You are on page 1of 16

โรงเรียน วัดสระเกศ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรูที่ 10 เรื่อง ความเรง
รหัสวิชา ว30201 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 ผูสอน นายปราณนต พิมพพันธุ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 จำนวนนักเรียน คน วันทีส่ อน 13 กรกฎาคม 2564 เวลา 08.20—10.00 (100 นาที)
อาจารยนิเทศกสถานศึกษา ครูนจุ นารถ รุงอเนกทรัพย อาจารยนิเทศคณะครุศาสตร อาจารย ดร.อัศวนนทปกรณ ธเนศวีรภัทร

สาระ ฟสิกส
ผลการเรียนรู
1. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวาง ตำแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรง ของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเรง คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาคา ความเรงโนม
ถวงของโลก และคำนวณปริมาณ ตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
ผลการเรียนรูในสาระที่เชื่อมโยงกัน
1. เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษพลังงาน
กล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
- ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ไดแกตำแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรง โดยความเร็ว และความเรงมีทั้งคาเฉลี่ยและคาขณะหนึ่งซึ่งคิด ในชวงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับ
𝑢𝑢+𝑣𝑣 1
การเคลื่อนที่แนวตรงดวยความเรง คงตัวมีความสัมพันธตามสมการ 𝑣𝑣 = 𝑢𝑢 + 𝑎𝑎𝑎𝑎 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = �
2
� 𝑡𝑡 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 𝑢𝑢𝑡𝑡 + 2 𝑎𝑎𝑡𝑡 2 , 𝑣𝑣 2 = 𝑢𝑢2 + 2𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎
สาระสำคัญ
ความเรง (acceleration) หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวยเวลา วัตถุที่เคลื่อนที่ชาลง แสดงวาวัตถุนี้มีความหนวง และความเรงในกรณีนี้ เรียกวา
ความหนวง นอกจากนั้น ความเรงเฉลี่ย มีความหมายวา อัตราสวนระหวางความเร็ว ที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น สามารถหาไดจาก 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 𝛥𝛥𝛥𝛥
𝛥𝛥𝛥𝛥
𝑣𝑣 −𝑣𝑣
= 2 1 ในทางกลับกันหาก
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1

พิจารณากรณีทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในชวงสั้นมาก ๆ หรือขณะใดขณะหนึ่ง จะเรียกความเรงในกรณีนั้นวาความเรงขณะหนึ่ง


วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
เมื่อเรียนคาบนี้ 1. เนื้อหา 1. ขั้นนำ (15 นาที) - ใบบันทึกขอมูลประกอบการ - นักเรียนสามารถทำ
จบแลวนักเรียน 1.1 ความเรง 1.1 ครูทบทวนเกี่ยวกับการหาอัตราเร็วเฉลี่ยและ บรรยายเรื่อง “ความเรง” การอธิบายความหมาย
สามารถ การเคลื่อนที่ของวัตถุในบางครั้งวัตถุ อัตราเร็วขณะหนึ่งจากการใชเครื่องเคาะ - สื่ออิเล็กทรอนิกส จาก ของความเรง ใน
ดานพุทธิพิสัย อาจมีการเคลื่อนที่ เร็วขึ้นหรือชาลง และ สัญญาณ โปรแกรมพาวเวอรพอยท เรื่อง แบบฝกหัดไดคะแนน
1. อธิบาย บางครั้งมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการ 1.2 ครูใหนักเรียนสังเกต การเปรียบเทียบอัตรา “ความเรง” คิดเปนรอยละ 50 ของ
ความหมายของ เคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ที่มีขนาดหรือทิศทาง เรงของรถจากมิเตอร ในวีดิโอ จากลิงค - หนังสือเรียนอักษรเจริญทัศน คะแนนรวมขึ้นไป
ความเรง ของความเร็วเปลี่ยนแปลงไป เรียกวา การ ตอไปนี้ รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร - นักเรียนสามารถ
ดานทักษะพิสัย เคลื่อนที่แบบมีความเรง https://www.youtube.com/watch?v= ฟสิกส ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 คำนวณเพื่อแกโจทย
1. คำนวณเพื่อแก ความเรง (acceleration) หมายถึง DWWhzfNQYRI (เวลา 1:00 - 2:30)
เลม 1 ปญหาเกี่ยวกับความเรง
โจทยปญหาเกี่ยวกับ อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือ 1.3 ครูใชคำถามเพื่อกระตุนความสนใจของ
- วิดิทัศนเรื่อง “POV 342 ในโจทยที่กำหนดใหใน
ความเรง ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวย นักเรียน ดังนี้
km/h LAMBORGHINI แบบฝกหัดไดคะแนน
ดานจิตพิสัย เวลา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น อาจ 1.3.1 จากวีดิโอ รถดังกลาวมีการ
HURACAN AKRAPOVIC คิดเปนรอยละ 50 ของ
1. มีความรับผิดชอบ เปลี่ยนแปลงเฉพาะขนาดหรือทิศทางของ เปลี่ยนแปลงความเร็วหรือไม (มี)
INSANE! AUTOBAHN คะแนนรวมขึ้นไป
โดยการเขาเรียนและ ความเร็ว หรือเปลี่ยนแปลงทั้งขนาดและ 1.3.2 จากการเคลื่อนที่ของรถจากวีดิโอ
สงงานไดตรงเวลา นักเรียนคิดวาความเรงของรถตลอดการ ACCELERATION TOP SPEED - นักเรียนมีความ
ทิศทางพรอมกันก็ได ความเรงสามารถ
เคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม (มี) DRIVE & SOUND” จาก รับผิดชอบโดยการเขา
เขียนแทนดวยสัญลักษณ a และมีหนวย
1.3.3 นักเรียนคิดวา เลขในมิเตอรของรถ ที่ https://www.youtube.com เรียนและสงงานไดตรง
เปน เมตรตอวินาที2 (m/s2) เนื่องจาก
ความเร็วเปนปริมาณเวกเตอร ความเรงจึง แสดงใหเห็นในวีดิโอ คือคาอะไร (ตอบอะไร /watch?v=DWWhzfNQYRI เวลา
เปนปริมาณเวกเตอรเชนกัน ก็ได)
1.3.4 ความเรงของรถนั้นเกี่ยวของกับคา
มิเตอรหรือไมอยางไร (ตอบอะไรก็ได)
1.4 ครูเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาตอไป
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
วัตถุที่เคลื่อนที่และมีความเรง จะเกิด 2. ขั้นสอน (65 นาที)
การเปลี่ยนแปลงความเร็วเมื่อเทียบกับเวลา 2.1 ครูแนะนำความหมายของความเรงและ
ซึ่งสามารถเขียนกราฟแสดงการ ความหนวง
เปลี่ยนแปลงความเร็วเมื่อเทียบกับเวลาดัง 2.2 ครูอธิบายตัวอยางของสถานการณเกี่ยวกับ
ภาพดานลาง ความเรงและความหนวงทั้งสองกรณีดังนี้
2.2.1 อภิปรายโดยช้ำคำถาม เพื่อทำความ
เขาใจมากขึ้น ตามกรณีที่ 1 ดังนี้

และเมื่อพิจารณากราฟจะไดวา ที่เวลา
เริ่มตน 𝑡𝑡1 วัตถุมีความเร็ว 𝑣𝑣1และตอมาที่
เวลา 𝑡𝑡2 วัตถุมีความเร็ว 𝑣𝑣2 จาก - การเคลื่อนที่ของรถมีการเปลี่ยนแปลง
ความหมายของความเรง ที่กลาวขางตน จะ ความเร็วหรือไม อยางไร (มี เพิ่มขึ้น)
สามารถหาความเรงได ดังสมการ - เมื่อคำนวณจากสมการความเรงมีคาเปน
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1 บวกหรือเปนลบ (บวก)
𝑎𝑎 = =
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 − 𝑡𝑡1 - ถือวาเปนการเคลื่อนที่แบบมีความเรง
หรือมีความหนวง (ความเรง)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
และถาพิจารณาการเปลี่ยนแปลง 2.2.2 อภิปรายโดยช้ำคำถาม เพื่อทำความ
ความเร็วของวัตถุในชวงสั้นมาก ๆ หรือ เขาใจมากขึ้น ตามกรณีที่ 2 ดังนี้
ขณะใดขณะหนึ่ง จะเรียกความเรงในกรณี
นั้นวาความเรงขณะหนึ่ง
แตถาพิจารณาการเคลื่อนที่ใน
ชวงเวลา ความเรงขณะหนึ่งอาจมีคาไมคง
ตัว คือ อาจเพิ่มขึ้นหรือลดลงไดตลอดเวลา
ความเรงในชวงเวลาดังกลาว เรียกวา
ความเรงเฉลี่ย (average Acceleration:
a) มีความหมาย คือ อัตราสวนระหวาง
ความเร็ว ที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่ - การเคลื่อนที่ของรถมีการเปลี่ยนแปลง
เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น สามารถ ความเร็วหรือไม อยางไร (มี ลดลง)
หาไดจาก - เมื่อคำนวณจากสมการความเรงมีคาเปน
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1 บวกหรือเปนลบ (ลบ)
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = = - ถือวาเปนการเคลื่อนที่แบบมีความเรง
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 − 𝑡𝑡1
การพิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุวา หรือมีความหนวง (ความหนวง)
เร็วขึ้นหรือชาลงจะตองพิจารณาถึง
เครื่องหมายของความเร็วและความเรง ถา 2.3 ครูอธิบายเพื่อแนะนำสมการที่ใชคำนวณเพื่อ
มีความเร็วและความเรงของวัตถุมี หาคาความเรงเฉลี่ย ดังนี้
เครื่องหมายเหมือนกันวัตถุจะเคลื่อนที่เร็ว
ขึ้น ถาความเร็วและความเรงของวัตถุมี 𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = =
เครื่องหมายตางกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ชาลง 𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 − 𝑡𝑡1
ซึ่งความเรงในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ชาลง
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
แสดงวาวัตถุนี้มีความหนวง ซึ่งความเรงใน 2.4 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “รถยนตคนั หนึ่ง
กรณีนี้ เรียกวา ความหนวง วิ่งบนถนนตรงโดยมีความเร็วและเวลา
(deceleration) โดยมีกรณีตัวอยาง สัมพันธกัน ดังตาราง
ดังตอไปนี้
2.5

ก. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 0 ถึง
0.8 ชั่วโมง
ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 1.0 ถึง
2.0 ชั่วโมง” ดังนี้
2.4.1 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาให
บาง สำหรับขอ ก.
(𝑡𝑡1 = 0.0 ℎ , 𝑣𝑣1 = 28 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟
และ
𝑡𝑡2 = 0.8 ℎ , 𝑣𝑣2 = 54 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟 )
2.4.2 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
วิธีทำ
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
54−28
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
0.8−0
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 32.5 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ2
ดังนั้น รถยนตมีความเรงเฉลี่ยในชวง
ดังกลาว เทากับ 32.5 กิโลเมตรตอ
ชั่วโมง2
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2 โจทยตัวอยางเกี่ยวกับความเรง 2.4.3 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาให
1.2.1 รถยนตคันหนึง่ วิ่งบนถนนตรงโดยมี บาง สำหรับขอ ก.
(𝑡𝑡1 = 1.0 ℎ , 𝑣𝑣1 = 58 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟
ความเร็วและเวลาสัมพันธกัน ดังตาราง
𝑡𝑡2 = 2.0 ℎ , 𝑣𝑣2 = 52 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟)
2.4.4 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
วิธีทำ
ก. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 0 จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
ถึง 0.8 ชั่วโมง 52−58
วิเคราะหโจทย แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
2.0−1.0
จากตารางจะไดวา : 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = −6 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ2
ดังนั้น รถยนตมีความเรงเฉลี่ยในชวง
𝑡𝑡1 = 0.0 ℎ , 𝑣𝑣1 = 28 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟
𝑡𝑡2 = 0.8 ℎ , 𝑣𝑣2 = 54 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟 ดังกลาว เทากับ -6 กิโลเมตรตอชั่วโมง2
วิธีทำ หรือ รถยนตมีความหนวงในชวงดังกลาว
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1 เทากับ 6 กิโลเมตรตอชั่วโมง2
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
54−28
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
0.8−0
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 32.5 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ2
ดังนั้น รถยนตมีความเรงเฉลี่ยในชวง
ดังกลาว เทากับ 32.5 กิโลเมตรตอชั่วโมง2
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 2.6 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา“วัตถุหนึ่ง
1.0 ถึง 2.0 ชั่วโม เคลื่อนที่ในแนวเสนตรงสามารถเขียนกราฟ
วิเคราะหโจทย ความสัมพันธระหวางตำแหนงกับเวลาได ดัง
จากตารางจะไดวา : ภาพ
𝑡𝑡1 = 1.0 ℎ , 𝑣𝑣1 = 58 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟
𝑡𝑡2 = 2.0 ℎ , 𝑣𝑣2 = 52 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟
วิธีทำ
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
52−58
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
2.0−1.0
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = −6 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ2
ดังนั้น รถยนตมีความเรงเฉลี่ยในชวง
ดังกลาว เทากับ -6 กิโลเมตรตอชั่วโมง2
หรือ รถยนตมีความหนวงในชวงดังกลาว
ก. จงหาความเร็วที่เวลา 4 และ 12 วินาที
เทากับ 6 กิโลเมตรตอชั่วโมง2 ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 4 ถึง 12
วินาที
2.6.1 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
สำหรับขอ ก.
(𝑡𝑡1 = 2.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥1 = 6.0 𝑚𝑚
𝑡𝑡2 = 8.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥2 = 8.0 𝑚𝑚
𝑡𝑡3 = 10.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥1 = 8.0 𝑚𝑚
𝑡𝑡4 = 14.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥2 = 12.0 𝑚𝑚 )
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2.2 วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรง 2.6.2 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
สามารถเขียนกราฟความสัมพันธระหวาง วิธีทำ
𝑥𝑥2 −𝑥𝑥1
ตำแหนงกับเวลาได ดังภาพ จากสูตร 𝑣𝑣4 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
8.0−6.0
แทนคา 𝑣𝑣4 =
8.0−2.0
𝑣𝑣4 = 0.3 𝑚𝑚/𝑠𝑠
วิธีทำ
𝑥𝑥4 −𝑥𝑥3
จากสูตร 𝑣𝑣12 =
𝑡𝑡4 −𝑡𝑡3
12.0−8.0
แทนคา 𝑣𝑣4 =
14.0−10.0
𝑣𝑣4 = 1 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น ที่เวลา 4 วินาที และ 12 วินาที วัตถุนี้
ก. จงหาความเร็วที่เวลา 4 และ 12 มีความเร็วเทากับ 0.3 กับ 1 เมตรตอวินาที
วินาที
วิเคราะหโจทย 2.6.3 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
จากกราฟจะไดวา : สำหรับขอ ข.
𝑡𝑡1 = 2.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥1 = 6.0 𝑚𝑚 (𝑡𝑡1 = 4.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = 0.3 𝑚𝑚/𝑠𝑠
𝑡𝑡2 = 8.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥2 = 8.0 𝑚𝑚
𝑡𝑡2 = 12.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = 1.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠 )
𝑡𝑡3 = 10.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥1 = 8.0 𝑚𝑚
𝑡𝑡4 = 14.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥2 = 12.0 𝑚𝑚
วิธีทำ
𝑥𝑥2 −𝑥𝑥1
จากสูตร 𝑣𝑣4 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
8.0−6.0
แทนคา 𝑣𝑣4 =
8.0−2.0
𝑣𝑣4 = 0.3 𝑚𝑚/𝑠𝑠
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
วิธีทำ 2.6.4 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
𝑥𝑥4 −𝑥𝑥3 วิธีทำ
จากสูตร 𝑣𝑣12 =
𝑡𝑡4 −𝑡𝑡3 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
12.0−8.0 จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
แทนคา 𝑣𝑣4 = 𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
14.0−10.0 1.0−0.3
𝑣𝑣4 = 1 𝑚𝑚/𝑠𝑠 แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
12.0−4.0
ดังนั้น ที่เวลา 4 วินาที และ 12 วินาที วัตถุ 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 0.09 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2
นี้มีความเร็วเทากับ 0.3 กับ 1 เมตรตอ ดังนั้น ในชวงเวลา 4 ถึง 12 วินาที วัตถุมี
ความเรงเฉลี่ยเทากับ 0.09 เมตรตอวินาที2
วินาที
3. ขั้นสรุป (20 นาที)
ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 4
3.1 ครูใชคำถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจ ดังนี้
ถึง 12 วินาที 3.1.1 ความเรง มีความหมายวาอยางไร
จากขอที่แลวจะไดวา : (อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือ
𝑡𝑡1 = 4.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = 0.3 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวย
𝑡𝑡2 = 12.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = 1.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠
วิธีทำ เวลา เพื่อสรุปเกี่ยวกับความหมายของ
𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1 ความเรง)
จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1 3.1.2 ความหนวง มีความหมายวาอยางไร
1.0−0.3
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = (ความเรงในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ชาลง
12.0−4.0
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 0.09 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2 หรือความเรงที่มีคาเปนลบ เพื่อสรุป
ดังนั้น ในชวงเวลา 4 ถึง 12 วินาที วัตถุมี เกี่ยวกับความหมายของความหนวง)
ความเรงเฉลี่ยเทากับ 0.09 เมตรตอวินาที2
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2. กระบวนการ 3.1.3 ความเรงเฉลี่ย มีความหมายวาอยางไร
สมรรถนะสำคัญ 5 ดาน (อัตราสวนระหวางความเร็ว ที่
เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่เกิดการ
- ความสามารถในการสื่อสาร: ในการตอบ
เปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น เพื่อสรุป
คำถามที่ครูทำการถามไดอยางตรงประเด็น เกี่ยวกับความหมายของความเรงเฉลี่ย)
- ความสามารถในการคิด: ในการคิดหา 3.1.4 ความเรงเฉลี่ย สามารถหาไดจาก
คำตอบที่จะตองตอบและคำนวณปริมาณได สมการใด
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
อยางถูกตอง (𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = = เพื่อสรุป
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
- ความสามารถในการแกปญหา: ในการแก เกี่ยวกับสมการที่ใชในการคำนวณหา
โจทยปญหา ความเรงเฉลี่ย)
3.1.5 ความเรงขณะหนึ่ง มีความหมายวา
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต (-) อยางไร
- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี (-) (การเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุ
ในชวงสั้นมาก ๆ หรือขณะใดขณะหนึ่ง
เพื่อสรุปเกี่ยวกับความหมายของ
3. คุณลักษณะอันพึงประสงค ความเรงขณะหนึ่ง)
- มีความรับผิดชอบ จากการเขาเรียนและ
สงงานตรงเวลา
- มุงมั่นในการทำงาน จากการตอบคำถาม
ในชั้นเรียน และทำโจทยที่กำหนดใหให
เสร็จทันเวลา
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง ความเรง
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. ความเรง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

2. ความหนวง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

3. ความเรงเฉลี่ย
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

4. ความเรงเฉลี่ย
สามารถคำนวณหาไดจากสมการ ...............................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

5. ความเรงขณะหนึ่ง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
แบบฝกหัด เรื่อง ความเรง ในหนังสือเรียน
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. รถยนตคันหนึ่งวิ่งบนถนนตรงโดยมีความเร็วและเวลาสัมพันธกัน ดังตาราง

ก. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 0 ถึง 0.8 ชั่วโมง


ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 1.0 ถึง 2.0 ชั่วโมง” ดังนี้
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
2. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงสามารถเขียนกราฟความสัมพันธระหวางตำแหนงกับเวลาได ดังภาพ

ก. จงหาความเร็วที่เวลา 4 และ 12 วินาที


ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 4 ถึง 12 วินาที
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง ความเรง
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. ความเรง
มีความหมายวา
อัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือความเร็วที่เปลี่ยนแปลงไปในหนึ่งหนวยเวลา

2. ความหนวง
มีความหมายวา
ความเรงในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ชาลง หรือความเรงที่มีคาเปนลบ

3. ความเรงเฉลี่ย
มีความหมายวา
อัตราสวนระหวางความเร็ว ที่เปลี่ยนไปทั้งหมดกับชวงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็วนั้น

4. ความเรงเฉลี่ย
สามารถคำนวณหาไดจากสมการ
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = =
𝛥𝛥𝛥𝛥 𝑡𝑡2 − 𝑡𝑡1

5. ความเรงขณะหนึ่ง
มีความหมายวา
การเปลี่ยนแปลงความเร็วของวัตถุในชวงสั้นมาก ๆ หรือขณะใดขณะหนึ่ง
เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง ความเรง ในหนังสือเรียน
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. รถยนตคันหนึ่งวิ่งบนถนนตรงโดยมีความเร็วและเวลาสัมพันธกัน ดังตาราง

ก. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 0 ถึง 0.8 ชั่วโมง


ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 1.0 ถึง 2.0 ชั่วโมง” ดังนี้
ก. วิเคราะหโจทย

จากตารางจะไดวา : 𝑡𝑡1 = 0.0 ℎ , 𝑣𝑣1 = 28 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟

𝑡𝑡2 = 0.8 ℎ , 𝑣𝑣2 = 54 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟


𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
วิธีทำ จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
54−28
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
0.8−0

𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 32.5 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ2


ดังนั้น รถยนตมีความเรงเฉลี่ยในชวงดังกลาว เทากับ 32.5 กิโลเมตรตอชั่วโมง2
ข. วิเคราะหโจทย

จากตารางจะไดวา : 𝑡𝑡1 = 1.0 ℎ , 𝑣𝑣1 = 58 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟

𝑡𝑡2 = 2.0 ℎ , 𝑣𝑣2 = 52 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ𝑟𝑟


𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
วิธีทำ จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
52−58
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
2.0−1.0

𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = −6 𝑘𝑘𝑘𝑘/ℎ2
ดังนั้น รถยนตมีความเรงเฉลี่ยในชวงดังกลาว เทากับ -6 กิโลเมตรตอชั่วโมง2 หรือ รถยนตมีความหนวงในชวงดังกลาว
เทากับ 6 กิโลเมตรตอชั่วโมง2
2. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงสามารถเขียนกราฟความสัมพันธระหวางตำแหนงกับเวลาได ดังภาพ

ก. จงหาความเร็วที่เวลา 4 และ 12 วินาที


ข. จงหาความเรงเฉลี่ยในชวงเวลา 4 ถึง 12 วินาที
ก. จากกราฟจะไดวา : 𝑡𝑡1 = 2.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥1 = 6.0 𝑚𝑚

𝑡𝑡2 = 8.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥2 = 8.0 𝑚𝑚


𝑡𝑡3 = 10.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥1 = 8.0 𝑚𝑚
𝑡𝑡4 = 14.0 𝑠𝑠 , 𝑥𝑥2 = 12.0 𝑚𝑚
𝑥𝑥2 −𝑥𝑥1
วิธีทำ จากสูตร 𝑣𝑣4 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
8.0−6.0
แทนคา 𝑣𝑣4 =
8.0−2.0

𝑣𝑣4 = 0.3 𝑚𝑚/𝑠𝑠


𝑥𝑥4 −𝑥𝑥3
วิธีทำ จากสูตร 𝑣𝑣12 =
𝑡𝑡4 −𝑡𝑡3
12.0−8.0
แทนคา 𝑣𝑣4 =
14.0−10.0

𝑣𝑣4 = 1 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น ที่เวลา 4 วินาที และ 12 วินาที วัตถุนี้มีความเร็วเทากับ 0.3 กับ 1 เมตรตอวินาที

ข. จากขอที่แลวจะไดวา : 𝑡𝑡1 = 4.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣1 = 0.3 𝑚𝑚/𝑠𝑠

𝑡𝑡2 = 12.0 𝑠𝑠 , 𝑣𝑣2 = 1.0 𝑚𝑚/𝑠𝑠


𝑣𝑣2 −𝑣𝑣1
วิธีทำ จากสูตร 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
𝑡𝑡2 −𝑡𝑡1
1.0−0.3
แทนคา 𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 =
12.0−4.0

𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎 = 0.09 𝑚𝑚/𝑠𝑠 2


ดังนั้น ในชวงเวลา 4 ถึง 12 วินาที วัตถุมีความเรงเฉลี่ยเทากับ 0.09 เมตรตอวินาที2

You might also like