร
แรงเสียดทาน (frictional force)

แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งเกิดระหว่างผิว
ของวัตถุที่สัมผัสกัน มีลักษณะสาคัญ 2ประการ คือ
1) เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุกับพื้น
2) มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่
หรือทิศทางของแรงที่กระทาต่อวัตถุเสมอ
เเรงเสียดทาน สามารถจาแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
อีกด้วยโดยแบ่งได้ 2 ประเภท คือ

1. แรงเสียดทานสถิต 2. แรงเสียดทานจลน์
(static frictional force; 𝑓𝑠 ) (kinetic frictional force; fk )
แรงเสียดทำนที่ เกิ ด ขึ้น ในขณะที่วัตถุ อ ยู่นิ่ งหรื อ แรงเสียดทำนที่เกิดขึ้นในขณะที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่
กำลังเริ่มเคลื่อนที่ ขนาดของแรงเสียดทานสถิตจะ ไปบนผิ ว ของอี ก วั ต ถุ ห นึ่ ง เป็ น แรงเสี ย ดทานที่
เพิ่มขึ้นตามขนาดของแรงที่กระทาต่อวัตถุจนมีค่า พ ย า ย า ม ต้ า น ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง
มากที่สุดขณะที่วัตถุเริ่มจะเคลื่อนที่ เรียกว่า แรง แรงเสี ย ดทานจลน์ จะมี ทิ ศ ทางตรงข้ า มกั บ
เสียดทานสถิตสูงสุด ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ ทาให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่
ช้าลงหรือหยุดนิ่ง
แรงเสียดทานจลน์
แรงเสียดทาน มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)

แรงเสียดทานสถิตสูงสุด fs,max fk
มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)

fs,max = μs N
fk = μk N

μ N
สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
โดย μs คือ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิต แรงปฏิกิริยาตั้งฉาก
μk คือ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลน์ มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
การนาความรูเ้ รื่องแรงเสียดทาน
มาใช้ในชีวติ ประจาวัน
การปูกระเบื้องห้องน้าด้วยกระเบื้อง สไลเดอร์ถูกทาให้มีพื้นผิวเรียบลื่น
ที่มีผิวขรุขระ ช่วยเพิ่มแรงเสียดทาน เพื่อลดแรงเสียดทาน ทาให้ผู้เล่น
ให้พื้นห้องน้าไม่ลื่นเกินไป ลื่นไถล ได้อย่างรวดเร็ว

ดอกยางช่วยเพิ่ม การเล่นสกีต้องเล่นบนพื้นเรียบลื่น
แรงเสียดทาน เพื่อลดแรงเสียดทาน ทาให้ผู้เล่น
ระหว่างรถกับถนน เคลื่อนไหวได้ง่าย
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อแรงเสียดทาน
1) ลักษณะพื้นผิวสัมผัสระหว่างวัตถุ
ตำรำงที่ 1 ลักษณะพื้นผิวสัมผัสมีผลต่อแรงเสียดทาน
เมื่อมีการออกแรงกระทา
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อแรงเสียดทาน
2) มวลของวัตถุ ตำรำงที่ 2 มวลของวัตถุที่มีผลต่อแรงเสียดทาน

มวลของวัตถุมผี ลต่อแรงเสียดทาน
ที่ต้านการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุทตี่ า่ งกัน
ความดั นของของเหลว
(pressure)
ความดันของของเหลว (pressure)
คือ อัตราส่วนระหว่างแรงดันของของเหลวที่
กระทาตั้งฉากกับพื้นที่ผิวของวัตถุ ความดันเป็น
ปริมาณสเกลาร์ มีขนาดแต่ไม่มีทิศทาง
นักดาน้าจะรู้สึกอึดอัดเมื่อดาน้าลงไปในระดับความลึกเพิ่มขึ้น
เนื่องจากเมื่อลึกมากความดันของเหลวจะมีค่ามาก
แรงพยุ ง (buoyant force)
แรงพยุง (buoyant force) คือ สรุปหลักอาร์คิมีดิส ดังนี้
แรงลอยตั ว ของของเหลวทุ ก ชนิ ด ที่ 1. ปริมาตรของเหลวที่ถูกแทนที่ จะเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนที่
กระทำต่อวัตถุที่จมอยู่ในของเหลว จะ จมลงในของเหลว
เป็นไปตามหลักของอาร์คิมีดิส ซึ่งกล่าว 2. น้าหนักของวัตถุที่ชั่งในของเหลว จะมีค่าน้อยกว่าน้าหนักของ
ไว้ ว่ า แรงพยุ ง หรื อ แรงลอยตั ว ที่ วัตถุที่ชั่งในอากาศ เนื่องจากแรงพยุงของของเหลวมีมากกว่าแรงพยุงของ
อากาศ
ของเหลวกระทำต่อวัตถุมีขนำดเท่ำกับ
3. น้ าหนั ก ของวั ต ถุ ที่ห ายไปในของเหลว จะเท่ า กั บ น้ าหนั ก ของ
น้ ำหนั ก ของของเหลวที่ มี ป ริ ม ำตร
ของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่ ซึ่งคานวณได้จากผลต่างของน้าหนักของวัตถุที่
เท่ ำ กั บ ปริ ม ำตรของวั ต ถุ ที่ จ มอยู่ ใ น ชั่งในอากาศกับน้าหนักของวัตถุที่ชั่งในของเหลว
ของเหลวนั้น 4. น้าหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่ จะเท่ากับน้าหนักของของเหลว
ที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่จม
แรงพยุ ง (buoyant force)
แรงพยุ ง (buoyant force)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงพยุง
1. ชนิดของวัตถุ วัตถุแต่ละชนิดจะมีความหนาแน่น
แตกต่างกัน
2. ชนิ ด ของเหลว ของเหลวแต่ ล ะชนิ ด มี ค วาม
หนาแน่นแตกต่างกัน ซึ่งของเหลวที่มีความหนาแน่น
มาก จะมีแรงพยุงมาก
3. ขนำดของวัตถุ จะส่งผลต่อปริมาตรที่จมลงไปใน
ของเหลวซึ่งถ้าวัตถุมีขนาดใหญ่ จะมีปริมาตรที่จมลง
ไปในของเหลวมาก ทาให้แรงพยุงมีค่ามาก
แรงพยุ ง (buoyant force)
ลั กษ ณะ ขอ งวั ต ถุ เมื่ อ
ล อ ย อ ยู่ ใ น ข อ ง เ ห ล ว
เมื่อวัตถุอยู่ในของเหลว
จะ มี คว า มสั มพั น ธ์กั บ
ความหนาแน่นของวัตถุ
ซึ่ ง ส า ม า ร ถ พิ จ า ร ณ า
ลั ก ษณะของวั ต ถุ ไ ด้ 3
ลักษณะ ดังนี้
Thanks!
Any questions?

You might also like