You are on page 1of 20

โรงเรียน วัดสระเกศ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรูที่ 11 เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับความเรง
รหัสวิชา ว30201 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 ผูสอน นายปราณนต พิมพพันธุ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 จำนวนนักเรียน คน วันทีส่ อน 19 กรกฎาคม 2564 เวลา 08.20—10.00 (100 นาที)
อาจารยนิเทศกสถานศึกษา ครูนจุ นารถ รุงอเนกทรัพย อาจารยนิเทศคณะครุศาสตร อาจารย ดร.อัศวนนทปกรณ ธเนศวีรภัทร

สาระ ฟสิกส
ผลการเรียนรู
1. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวาง ตำแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรง ของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเรง คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาคา ความเรงโนม
ถวงของโลก และคำนวณปริมาณ ตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
ผลการเรียนรูในสาระที่เชื่อมโยงกัน
1. เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษพลังงาน
กล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
- ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ไดแกตำแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรง โดยความเร็ว และความเรงมีทั้งคาเฉลี่ยและคาขณะหนึ่งซึ่งคิด ในชวงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับ
𝑢𝑢+𝑣𝑣 1
การเคลื่อนที่แนวตรงดวยความเรง คงตัวมีความสัมพันธตามสมการ 𝑣𝑣 = 𝑢𝑢 + 𝑎𝑎𝑎𝑎 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = �
2
� 𝑡𝑡 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 𝑢𝑢𝑢𝑢 + 2 𝑎𝑎𝑡𝑡 2 , 𝑣𝑣 2 = 𝑢𝑢2 + 2𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎
สาระสำคัญ
ความเรง (acceleration) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวยเวลา วัตถุที่เคลื่อนที่ชาลง แสดงวาวัตถุนี้มีความหนวง และความเรงในกรณีนี้ เรียกวา
ความหนวง นอกจากนั้น ความเรงเฉลี่ย มีความหมายวา อัตราสวนระหวางความเร็ว ที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น สามารถหาไดจาก 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 𝛥𝛥𝛥𝛥
𝛥𝛥𝛥𝛥
𝑣𝑣 −𝑣𝑣
= 2 1 ในทางกลับกันหาก
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1

พิจารณากรณีทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในชวงสั้นมาก ๆ หรือขณะใดขณะหนึ่ง จะเรียกความเรงในกรณีนั้นวาความเรงขณะหนึ่ง


วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
เมื่อเรียนคาบนี้1. เนื้อหา 1. ขั้นนำ (15 นาที) - ใบบันทึกขอมูลประกอบการ - นักเรียนสามารถ
จบแลวนักเรียน 1.1 ทบทวนความรูเดิม 1.1 ครูทบทวนเกี่ยวกับการหาอัตราเร็วเฉลี่ยและ ทบทวน เรื่อง “ความเรง” อธิบายวิธีการที่ใชใน
สามารถ ความเรง (acceleration) อัตราเร็วขณะหนึ่งจากการใชเครื่องเคาะ การหาความเรงเฉลี่ย
ดานพุทธิพิสัย หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว สัญญาณ ดวยการอภิปรายโดยใชคำถาม - แบบฝกหัด เรื่อง “โจทย และความเรงขณะหนึ่ง
หรือความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่ง
1. อธิบายวิธีการที่ใช ดังนี้ ปญหาเกี่ยวกับความเรง” ในโจทย จาก
ในการหาความเรง หนวยเวลา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น 1.1.1 สมการที่ใชในคำนวณหาอัตราเร็วเฉลี่ย แบบฝกหัดไดคะแนน
เฉลี่ยและความเรง อาจเปลี่ยนแปลงเฉพาะขนาดหรือทิศทาง จากเครื่องเคาะสัญญาณ เขียนไดวา - สื่ออิเล็กทรอนิกส จาก
คิดเปนรอยละ 50 ของ
ขณะหนึ่งได ของความเร็ว หรือเปลี่ยนแปลงทั้งขนาด อยางไร โปรแกรมพาวเวอรพอยท เรื่อง
ระยะระหวางจุดบนแถบกระดาษ
คะแนนรวมขึ้นไป
และทิศทางพรอมกันก็ได ความเรงสามารถ (อัตราเร็วเฉลี่ย = ) “ทบทวรความรูเกี่ยวกับ
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่
ดานทักษะพิสัย เขียนแทนดวยสัญลักษณ a และมีหนวย 1.1.2 สมการที่ใชในคำนวณหาาอัตราเร็ว ความเรง”
- นักเรียนสามารถ
1. คำนวณเพื่อแก เปน เมตรตอวินาที2 (m/s2) เนื่องจาก ขณะหนึ่งจากเครื่องเคาะสัญญาณ คำนวณเพื่อแกโจทย
โจทยปญหาเกี่ยวกับ ความเร็วเปนปริมาณเวกเตอร ความเรงจึง เขียนไดวาอยางไร - หนังสือเรียนอักษรเจริญทัศน
ความเรง ปญหาเกี่ยวกับความเรง
เปนปริมาณเวกเตอรเชนกัน ( อัตราเร็วขณะหนึ่ง =
ระยะระหวางจุดครอมตำแหนงที่ตองการหา
) รายวิ ช าเพิ ม
่ เติ มวิ ทยาศาสตร
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ ในโจทยที่กำหนดใหใน
1.2 ครูใหนักเรียนสังเกต การเปรียบเทียบ ฟ ส ก
ิ ส ชั น
้ มั ธ ยมศึ ก ษาป ท่ ี 4
ดานจิตพิสัย ความเรงเฉลี่ย สามารถหาไดจาก ดัง แบบฝกหัดไดคะแนน
ความเรงของรถจากมิเตอร ในวีดิโอ จากลิงค เล ม 1
1. มีความรับผิดชอบ สมการตอไปนี้ คิดเปนรอยละ 50 ของ
ตอไปนี้ คะแนนรวมขึ้นไป
โดยการเขาเรียนและ 𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
𝑎𝑎 = = https://www.youtube.com/watch?v=
สงงานไดตรงเวลา 𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 − 𝑡𝑡1 DWWhzfNQYRI (เวลา 1:00 - 2:30)
- นักเรียนมีความ
1.3 ครูใชคำถามเพื่อกระตุนความสนใจของ
ความเรงขณะหนึ่ง คือ การ รับผิดชอบโดยการเขา
นักเรียน ดังนี้
เปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในชวงสั้น เรียนและสงงานไดตรง
1.3.1 จากวีดิโอ รถดังกลาวมีการ
มาก ๆ หรือขณะใดขณะหนึ่ง เวลา
เปลี่ยนแปลงความเร็วหรือไม (มี)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2 โจทยตัวอยางเกี่ยวกับความเรง 1.3.2 จากการเคลื่อนที่ของรถจากวีดิโอ - วิดิทัศนเรื่อง “POV 342
1.2.1 รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบน นักเรียนคิดวาความเรงของรถตลอดการ km/h LAMBORGHINI
ถนนตรง เมื่อเวลาผานไป 6 วินาที มี เคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม (มี) HURACAN AKRAPOVIC
ความเร็ว เปน 12 เมตรตอวินาที ถารถมี 1.3.3 นักเรียนคิดวา เลขในมิเตอรของรถ ที่ INSANE! AUTOBAHN
อัตราเร็วเพิ่มขึ้นอยางสม่ำเสมอ ขนาด แสดงใหเห็นในวีดิโอ คือคาอะไร (ตอบอะไร ACCELERATION TOP SPEED
ก็ได)
ความเรงของรถเปนกี่เมตรตอวินาทีกำลัง DRIVE & SOUND” จาก
1.3.4 ความเรงของรถนั้นเกี่ยวของกับคา
สอง https://www.youtube.com
มิเตอรหรือไมอยางไร (ตอบอะไรก็ได)
วิเคราะหโจทย /watch?v=DWWhzfNQYRI
1.4 ครูเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาตอไป
จากโจทยจะไดวา :
𝑡𝑡1 = 0.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = 0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2. ขั้นสอน (65 นาที) - วิดิทัศนเรื่อง “On board
𝑡𝑡2 = 6.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = 12 𝑚𝑚/𝑠𝑠
2.1 ครูอธิบายเพื่อแนะนำ เกี่ยวกับความเรง Fernando Alonso GP
วิธีทำ
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1 2.1.1 ครูแนะนำเกี่ยวกับนิยามของความเรง Belgium SPA F1 2013” จาก
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = https://www.youtube.com
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1 2.1.2 ครูแนะนำเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
12−0
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = ขนาดและทิศทางของความเร็วที่ /watch?v=4vstWEvjW18
6.0−0
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 2.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2 สัมพันธกับความเรง
ดังนั้น ขนากความเรงเฉลี่ยของรถยนตใน 2.1.3 ครูแนะนำเกี่ยวกับหนวยของความเรง
การเคลื่อนที่ดังกลาว เทากับ 2.0 เมตรตอ 2.2 ครูใหนักเรียน สังเกตการเปลี่ยนแปลง
วินาที2 ความเร็วของรถ ในวีดิโอ จากลิงคตอไปนี้
https://www.youtube.com/watch?v=4
vstWEvjW18
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2.2 รถยนตคันหนึ่งกำลังแลนมาดวย 2.3 ครูอภิปรายโดยใชคำถามดังนี้
ความเร็ว 25 m/s พอดีมีเด็กวิ่งตัดหนา 2.3.1 นักเรียนคิดวา รถในวีดิโอมีการ
คนขับจึง เหยียบเบรก ทำใหความเร็วลดลง เปลี่ยนแปลงความเร็วหรือไม (มี เพื่อ
เหลือ 5 m/s ในเวลา 2 s จงหาขนาดและ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของความเร็ว)
ทิศทางของความเรง ของรถขณะเบรก 2.3.2 นักเรียนคิดวาในการเคลื่อนที่ดังกลาว
(กำหนดใหทิศทางที่กำลังเคลื่อนที่ไปเปน มีชวงที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือไม (มี
บวก และทิศทางตรงกันขามกับการ เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
เคลื่อนที่เปนลบ) ในชวงที่เพิ่มขึ้น)
วิเคราะหโจทย 2.3.3 นักเรียนคิดวาในการเคลื่อนที่ดังกลาว
จากโจทยจะไดวา : มีชวงที่มีความเร็วลดลงหรือไม (มี เพื่อ
𝑡𝑡1 = 0.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = +25 𝑚𝑚/𝑠𝑠 สังเกตการเปลี่ยนแปลงความเร็วในชวง
𝑡𝑡2 = 2.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = +5 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2 ที่ลดลง)
วิธีทำ 2.3.4 นักเรียนคิดวา ในกรณีที่มีความเร็ว
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = เพิ่มขึ้น ถือวามีความเรงหรือไม (ตอบ
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
(+5)−(+25) อยางไรก็ได เพื่อเชื่อมโยงความเร็วที่
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = เพิ่มขึ้นกับความเรง)
2.0−0
−20 2.3.5 นักเรียนคิดวา ในกรณีที่มีความเร็ว
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
2.0 ลดลง ถือวามีความเรงหรือไม (ตอบ
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = −10 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
ดังนั้น ความเรงขณะรถเบรกมีขนาดเทากับ อยางไรก็ได เพื่อเชื่อมโยงความเร็วที่
ลดลงกับความเรง)
10 เมตรตอวินาทีกำลังสอง ในทิศทาง
2.4 ครูอธิบายเพื่อแนะนำความหมายของความ
ตรงกันขามกับการเคลื่อนที่
ความหนวง
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2.3 ดึงแถบกระดาษผานเครื่องเคาะ 2.5 ครูอธิบายเพื่อแนะนำความหมายของ
สัญญาณเวลาที่ตอกับแหลงจายไฟ ความเรง และสมการที่ใชในการคำนวณ
กระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ ปรากฎจุด 2.6 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “รถคันหนึ่ง
บนกระดาษ ดังภาพดานลาง จงหาความเรง เคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนถนนตรง เมื่อเวลา
เฉลี่ยของแถบกระดาษจาก A ไป B (ใน ผานไป 6 วินาที มีความเร็ว เปน 12 เมตร
หนวยเมตรตอวินาที2) โดยกำหนดใหทิศ ตอวินาที ถารถมีอัตราเร็วเพิ่มขึ้นอยาง
ทางขวาเปนบวกและทิศทางซายเปนลบ สม่ำเสมอ ขนาดความเรงของรถเปนกี่เมตร
ตอวินาทีกำลังสอง” โดยมมีวิธีการดังนี้
2.6.1 ครูนำการอภิปรายเพื่อวิเคราะหโจทย
วิเคราะหโจทย ปญหา โดยใชคำถามตอไปนี้“นักเรียน
คิดวาโจทย กำหนดปริมาณอะไรมาให
จากโจทยจะไดวา :
บาง”
𝑡𝑡1 = 0 𝑠𝑠 ,
2
𝑡𝑡2 = 50 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝑥𝑥1 = 2.0 𝑐𝑐𝑐𝑐 , (𝑡𝑡1 = 0.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = 0 𝑚𝑚/𝑠𝑠
8
𝑡𝑡3 = 50 𝑠𝑠 , 𝑡𝑡2 = 6.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = 12 𝑚𝑚/𝑠𝑠 )
10
𝑡𝑡4 = 50 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝑥𝑥2 = 4.0 𝑐𝑐𝑐𝑐 ,
1
𝑡𝑡𝐴𝐴 = 50 𝑠𝑠 ,
9
𝑡𝑡𝐵𝐵 = 50 𝑠𝑠 2.6.2 ครูนำการอภิปรายเพื่อวิเคราะหโจทย
ปญหา โดยใชคำถามตอไปนี้“นักเรียน
คิดวาควรใชสูตรอะไร เพื่อแกไขโจทย
ปญหาดังกลาว”
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
( 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = )
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
หา 𝑣𝑣𝐴𝐴 2.6.3 ครูแสดงวิธีการคำนวณ ดังตอไปนี้
𝛥𝛥𝑥𝑥1 วิธีทำ
จากสูตร 𝑣𝑣𝐴𝐴 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
2×10−2
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
แทนคา 𝑣𝑣𝐴𝐴 = 1 12−0
(2)(50)
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
6.0−0
𝑣𝑣𝐴𝐴 = 0.5 𝑚𝑚/𝑠𝑠
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 2.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
ดังนั้น ความเร็วที่จุด A มีขนาดเทากับ 0.5
ดังนั้น ขนากความเรงเฉลี่ยของรถยนตในการเคลื่อนที่
เมตรตอวินาที มีทิศไปทางขวา
ดังกลาว เทากับ 2.0 เมตรตอวินาที2

หา 𝑣𝑣𝐵𝐵 2.7 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “รถยนตคันหนึ่ง


𝛥𝛥𝑥𝑥2
จากสูตร 𝑣𝑣𝐵𝐵 = กำลังแลนมาดวยความเร็ว 25 m/s พอดีมี
𝑡𝑡4 −𝑡𝑡3
4×10−2 เด็กวิ่งตัดหนา คนขับจึง เหยียบเบรก ทำให
แทนคา 𝑣𝑣𝐵𝐵 = 1
(2)(50) ความเร็วลดลงเหลือ 5 m/s ในเวลา 2 s จง
𝑣𝑣𝐵𝐵 = 1.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 หาขนาดและทิศทางของความเรง ของรถ
ดังนั้น ความเร็วที่จุด B มีขนาดเทากับ 1.0 ขณะเบรก (กำหนดใหทิศทางที่กำลัง
เมตรตอวินาที มีทิศไปทางขวา เคลื่อนที่ไปเปนบวก และทิศทางตรงกันขาม
กับการเคลื่อนที่เปนลบ)” โดยมมีวิธีการดังนี้
2.7.1 ครูนำการอภิปรายเพื่อวิเคราะหโจทย
ปญหา โดยใชคำถามตอไปนี้“นักเรียน
คิดวาโจทย กำหนดปริมาณอะไรมาให
บาง”
(𝑡𝑡1 = 0.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = +25 𝑚𝑚/𝑠𝑠
𝑡𝑡2 = 2.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = +5 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2 )
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
หา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 2.7.2 ครูนำการอภิปรายเพื่อวิเคราะหโจทย
𝑣𝑣𝐵𝐵 −𝑣𝑣𝐴𝐴 ปญหา โดยใชคำถามตอไปนี้“นักเรียน
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡𝐵𝐵 −𝑡𝑡𝐴𝐴
คิดวาควรใชสูตรอะไร เพื่อแกไขโจทย
1.0−0.5
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 8 ปญหาดังกลาว”
50 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 3.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2 ( 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = )
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
ดังนั้น ความเรงเฉลี่ยจาก A ไป B เทากับ 2.7.3 ครูแสดงวิธีการคำนวณ ดังตอไปนี้
2
3 เมตรตอวินาที และมีทิศไปทางขวา วิธีทำ
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
หา 𝑎𝑎𝐶𝐶
(+5)−(+25)
𝑣𝑣𝐵𝐵 −𝑣𝑣𝐴𝐴 แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 2.0−0
𝑡𝑡𝐵𝐵 −𝑡𝑡𝐴𝐴 −20
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
1.0−0.5 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
8 2.0
50
2
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = −10 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 3.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 ดังนั้น ความเรงขณะรถเบรกมีขนาดเทากับ 10 เมตร
ดังนั้น ความเรงที่จุด C มีขนาด เทากับ
ตอวินาทีกำลังสอง ในทิศทางตรงกันขามกับการ
3 เมตรตอวินาที2 และมีทิศไปทางขวา
เคลื่อนที่
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2. กระบวนการ 2.8 ครูอภิปรายโดยใชคำถามเพื่อเชื่อมโยง
สมรรถนะสำคัญ 5 ดาน ความเรงเฉลี่ยกับความเรงขณะหนึ่ง ดังนี้
2.8.1 จากการเคลื่อนที่ของรถในวีดิโอ
- ความสามารถในการสื่อสาร: ในการตอบ
นักเรียนคิดวาความเร็วของรถตลอด
คำถามที่ครูทำการถามไดอยางตรงประเด็น การเคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม
- ความสามารถในการคิด: ในการคิดหา (มี เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลง
คำตอบที่จะตองตอบและคำนวณปริมาณได ความเร็ว)
อยางถูกตอง 2.8.2 จากการเคลื่อนที่ของรถในวีดิโอ
นักเรียนคิดวาความเร็วของรถตลอด
- ความสามารถในการแกปญหา: ในการแก การเคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงที่คงที่
โจทยปญหา หรือไม (ไมคงที่ เพื่อสังเกตความ
แตกตางในการเปลี่ยนแปลงความเร็ว)
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต (-)
2.8.3 จากการเปลี่ยนแปลงความเร็วที่ไมคงที่
- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี (-) ความเรงของการเคลื่อนที่ดังกลาวจะ
เปนอยางไร (คำถามชวนคิด ตอบอะไร
ก็ได)
3. คุณลักษณะอันพึงประสงค
2.9 ครูอธิบายเพื่อแนะนำความหมายของ
- มีความรับผิดชอบ จากการเขาเรียนและ
ความเรงขณะหนึ่ง
สงงานตรงเวลา
2.10 ครูอธิบายเพื่อแนะนำวิธีการหา
- มุงมั่นในการทำงาน จากการตอบคำถาม
ความเรงเฉลี่ยและความเรงขณะหนึ่งจาก
ในชั้นเรียน และทำโจทยที่กำหนดใหให
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เสร็จทันเวลา
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.11 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “ดึง
แถบกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่
ตอกับแหลงจายไฟกระแสสลับความถี่ 50
เฮิรตซ ปรากฎจุดบนกระดาษ ดังภาพ
ดานลาง จงหาความเรงเฉลี่ยของแถบ
กระดาษจาก A ไป B (ในหนวยเมตรตอ
วินาที2) โดยกำหนดใหทิศทางขวาเปนบวก
และทิศทางซายเปนลบ”

2.11.1 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
( 𝑡𝑡1 = 0 𝑠𝑠 ,
2
𝑡𝑡2 = 50 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝑥𝑥1 = 2.0 𝑐𝑐𝑐𝑐 ,
8
𝑡𝑡3 = 50 𝑠𝑠 ,
10
𝑡𝑡4 = 50 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝑥𝑥2 = 4.0 𝑐𝑐𝑐𝑐 ,
1 9
𝑡𝑡𝐴𝐴 = 50 𝑠𝑠 , 𝑡𝑡𝐵𝐵 = 50 𝑠𝑠 )
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.11.2 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
หา 𝑣𝑣𝐴𝐴
𝛥𝛥𝑥𝑥1
จากสูตร 𝑣𝑣𝐴𝐴 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
2×10−2
แทนคา 𝑣𝑣𝐴𝐴 = 1
(2)(50)
𝑣𝑣𝐴𝐴 = 0.5 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น ความเร็วที่จุด A มีขนาดเทากับ 0.5 เมตรตอ
วินาที มีทิศไปทางขวา
หา 𝑣𝑣𝐵𝐵
𝛥𝛥𝑥𝑥2
จากสูตร 𝑣𝑣𝐵𝐵 =
𝑡𝑡4 −𝑡𝑡3
4×10−2
แทนคา 𝑣𝑣𝐵𝐵 = 1
(2)(50)
𝑣𝑣𝐵𝐵 = 1.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น ความเร็วที่จุด มีขนาดเทากับ 1.0 เมตรตอ
วินาที มีทิศไปทางขวา
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
หา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎
𝑣𝑣𝐵𝐵 −𝑣𝑣𝐴𝐴
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡𝐵𝐵 −𝑡𝑡𝐴𝐴
1.0−0.5
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 8
50
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 3.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
ดังนั้น ความเรงเฉลี่ยจาก A ไป B มีขนาด
เทากับ 3 เมตรตอวินาที2 และมีทิศไปทางขวา

2.11.3 ครูใชคำถามเพื่อวิเคราะหโจทยดังนี้
“นักเรียนคิดวา จุด A และจุด B ครอม
จุด C พอดีหรือไม” (ครอมพอดี เพื่อให
สังเกตตำแหนงครอม)
2.11.4 ครูใชคำถามเพื่อวิเคราะหโจทยดังนี้
“นักเรียนคิดวา เราสามารถใชความเร็ว
ที่จุด A และจุด B ในการหาความเรงที่
จุด C ไดหรือไม” (หาได เพื่อเชื่อมโยง
ตำแหนงกับความเรงขณะหนึ่ง)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.11.5 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
หา 𝑎𝑎𝐶𝐶
𝑣𝑣𝐵𝐵 −𝑣𝑣𝐴𝐴
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡𝐵𝐵 −𝑡𝑡𝐴𝐴
1.0−0.5
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 8
50
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 3.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
ดังนั้น ความเรงที่จุด C มีขนาด
เทากับ 3 เมตรตอวินาที2 และมีทิศไปทางขวา

3. ขั้นสรุป (20 นาที)


3.1 ครูใชคำถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจ ดังนี้
3.1.1 ความเรง มีความหมายวาอยางไร
(อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือ
ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวย
เวลา)
3.1.2 ความเรงเฉลี่ย มีความหมายวาอยางไร
(อัตราสวนระหวางความเร็ว ที่
เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่เกิดการ
เปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
3.1.3 ความเรงเฉลี่ย สามารถหาไดจาก
สมการใด
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
( 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = = )
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
3.1.4 ความเรงขณะหนึ่ง มีความหมายวา
อยางไร
(การเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุ
ในชวงสั้นมาก ๆ หรือขณะใด
ขณะหนึ่ง)
ใบบันทึกขอมูลประกอบกาทบทวน เรื่อง ความเรง
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. ความเรง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

2. ความหนวง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

3. ความเรงเฉลี่ย
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

4. ความเรงเฉลี่ย
สามารถคำนวณหาไดจากสมการ ...............................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

5. ความเรงขณะหนึ่ง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
แบบฝกหัด เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับความเรง
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนถนนตรง เมื่อเวลาผานไป 6 วินาที มีความเร็ว เปน 12 เมตรตอวินาที ถารถมี
อัตราเร็วเพิ่มขึ้นอยางสม่ำเสมอ ขนาดความเรงของรถเปนกี่เมตรตอวินาทีกำลังสอง
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

2. รถยนตคันหนึ่งกำลังแลนมาดวยความเร็ว 25 m/s พอดีมีเด็กวิ่งตัดหนา คนขับจึง เหยียบเบรก ทำใหความเร็วลดลง


เหลือ 5 m/s ในเวลา 2 s จงหาขนาดและทิศทางของความเรง ของรถขณะเบรก (กำหนดใหทิศทางที่กำลังเคลื่อนที่ไป
เปนบวก และทิศทางตรงกันขามกับการเคลื่อนที่เปนลบ)

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
3. ดึงแถบกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่ตอกับแหลงจายไฟกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ ปรากฎจุดบนกระดาษ
ดังภาพดานลาง จงหาความเรงเฉลี่ยของแถบกระดาษจาก A ไป B (ในหนวยเมตรตอวินาที2) โดยกำหนดใหทิศทางขวา
เปนบวกและทิศทางซายเปนลบ

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
ใบบันทึกขอมูลประกอบการทบทวน เรื่อง ความเรง
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. ความเรง
มีความหมายวา
อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวยเวลา

2. ความหนวง
มีความหมายวา
ความเรงในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ชาลง หรือความเรงที่มีคาเปนลบ

3. ความเรงเฉลี่ย
มีความหมายวา
อัตราสวนระหวางความเร็ว ที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น

4. ความเรงเฉลี่ย
สามารถคำนวณหาไดจากสมการ
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = =
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 − 𝑡𝑡1

5. ความเรงขณะหนึ่ง
มีความหมายวา
การเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในชวงสั้นมาก ๆ หรือขณะใดขณะหนึ่ง
เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง โจทยปญหาเกี่ยวกับความเรง
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปบนถนนตรง เมื่อเวลาผานไป 6 วินาที มีความเร็ว เปน 12 เมตรตอวินาที ถารถมี
อัตราเร็วเพิ่มขึ้นอยางสม่ำเสมอ ขนาดความเรงของรถเปนกี่เมตรตอวินาทีกำลังสอง
วิเคราะหโจทย

จากโจทยจะไดวา :
𝑡𝑡1 = 0.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = 0 𝑚𝑚/𝑠𝑠
𝑡𝑡2 = 6.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = 12 𝑚𝑚/𝑠𝑠
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
วิธีทำ จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
12−0
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
6.0−0

𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 2.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2


ดังนั้น ขนากความเรงเฉลี่ยของรถยนตในการเคลื่อนที่ดังกลาว เทากับ 2.0 เมตรตอวินาที2
2. รถยนตคันหนึ่งกำลังแลนมาดวยความเร็ว 25 m/s พอดีมีเด็กวิ่งตัดหนา คนขับจึง เหยียบเบรก ทำใหความเร็วลดลง
เหลือ 5 m/s ในเวลา 2 s จงหาขนาดและทิศทางของความเรง ของรถขณะเบรก (กำหนดใหทิศทางที่กำลังเคลื่อนที่ไป
เปนบวก และทิศทางตรงกันขามกับการเคลื่อนที่เปนลบ)
วิเคราะหโจทย

จากโจทยจะไดวา :
𝑡𝑡1 = 0.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = +25 𝑚𝑚/𝑠𝑠
𝑡𝑡2 = 2.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = +5 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
วิธีทำ จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
(+5)−(+25)
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
2.0−0
−20
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
2.0
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = −10 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
ดังนั้น ความเรงขณะรถเบรกมีขนาดเทากับ 10 เมตรตอวินาทีกำลังสอง ในทิศทางตรงกันขามกับการเคลื่อนที่
3. ดึงแถบกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่ตอกับแหลงจายไฟกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ ปรากฎจุดบนกระดาษ
ดังภาพดานลาง จงหาความเรงเฉลี่ยของแถบกระดาษจาก A ไป B (ในหนวยเมตรตอวินาที2) โดยกำหนดใหทิศทางขวา
เปนบวกและทิศทางซายเปนลบ

วิธีทำ
2
จากตารางจะไดวา : 𝑡𝑡1 = 0 𝑠𝑠 , 𝑡𝑡2 = 50 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝑥𝑥1 = 2.0 𝑐𝑐𝑐𝑐 ,

8 10
𝑡𝑡3 = 50 𝑠𝑠 , 𝑡𝑡4 = 50 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝑥𝑥2 = 4.0 𝑐𝑐𝑐𝑐 ,
1 9
𝑡𝑡𝐴𝐴 = 50 𝑠𝑠 , 𝑡𝑡𝐵𝐵 = 50 𝑠𝑠

หา 𝑣𝑣𝐴𝐴
𝛥𝛥𝑥𝑥1
จากสูตร 𝑣𝑣𝐴𝐴 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1

2×10−2
แทนคา 𝑣𝑣𝐴𝐴 = 1
(2)(50)

𝑣𝑣𝐴𝐴 = 0.5 𝑚𝑚/𝑠𝑠


ดังนั้น ความเร็วที่จุด A มีขนาดเทากับ 0.5 เมตรตอวินาที มีทิศไปทางขวา

หา 𝑣𝑣𝐵𝐵
𝛥𝛥𝑥𝑥2
จากสูตร 𝑣𝑣𝐵𝐵 =
𝑡𝑡4 −𝑡𝑡3

4×10−2
แทนคา 𝑣𝑣𝐵𝐵 = 1
(2)(50)

𝑣𝑣𝐵𝐵 = 1.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠


ดังนั้น ความเร็วที่จุด B มีขนาดเทากับ 1.0 เมตรตอวินาที มีทิศไปทางขวา
หา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎
𝑣𝑣𝐵𝐵 −𝑣𝑣𝐴𝐴
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡𝐵𝐵 −𝑡𝑡𝐴𝐴
1.0−0.5
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 8
50

𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 3.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2


ดังนั้น ความเรงเฉลี่ยจาก A ไป B เทากับ 3 เมตรตอวินาที2 และมีทิศไปทางขวา

หา 𝑎𝑎𝐶𝐶
𝑣𝑣𝐵𝐵 −𝑣𝑣𝐴𝐴
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡𝐵𝐵 −𝑡𝑡𝐴𝐴
1.0−0.5
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 8
50

𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 3.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2


ดังนั้น ความเรงที่จุด C มีขนาด เทากับ 3 เมตรตอวินาที2 และมีทิศไปทางขวา

You might also like