You are on page 1of 64

2/27/15 สภาวิ

ศวกร

วิ
ชา : Engineering Materials
เนื
อหาวิ
้ ชา : 238 : 01 Metals

ข
อที

1 : แร
Bauxite ที
เป
่ น วัตถุ
ดิ
บในการถลุ
งอะลู
มิ
เนี
ยม มี
ส ารประกอบใดเป
น สารประกอบหลัก

1 : Bayer
Al O
2: 2 3
3 : Al2 (SO4 ) 3
4 : Na3 AlF6

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

2 : เหล็
กหล
อ หมายถึ
ง เหล็
กที
มี
่ปริ
มาณของธาตุ
คาร
บอนผสมอยู
ระหว
 างค
าดังข
อใด

1 : 0.022 - 6.7 % โดยน้


าหนัก

2 : 1.2 - 6.7 % โดยน้
าหนัก

3 : 2.0 - 4.3 % โดยน้
าหนัก

4 : 2.0 - 6.7 % โดยน้
าหนัก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

3 : เหล็
กกล
าคาร
บอนปานกลาง มี
ปริ
มาณของธาตุ
คาร
บอนผสมอยู
เป
 น ปริ
มาณเท
าใด

1 : 0.40 % โดยปริ
มาตร
2 : 0.40 % โดยน้
าหนัก

3 : 0.04 % โดยปริ
มาตร
4 : 0.04 % โดยน้
าหนัก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

4 : เหล็
กกล
าคาร
บอนต่
า มักนิ
ํ ยมนํ
ามาใช
ผลิ
ตเป
น ผลิ
ตภัณฑ
ในข
อใด

1 : ตัวถังรถยนต
2 : ลูกสูบ
3 : มี
ดกลึ ง
4 : ดอกสว าน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

5 : เหล็
กกล
าคาร
บอนปานกลางมี
ค
าความแข็
ง (Hardness) เป
น อย
างไร เที
ยบกับเหล็
กกล
าคาร
บอนสู
งภายใต
เงื
อนไขสภาวะการอบชุ
่ บเหมื
อนกัน

1 : น
อยกว า
2 : มากกวา
3 : เท
ากัน
4 : ไม
ส ามารถระบุ
ได
ว
าเป
น อย
างไร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

6 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
วัตถุ
ประสงค
ข องการเติ
มธาตุ
โครเมี
ยม (Cr) ในเหล็
กกล
าผสมสู
ง (High alloy steels)

1 : เพิ
มความแข็
่ งแรง ลดการผุกร
อน
2 : เพิ
มความแข็
่ ง
3 : เพิ
มความเหนี
่ ยว ขึ
น รู
้ ปง
าย
4 : เพิ
มความสามารถในการต
่ านทานการคื
บ (Creep)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

7 : ในกระบวนการผลิ
ตเหล็
กหล
อเหนี
ยว (Nodular cast iron) ธาตุ
ใดที
เติ
่ มลงไปเพื
อทํ
่ าให
แกรไฟต
รวมตัวกัน เป
น อนุ
ภาคทรงกลม

1 : โครเมี
ยม
2 : ซี
เรี
ยม
3 : คาร
บอน
4 : โคบอลต

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

8 : ทองเหลื
อง (Brass) คื
อโลหะผสมของธาตุ
หลักธาตุ
ใด

1 : ทองแดง และเงิ

2 : ทองแดง และดีบุ

3 : ทองแดง และตะกั่

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 1/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : ทองแดง และสังกะสี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

9 : โลหะผสมสู
งกลุ
มซู
 เปอร
อัลลอย (Superalloys) เช
น Nickel-based superalloys มักนิ
ยมนํ
าไปใช
งานใดในป
จจุ
บัน

1 : ใบพัดในเครื
องกังหัน ก
่ าซในเครื
องบิ
่ น ไอพ

2 : อุ
ปกรณ ภายในเครื
องคอมพิ
่ วเตอร
เช
น ฮาร
ดดิ
ส ค
3 : ลู
กสูบเครื
องยนต

4 : มี
ดกลึง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

10 : โลหะใดไม
ใช
โลหะทนไฟ (Refractory Metal)

1 : ทังสเตน
2 : โมลิบดิน ัม
3 : แทนทาลัม
4 : เยอรมัน เนียม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

11 : โลหะใดจัดเป
น โลหะมี
ส กุ
ล (Noble Metal)

1 : ทังสเตน
2 : แพลติ น ัม
3 : ซิลิ
กอน
4 : เยอรมัน เนียม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

12 : โลหะใดจัดเป
น โลหะหนัก

1 : แมกนีเซี
ยม
2 : อะลู
มิ
เนียม
3 : เบอริ
ลเลี ยม
4 : โมลิ
บดิน ัม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

13 : โลหะใดที
ไม
่ ควรนํ
ามาเป
น ภาชนะบรรจุ
อาหาร

1 : อะลูมิเนี
ยม
2 : ตะกั่

3 : ดี
บุ

4 : เหล็กกลาไร
ส นิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

14 : โลหะใดไม
เหมาะสมสํ
าหรับนํ
ามาทํ
าเป
น กระทะเพื
อปรุ
่ งอาหาร

1 : อะลู
มิ
เนี
ยม
2 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ

3 : ทองแดง
4 : แมกนี
เซี
ยม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

15 : พิ
วเตอร
(Pewter) คื
อ โลหะผสมใด

1 : ดี
บุ
กผสม
2 : ทองแดงผสม
3 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสม
4 : ไทเทเนี
ยมผสม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

16 : โลหะใดที
นํ
่ามาใช
ทํ
าเป
น ชิ
น ส
้ วนเครื
องบิ
่ น น
อยที
สุ
่ด

1 : ไทเทเนียม
2 : อะลูมิ
เนี
ยม
3 : สังกะสี
4 : นิกเกิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

17 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มเกรด 18-8 หมายถึ
ง เหล็
กกล
าที
ผสมโลหะชนิ
่ ดใดเป
น ปริ
มาณสู
งสุ
ดสองชนิ
ดแรก

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 2/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : โครเมี
ยม-นิ
เกิ

2 : ไทเทเนี
ยม-นิเกิ

3 : โครเมี
ยม-ซิ
ลิกอน
4 : ไทเทเนี
ยม-ซิลิกอน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

18 : ผลิ
ตภัณฑ
ใดที
ไม
่ ส ามารถใช
อะลู
มิ
เนี
ยมเป
น ส
วนผสมหลักได

1 : วงลอรถยนต
2 : ตัวถังรถยนต
3 : กระป องน้
าอัดลม

4 : ไสหลอดไฟ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

19 : เหล็
กชนิ
ดใดต
อไปนี
ส ามารถกลึ
้ งเพื
อตกแต
่ งขึ
น รู
้ ปได
ง
ายที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกล
าชุ
บแข็ ง
2 : เหล็
กหล
อขาว
3 : เหล็
กหล
อกราไฟต กลม
4 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มเฟร
ไรต

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

20 : เหล็
กกล
าชนิ
ดใดมี
ส ภาพดึ
งยื
ดได
(Ductility) มากที
สุ
่ด ภายใต
ส ภาวะการอบชุ
บที
เหมื
่ อนกัน

1 : เหล็
กกล
าคาร
บอนต่า

2 : เหล็
กกล
าคาร
บอนปานกลาง
3 : เหล็
กกล
าคาร
บอนสูง
4 : เหล็
กกล
าเครื
องมื
่ อ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

21 : ในกระบวนการผลิ
ตเหล็
กหล
อเทา ธาตุ
ใดที
ต
่องเติ
มลงไปเพื
อทํ
่ าให
คาร
บอนรวมตัวกัน เป
น กราไฟต

1 : อะลูมิ
เนียม
2 : ซิ
ลิกอน
3 : แคลเซี ยม
4 : แมกนีเซียม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

22 : ข
อใดไม
ใช
ส มบัติ
ข องเหล็
กกล
าคาร
บอนต่

1 : มี
ความเหนียวสู ง
2 : สามารถตกแต งขึน รู
้ ปได
ง
าย
3 : สามารถชุบแข็ งไดงาย
4 : ไม
ส ามารถรับแรงกระแทกได มาก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

23 : ข
อใดไม
ใช
ส มบัติ
เด
น ของอะลู
มิ
เนี
ยม

1 : น้
าหนักเบา

2 : ทนอุ
ณหภู มิ
ไดสู

3 : อ
อนแตเหนียว
4 : นํ
าความรอนได ดี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

24 : บรอนซ
คื
อ โลหะผสมชนิ
ดใด

1 : ทองแดงผสมดี บุ

2 : อะลูมิ
เนี
ยมผสมทองแดง
3 : ดี
บุกผสมตะกั่

4 : นิ
เกิลผสมไทเทเนี ยม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

25 : ข
อใดคื
อลักษณะเด
น ของเหล็
กหล
อขาว

1 : แข็ง ยากตอการตกแต ง
2 : ออน เหนียว ตกแต
ง-ขึน รู
้ ปได
ง
าย
3 : รับแรงอัดและแรงสั่
น สะเทือนได
ดี
4 : ไมทนตอการเสียดสี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 3/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

26 : เหล็
กหล
อเทาต
างจากเหล็
กหล
อขาวอย
างไร

1 : เหล็
กหล
อเทามี
ซิ
ลิกอนเปน สวนผสม แตเหล็กหลอขาวไมมี
2 : เหล็
กหล
อเทามี
กราไฟตอิส ระเป
น ส
วนหนึงของโครงสร
่ าง แต
เหล็
กหล
อขาวไม
มี
3 : เหล็
กหล
อเทามี
ความแข็ งมากกวาเหล็กหลอขาว
4 : เหล็
กหล
อเทาสามารถรับแรงกระแทกได นอยกวาเหล็
กหลอขาว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

27 : ในกระบวนการผลิ
ตเหล็
กหล
อกราไฟต
กลม ธาตุ
ใดที
ต
่องเติ
มลงไปเพื
อทํ
่ าให
กราไฟต
อิ
ส ระเป
น ทรงกลม

1 : อะลูมิ
เนียม
2 : ซิ
ลิกอน
3 : แคลเซี ยม
4 : แมกนีเซียม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

28 : เหล็
กกล
าผสมชนิ
ดใดที
ไม
่ ส ามารถชุ
บแข็
งได
ดี

1 : เหล็
กกล
าโมลิบดิน ัม
2 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มออสเทไนต
3 : เหล็
กกล
าแมงกานี ส
4 : เหล็
กกล
าโครเมียม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

29 : เหล็
กกล
าถู
กแบ
งแยกออกจากเหล็
กหล
อด
วยปริ
มาณคาร
บอนกี
เปอร
่ เซ็
น ต

1 : 1%
2 : 2%
3 : 3%
4 : 4%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

30 : ธาตุ
ผสมใดที
มี
่ส
วนสํ
าคัญในการทํ
าให
เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มทนต
อการเกิ
ดสนิ
มในบรรยากาศปกติ
และต
องมี
ปริ
มาณธาตุ
อย
างน
อยสุ
ดเท
าใด

1 : 13% โดยน้
าหนักโครเมี
ํ ยม
2 : 8% โดยน้
าหนักโครเมี
ํ ยม
3 : 13% โดยน้
าหนักนิ
ํ เกิ

4 : 8% โดยน้
าหนักนิ
ํ เกิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

31 : ข
อความใดต
อไปนี
เป
้ น การกล
าวที
ถู
่กต
อง

1 : เหล็
กกลา Hypoeutectoid plain-carbon คือเหล็กกล
าที
มี
่ปริ
มาณคาร บอนมากกว า 0.8% โดยน้
าหนัก

2 : เหล็
กเส
น ทีใช
่ ในงานกอสรางทํ าจากเหล็ กหลอ
3 : ธาตุ
ทีมี
่บทบาทในการทํ าให เหล็กกลาไร
ส นิมสามารถทนตอการกัดกร
อนไดดี
คือโครเมียม
4 : เหล็
กหลอเปน โลหะผสมประเภท Ferrous ที มี
่ปริมาณคาร
บอนนอยกวา 2.4% โดยน้ าหนัก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

32 : โลหะใดต
อไปนี
มี
้จุ
ดหลอมเหลวที
ต่
่าที
ํ สุ
่ด

1 : ทองแดง
2 : ทองแดงผสมสังกะสี
3 : ทองแดงผสมเหล็ก
4 : ทองแดงผสมนิเกิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

33 : ชิ
น งานใดต
้ อไปนี
มี
้ความแข็
งแรงสู
งสุ

1 : เหล็
กกล
าคารบอนต่าชุ
ํ บแข็

2 : เหล็
กกล
าคารบอนปานกลางชุบแข็

3 : เหล็
กกล
าผสมต่ าชุ
ํ บแข็

4 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มออสเทไนตชุ
บแข็

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

34 : โลหะชนิ
ดใดต
อไปนี
ที
้เหมาะสมสํ
่ าหรับทํ
าเครื
องยนต
่ (Engine block) สํ
าหรับรถแข
งมากที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกล
า (Steel) เนื
องจากหล
่ อง
ายที สุ
่ด
2 : เหล็
กกล
าไรส นิ
ม (Stainless steel) เพราะทนตอการเกิดสนิ
มได
ดี
3 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสม (Aluminium alloy) เพราะมี น้
าหนักเบา

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 4/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : โลหะผสมยิ
งยวด (Superalloy) เพราะทนอุ
่ ณหภู
มิ
สู
งได
ดี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

35 : วัส ดุ
แม
เหล็
กถาวรชนิ
ดใดต
อไปนี
ที
้ให
่ กํ
าลังแม
เหล็
กสู
งสุ

1 : เหล็กคารบอน
2 : อัลนิโค (Alnico)
3 : เฟรไรต(Hard Ferrite)
4 : นิโอดิเมี
ยม-บอรอน (NdFeB)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

36 : โลหะชนิ
ดใดต
อไปนี
ส ามารถนํ
้ ามารี
ดเย็
น เป
น แผ
น บางได
ง
ายที
สุ
่ด

1 : อะลู
มิ
เนี
ยม
2 : ทองแดง
3 : ทองเหลื
อง
4 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

37 : โลหะชนิ
ดใดต
อไปนี
ที
้เหมาะสํ
่ าหรับการผลิ
ตวงล
อรถยนต
มากที
สุ
่ด

1 : อะลู
มิ
เนี
ยมบริ
สุ
ทธิ

2 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมซิ
ลิ
คอน
3 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมทองแดง
4 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมแมงกานี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

38 : โลหะชนิ
ดใดต
อไปนี
ไม
้ เกิ
ดสนิ

1 : เหล็
กกล าไร
ส นิ

2 : ทองแดง
3 : อะลู
มิเนี
ยม
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

39 : เหล็
กกล
าชนิ
ดใดต
อไปนี
เหมาะสํ
้ าหรับใช
งานที
อุ
่ณหภู
มิ
สู

1 : เหล็
กกล
าคารบอนสูง (High carbon steel)
2 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มเฟร
ไรต (Ferritic stainless steel)
3 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มออสเทไนต (Austenetic stainless steel)
4 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มมาร
เทนไซต (Martensitic stainless steel)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

40 : โลหะชนิ
ดใดต
อไปนี
เหมาะสํ
้ าหรับการผลิ
ตถังไฮโดรเจนเหลวสํ
าหรับยานอวกาศมากที
สุ
่ด

1 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมทองแดง
2 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมลิเทียม
3 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมซิลิคอน
4 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมสังกะสี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

เนื
อหาวิ
้ ชา : 239 : 02 Engineering polymers

ข
อที

41 : ข
อใดไม
ใช
วัส ดุ
พอลิ
เมอร

1 : ยาง (Rubber)
2 : พลาสติ ก (Plastic)
3 : ไม(Wood)
4 : แก
ว (Glass)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

42 : ยางที
ผ
่านกระบวนการ Vulcanization แล
ว จัดเป
น พอลิ
เมอร
ประเภทใด

1 : พอลิ
เมอร
แบบสายโซ ตรง (Linear polymer)
2 : พอลิ
เมอร
แบบครอสลิ งค(Crosslinked polymer)
3 : พอลิ
เมอร
แบบสายเดียว (Single chain polymer)

4 : พอลิ
เมอร
แบบกิ
ง (Branched polymer)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

43 : ข
อใดเป
น พอลิ
เมอร
แบบโครงข
าย (network)
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 5/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : พอลิส ไตรี
น (Polystyrene)
2 : ฟ
น อลฟอรมัลดีไฮด(Phenol-formaldehyde)
3 : พอลิเอทธิลี
น (Polyethylene)
4 : พอลิพรอพิลีน (Polypropylene)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

44 : ข
อใดเป
น ลักษณะของเทอร
โมพลาสติ
ก (Thermoplastic)

1 : แข็
งตัวเมื
อถู
่ กความร
อน และออนตัวเมือลดอุ
่ ณหภู มิ
2 : อ
อนตัวเมื
อถู
่ กความร
อน แต
กลับมาแข็ งตัวเมื
อลดอุ
่ ณหภูมิ
3 : แข็
งตัวเมื
อถู
่ กความร
อน และไมส ามารถทํ าใหอ
อนตัวได
อีก
4 : แข็
งตัวเมื
อถู
่ กความร
อน แต
ส ามารถทํ าใหออนตัวได
เมื
อลดอุ
่ ณหภู
มิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

45 : ข
อใดต
อไปนี
กล
้ าวไม
ถู
กต
อง

1 : โคพอลิ เมอร(Copolymer) ประกอบด วย มอนอเมอรมากกวาหนึงชนิ


่ ดเรี
ยงต
อกัน
2 : อัลเทอรเนตโคพอลิ เมอร (Alternate copolymer) ประกอบดวย มอนอเมอร
มากกวาหนึงชนิ
่ ดเรี
ยงต
อแบบสลับกัน
3 : แรนดอมโคพอลิ เมอร(Random copolymer) ประกอบด วย มอนอเมอรมากกว
าหนึงชนิ
่ ดเรี
ยงตอแบบสุ


4 : กราฟทโคพอลิ เมอร(Graft copolymer) ประกอบด วย มอนอเมอรมากกว
าหนึงชนิ
่ ดเรี
ยงตออยู
ในสายโซ
 ที
เป
่ น เส
น ตรง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

46 : ป
จจัยใดมี
ผลต
อสมบัติ
เชิ
งกลของพอลิ
เมอร
แบบกึ
งผลึ
่ ก (Semicrystalline polymers)

1 : น้าหนักโมเลกุ
ํ ล (Molecular weight)
2 : ระดับของสภาพเป น ผลึ
ก (Degree of crystallinity)
3 : การอบอ อน (Annealing)
4 : ขอ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่47 :
จากกราฟความเค
น -ความเครี
ยด (Stress-strain plot) กราฟเส
น ใดแสดงสมบัติ
ข องวัส ดุ
ยื
ดหยุ
น (Elastomeric polymer)

1 :I
2 : II
3 : III
4 : IV

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

48 : พอลิ
เมอร
ใดต
อไปนี
เป
้ น เทอร
โมพลาสติ
ก (Thermoplastics)

1 : PVC
2 : Epoxy resins
3 : Polyester
4 : Melamine

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

49 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
พอลิ
เมอร

1 : พอลิ
เอทิลี
น (Polyethylene)
2 : พอลิ
คาร
โบเนต (Polycarbonate)
3 : ซิ
ลิ
คอนคาร ไบด (Silicon carbide)
4 : ซิ
ลิ
โคน (Silicone)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

50 : เพราะเหตุ
ใดยางรถยนต
จึ
งมี
สี
ดํ

1 : เนื
องจากต
่ องสัมผัส ถนนซึงมี
่ ความสกปรก จึงผสมสี ดํ
าลงไป
2 : เนื
องจากต
่ องการให มี
ความแข็งแรงขึ
น จึ
้ งใส
ส ารเสริ
มแรงชนิดหนึ
งซึ
่ งมี
่ สี
ดํ
าลงไป
3 : เพื
อให
่ ง
ายตอการดูแลรักษา
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

51 : โดยทั่
วไปพอลิ
เมอร
มี
ส มบัติ
เชิ
งกลในข
อใดต
อไปนี
มากกว
้ าวัส ดุ
วิ
ศวกรรมชนิ
ดอื
นๆ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 6/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : Tensile Strength
2 : Modulus of Elasticity
3 : Yield Strength
4 : Elongation

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

52 : วัตถุ
ดิ
บที
ใช
่ ในการผลิ
ตพอลิ
เมอร
มาจากแหล
งใด

1 : แก
ส ธรรมชาติ
2 : น้
ามัน ป
ํ โตรเลี
ยม
3 : ผลิ
ตผลทางการเกษตร
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

53 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
ลักษณะหรื
อสมบัติ
ข องเทอร
โมเซตติ
ง (Thermosetting)

1 : มี
โครงสรางตาขาย
2 : นํ
ามาขึ
น รู
้ ปใหมไม
ได
3 : ทนแรงกระแทกได ดี
4 : ทนความร อนได
ดี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

54 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
โครงสร
างของโคพอลิ
เมอร
(Copolymer)

1 : โครงสร
างแบบบล็อก (Block)
2 : โครงสร
างแบบสลับ (Alternating)
3 : โครงสร
างแบบเชิ
งเสน (Linear)
4 : โครงสร
างแบบสุ
ม (Random)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

55 : ขวดพลาสติ
กใสที
ใช
่ บรรจุ
น้
าอัดลมในท
ํ องตลาดมักทํ
าด
วยพอลิ
เมอร
ชนิ
ดใด

1 : พอลิ
โพรพิลีน (Polypropylene)
2 : พอลิ
ส ไตรี
น (Polystyrene)
3 : พอลิ
เอทิลี
น เทอรฟาทาเลต (Polyethylene terephthalate)
4 : พอลิ
เมทิล เมทาครีเลต (Polymethyl methacrylate)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

56 : เราสามารถเพิ
มสมบัติ
่ ในการรับแรงกระแทกให
กับพลาสติ
กที
เปราะได
่ โดยการผสมสิ
งใดต
่ อไปนี
ลงไปในพลาสติ
้ ก

1 : ยาง (Rubber)
2 : สารเสริมแรง (Reinforcing filler)
3 : สารปองกัน การแตกหักของสายโซ โมเลกุ
ล (Stabilizer)
4 : สารเพิมเนื
่ อ (Extender)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

57 : ถ
านํ
าขวดพลาสติ
กที
ทํ
่าจากพอลิ
เอทิ
ลี
น ไปบรรจุ
น้
าอัดลมและป
ํ ดฝาให
แน
น จะเกิ
ดสิ
งใดขึ
่ น

1 : ไม
มี
สิงใดเปลี
่ ยนแปลง

2 : น้
าอัดลมจะมี
ํ สีทีจางลง

3 : แก
ส คาร
บอนไดออกไซด จะระเหยออกไป
4 : ปริ
มาณของน้ าอัดลมจะลดลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

58 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ เป
น ความจริ

1 : โดยทั่
วไป พอลิเมอร
มี
ค
าการนําความรอนทีต่
่ากว
ํ าโลหะมาก
2 : โดยทั่
วไป อากาศมีค
าการนําความร
อนที ต่
่ากว
ํ าพอลิเมอร
มาก
3 : โดยทั่
วไป พอลิเมอร
มี
ค
าสัมประสิ
ทธิข องการขยายตัวเมื
์ อได
่ รับความร
อนมากกว
าโลหะ
4 : โดยทั่
วไป เซรามิ
กมีค
าสัมประสิ
ทธิ
ข องการขยายตัวเมื
์ อได
่ รับความรอนมากกว
าพอลิ
เมอร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

59 : กระบวนการในข
อใดต
อไปนี
เป
้ น กระบวนการสร
างพอลิ
เมอร
จากมอนอเมอร

1 : Monomerization
2 : Polymerization
3 : Hydration
4 : Annealing

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 7/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

60 : เทฟลอน (Teflon) คื
อชื
อทางการค
่ าของพอลิ
เมอร
ในข
อใด

1 : Polystyrene
2 : Polyurethane
3 : Polytetrafluoroethylene
4 : Polyvinyl chloride

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 240 : 03 Engineering ceramics

ข
อที

61 : ปฏิ
กิ
ริ
ยาที
เกิ
่ ดขึ
น เมื
้ อผสมซี
่ เมนต
กับน้
าคื
ํ อปฏิ
กิ
ริ
ยาใด

1 : ปฏิ
กิ
ริ
ยา Hydration
2 : ปฏิ
กิ
ริ
ยา Oxidation
3 : ปฏิ
กิ
ริ
ยา Reduction
4 : ปฏิ
กิ
ริ
ยา Dehydration

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

62 : การเติ
มแร
ยิ
ปซั่
ม (Gypsum) ลงในซี
เมนต
มี
วัตถุ
ประสงค
อย
างไร

1 : เพื
อลดต
่ น ทุน วัตถุ
ดิ

2 : เพื
อควบคุ
่ มเวลาการแข็ งตัวของซีเมนต
3 : เพื
อเพิ
่ มความแข็
่ งแรงให
กับซี
เมนต
4 : เพื
อให
่ ซี
เมนต มีอายุ
การใชงานที
น านขึ
่ น

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

63 : ทํ
าไมเซรามิ
กโดยทั่
วไปมี
ส มบัติ
ที
แข็
่ ง (Hard) และเปราะ (Brittle) กว
าโลหะ

1 : การเคลื
อนที
่ ข อง Dislocation เกิ
่ ดขึ
น ในเซรามิ
้ กได
ง
ายกว
าโลหะ
2 : เซรามิ
กทั่
วไปยึดกัน ด
วยพัน ธะแวนเดอรวาลส แต
โลหะยึ
ดกัน ด
วยพัน ธะโลหะ
3 : ในเซรามิ
ก ระนาบอะตอมเกิ ดการเลือน (Slip) ได
่ บางระนาบเทานั้

4 : เซรามิ
กมี
ความหนาแน น สู
งกวาโลหะ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

64 : ข
อใดไม
ใช
ส มบัติ
ข องเซรามิ

1 : เป
น ฉนวนทั้
งทางความร
อนและไฟฟ

2 : ความต านทานต
อแรงกระแทกต่


3 : ทนต อแรงดึ
งได
ดี
4 : เฉื
อยต
่ อการเกิ
ดปฏิ
กิ
ริ
ยาเคมี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

65 : ข
อใดไม
ใช
ผลที
เกิ
่ ดจากการเกิ
ดรู
พรุ
น (Porosity) ในเนื
ออิ
้ ฐทนไฟ

1 : อิ
ฐทนไฟเป
น ฉนวนทางความรอนที
ดี
่ขึ


2 : อิ
ฐทนไฟสามารถทนตอการเปลียนแปลงอุ
่ ณหภู
มิ
ได
ดี
ขึ


3 : อิ
ฐทนไฟมี
ความตานทานตอการผุ
กร
อนดี
ขึ


4 : อิ
ฐทนไฟมี
ความแข็งแรงลดลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

66 : วัส ดุ
ในข
อใดเหมาะที
จะทํ
่ าเป
น วัส ดุ
ข ัดถู
(Abrasive material)

1 : เหล็

2 : อะลู
มินา
3 : พอลิเอทิลี

4 : ไม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

67 : Glass transition temperature คื
ออะไร

1 : อุ
ณหภู
มิ
จุ
ดหลอมเหลว (Melting point) ของแก

2 : อุ
ณหภู
มิ
ที
แก
่ วมี
ส ภาพการนํ าไฟฟา
3 : อุ
ณหภู
มิ
ที
แก
่ วเปลียนจากสภาพที
่ มี
่ ความหนืดสูงเป
น สภาพที
แข็
่ งและเปราะ
4 : อุ
ณหภู
มิ
ที
แก
่ วกลายเปน ไอ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

68 : ข
อใดไม
ใช
เซรามิ
กวิ
ศวกรรม (Engineering ceramic)

1 : พอร
ซิ
เลน (Porcelain)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 8/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : อะลูมิ
น า (Alumina)
3 : ซิลิ
กอนไนไตรด (Silicon nitride)
4 : เซอรโคเนีย (Zirconia)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

69 : เซรามิ
กลักษณะใดที
ไม
่ เหมาะสมสํ
าหรับการนํ
ามาใช
ทํ
าเป
น กระดู
กเที
ยม

1 : เซรามิ
กที
มี
่ส มบัติ
ต
านทานการผุ กร
อนที
ดี

2 : เซรามิ
กที
มี
่ความหนาแน น สู

3 : เซรามิ
กที
มี
่ความแข็ งแรงสูง
4 : เซรามิ
กที
ส ามารถยึ
่ ดติดกับเนือเยื
้ อได
่ ดี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

70 : ทํ
าไมป
จจุ
บัน นิ
ยมนํ
าเซรามิ
กวิ
ศวกรรม เช
น อะลู
มิ
น า (Alumina) มาใช
ทํ
าหัวเที
ยนแทนโลหะ

1 : เซรามิ
กมี
ความแข็ งแรงมากกวาโลหะที
อุ
่ณหภู
มิ
สู

2 : เซรามิ
กเป
น วัส ดุ
เปราะกวาโลหะ
3 : เซรามิ
กมี
การนํ าไฟฟ าที
ดี
่ กว
าโลหะ
4 : เซรามิ
กมี
ความหนาแน น ต่
ากว
ํ าโลหะ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

71 : ข
อใดกล
าวถู
กต
อง

1 : การขึน รู
้ ปแกวจะทําขณะที แก
่ วมีส ภาพเปน ของเหลวที
มี
่ความหนื
ดสู

2 : การขึน รู
้ ปแกวจะเกิดปฏิกิ
ริ
ยา Sintering
3 : แก
วโดยทั่วไปเป น ของแข็งที
มี
่ ผลึก
4 : หลังจากขึน รู
้ ปแกวแลวตองนํ
าแกวไปอบและเผา

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

72 : การเพิ
มความแข็
่ งแรงให
กับแก
วโดยวิ
ธี
เทมเปอร
(Temper) หรื
อ Chemical treatment มี
หลักการอย
างไร

1 : ทํ
าให
เกิ
ดความเค
น แรงดึงที
ผิ
่ วและความเค
น แรงอัดภายในเนื
อแก
้ ว
2 : ทํ
าให
เกิ
ดความเค
น แรงอัดทีผิ
่วและความเค
น แรงดึงภายในเนื
อแก
้ ว
3 : ทํ
าให
เกิ
ดความเค
น แรงอัดในเนือแก
้ ว
4 : ทํ
าให
เกิ
ดความเค
น แรงดึงในเนื
อแก
้ ว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

73 : เซรามิ
กประเภทใดมี
ความเหนี
ยว (Toughness) ดี
ที
สุ
่ดที
อุ
่ณหภู
มิ
ห
อง

1 : ซิ
ลิกอนไนไตรด (Silicon nitride)
2 : ซิ
ลิกอนคาร ไบด (Silicon carbide)
3 : อะลูมิ
น า (Alumina)
4 : Partially stabilized zirconia

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

74 : Glass-ceramic แตกต
างจาก แก
ว (Glass) อย
างไร

1 : แก
วโปร
งใสแตGlass-ceramic ไม
โปรงใส
2 : แก
วไม
นํ
าไฟฟา แตGlass-ceramic นําไฟฟา
3 : แก
วนํ
าความร
อนไดไมดีแตGlass-ceramic สามารถนํ าความร
อนได
4 : แก
วทนการเปลียนแปลงความร
่ อน (Thermal shock) ได
แตGlass-ceramic ทนไม
ได

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

75 : Pyroelectric ceramic มี
ส มบัติ
เด
น ในข
อใด

1 : สามารถเปลี
ยนสมบัติ
่ ทางกลใหเป
น สมบัติ
ไฟฟา
2 : สามารถเปลี
ยนสมบัติ
่ ทางไฟฟาให
เปน สมบัติ
ทางกล
3 : สามารถเปลี
ยนสมบัติ
่ ทางไฟฟาให
เปน สมบัติ
ทางเคมี
4 : สามารถเปลี
ยนสมบัติ
่ ทางความรอนใหเป
น สมบัติ
ทางไฟฟ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

76 : เซรามิ
กประเภทแก
วต
างจากเซรามิ
กโดยทั่
วไปอย
างไร

1 : แก
วไม
มี
ผลึก แต
เซรามิ
กโดยทั่
วไปเปน โครงสรางทีมี
่ผลึ
ก (Crystalline)
2 : แก
วสามารถดึงยื
ดไดแต
เซรามิ
กโดยทั่วไปมีส มบัติ
เปราะ
3 : แก
วทนแรงดึงได
ดีแต
เซรามิ
กทนแรงอัดได ดี
4 : แก
วทนทานต อสารเคมี
ได
ดีแตเซรามิ
กโดยทั่วไปเกิ ดปฏิกิ
ริ
ยาได
ง
าย

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

77 : ผลิ
ตภัณฑ
ใดต
อไปนี
ไม
้ จํ
าเป
น ต
องใช
วัส ดุ
เซรามิ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 9/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : กระสวยอวกาศ
2 : เตาเผา
3 : ลู
กถวยไฟฟ
า (Electrical insulator)
4 : มี
ดผาตัด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

78 : ข
อใดไม
ช
วยทํ
าให
วัส ดุ
ที
ผลิ
่ ตจากอะลู
มิ
น า (Alumina) มี
ส มบัติ
โปร
งแสง (Translucent) ได

1 : อะลูมิน าที
ใช
่ มีความบริ สุ
ทธสูงมาก
2 : เป
น วัส ดุ
ผลึ
กเดียว (Single crystal)

3 : การจัดเรียงตัวของผลึ กมี
ทิศทางใกล เคี
ยงกัน มาก
4 : ขอบเกรน (Grain boundary) มี ความหนามาก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

79 : กระถางปลู
กต
น ไม
โอ
งดิ
น อิ
ฐมอญ จัดเป
น เซรามิ
กประเภทใด

1 : Stoneware
2 : Earthenware
3 : Porcelain
4 : Bone China

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

80 : วัส ดุ
ทนไฟที
ใช
่ ในเตาเผาอุ
ณหภู
มิ
สู
งมักทํ
าจากวัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี

1 : CaO
2 : Feldspar
3 : Cement
4 : Mullite

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

เนื
อหาวิ
้ ชา : 241 : 04 Asphalt wood and concrete

ข
อที

81 : ไม
จัดเป
น วัส ดุ
ประเภทใด

1 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ
2 : พอลิ คาร
บอเนต
3 : พอลิ ไวนิ
ลคลอไรด
4 : พอลิ เมอร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

82 : เพราะเหตุ
ใดไม
จึ
งรับแรงดัด (Bending force) ได
ดี

1 : เส
น ใยเรี
ยงตัวในทิ
ศใดทิศหนึ


2 : มี
ความเหนี ยวสูง
3 : เนื
อไม
้ มีความหนาแนน สู

4 : ไม
มีน้
าหนักเบา

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

83 : ข
อใดเป
น ส
วนประกอบหลักของยางมะตอย (Asphalt)

1 : ธาตุ
คาร
บอน (C) และ ไนโตรเจน (N)
2 : ธาตุ
คาร
บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H)
3 : ธาตุ
คาร
บอน (C) และ ซัลเฟอร(S)
4 : ธาตุ
คาร
บอน (C) และ ออกซิเจน (O)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

84 : ไม
มี
ส มบัติ
ทางกลตามข
อใด

1 : เท
ากัน ทุ
กทิศทาง
2 : ความแข็ งแรงตามแนวความยาวมากกว าแนวขวาง
3 : ความแข็ งแรงขนานเสน ใยต่
ากว
ํ าความแข็
งแรงตั้
งฉาก
4 : โมดู
ลัส เท
ากัน ทุ
กทิ
ศทาง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

85 : ยางมะตอย (Asphalt) และยางมะตอยผสม (Asphalt mix) มี
ส มบัติ
ต
างกัน อย
างไร

1 : ยางมะตอยมี
แรงเสี
ยดทาน (Friction) มากกว ายางมะตอยผสม
2 : ยางมะตอยผสมมีแรงเสี
ยดทาน (Friction) มากกว ายางมะตอย
3 : ยางมะตอยและยางมะตอยผสมใช ทําพืน รับแรงที
้ มี
่ ส มบัติ
ใกล
เคี
ยงกัน

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 10/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : ยางมะตอยแข็
งแรงมากกว
ายางมะตอยผสม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

86 : การใช
คอนกรี
ตในการก
อสร
าง คอนกรี
ตถู
กใช
เพื
อให
่ รับแรงประเภทใด

1 : แรงดึง (Tension)
2 : แรงอัด (Compression)
3 : แรงเฉือน (Shear)
4 : แรงบิด (Torsion)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

87 : ความสามารถในการทํ
างาน (Workability) ของคอนกรี
ตสามารถทดสอบด
วยวิ
ธี
ใด

1 : การทดสอบความล
า (Fatigue test)
2 : การทดสอบโดยใช
แรงอัด (Compressive test)
3 : การทดสอบความแข็งแบบบริ เนลล (Brinell)
4 : การทดสอบการยุ
บตัว (Slump test)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

88 : ส
วนประกอบหลักของคอนกรี
ตคื
อข
อใด

1 : ทราย (Sand) หิ
น ฟ
น มา (Feldspar) และซีเมนต (Cement)
2 : หิ
น ย
อย (Aggregate) หิน ฟ
น ม
า (Feldspar) และซีเมนต(Cement)
3 : ทราย (Sand) หิ
น ย
อย (Aggregate) และซี เมนต (Cement)
4 : ทราย (Sand) หิ
น ย
อย (Aggregate) และบิ ทูเมน (Bitumen)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 242 : 05 Phase equilibrium diagrams and their interpretation

ข
อที

89 : สมการ delta ferrite + L --> austenite เรี
ยกปฏิ
กิ
ริ
ยานี
ว
้าปฏิ
กิ
ริ
ยาใด

1 : Eutectoid
2 : Eutectic
3 : Peritectic
4 : Peritectoid

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

90 : ข
อใดไม
ใช
ข
อมู
ลที
ส ามารถทราบได
่ จากแผนภาพเฟส (Phase diagram)

1 : สภาพการละลายได ข องธาตุ
หนึ
งในอี
่ กธาตุ
หนึ


2 : อุ
ณหภูมิทีส ารเริ
่ มหลอมละลาย

3 : ความดัน ที
ส ารเปลี
่ ยนเฟส

4 : ปริ
มาตรของสารที หลอมเหลว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

91 : ข
อใดเป
น สิ
งที
่ ส ามารถทราบได
่ จากแผนภาพเฟส (Phase diagram)

1 : อุ
ณหภู มิ
ทีโลหะผสมเริ
่ มแข็
่ งตัวเป
น ของแข็

2 : สภาพการละลายได ข องธาตุหนึ งในอี
่ กธาตุ
หนึ
ง ณ สภาวะสมดุ
่ ล
3 : เฟสตางๆ ทีมี
่อยู
ในเนื
 อวัส ดุ

4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอ ที
่ 9 2 : ขอ ใ ด คือ ป ฏิกิริย า ที
่เ กิด ขึ
้น ใ น แ ผ น ภ า พ เ ฟ ส ข อ ง F e - F e 3C ที
่กํา ห น ด ใ ห

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 11/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : Peritic, Eutectic, Eutectoid


2 : Peritectic, Eutectic, Eutectoid
3 : Peritectic, Eutectic, Eutectertic
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ ด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อ ที
่ 93 : ป ฏิ
กิริ
ย า ยู
เ ท ก ท อ ย ด (Eut ec t oi d) ข อ ง เ ห ล็
ก ก ล
า ค า ร
บอน เ กิ
ด ที

ป ริ
ม า ณ ค า ร
บ อ น กี

เ ป อ ร
เ ซ็
น ต
โ ด ย น้

า ห นั ก

1 : 0.025%
2 : 0.8%
3 : 2.0%
4 : 4.3%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

94 : โครงสร
างใดคื
อโครงสร
างของเหล็
กกล
าคาร
บอนส
วนผสมยู
เทกทอยด
ที
เย็
่ น ตัวอย
างช
าๆ ผ
านปฏิ
กิ
ริ
ยายู
เทคทอยด
เรี
ยกโครงสร
างที
เกิ
่ ดขึ
น ว
้ าอะไร

1 : เฟรไรต
(Ferrite)
2 : เพอรไลต(Pearlite)
3 : ออสเทไนต (Austenite)
4 : ซีเมนไทต (Cementite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

95 : ข
อใดไม
ใช
ข
อมู
ลที
ได
่ จากการอ
านแผนภาพเฟสในสภาวะที
ส มดุ
่ ล

1 : ชนิ
ดของเฟสที เกิ
่ ดขึน

2 : ปริ
มาณของเฟสที เกิ
่ ดขึน

3 : อุ
ณหภูมิ
ที
ส ารเริ
่ มแข็
่ งตัว (Solidify) หรื
อหลอมเหลว (Melt)
4 : ชนิ
ดของโครงสร างผลึกของเฟสที เกิ
่ ดขึน

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 12/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

96 : สารละลาย (Solution) และของผสม (Mixture) แตกต
างกัน อย
างไร

1 : สารละลายจะเกิ
ดการแยกกัน ของสารทํ าให
เกิ
ดเฟสมากกวาหนึ
งเฟส ของผสมจะเกิ
่ ดเป
น เนื
อเดี
้ ยวกัน มี
เพี
ยงหนึ
งเฟส

2 : สารละลายจะเกิ
ดเฉพาะในของเหลวเท านั้
น ของผสมจะเกิ
ดจากการผสมของเหลวและของแข็ งดวยกัน
3 : สารละลายจะเกิ
ดเป
น เนื
อเดี
้ ยวกัน มี
เพี
ยงหนึงเฟส ของผสมจะเกิ
่ ดการแยกกัน ของสารทํ
าใหเกิ
ดเฟสมากกว าหนึ
งเฟส

4 : สารละลายจะเกิ
ดจากการรวมกัน ของของเหลวและของแข็ งเป
น เฟสเดี
ยว ของผสมจะเกิดจากการรวมกัน ของสารทํ าให
กลายเป
น เฟสเดี
ยว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

97 : เส
น Liquidus มี
ความสํ
าคัญอย
างไร

1 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล เฟสจะเป
น เฟสของเหลวทั้ งหมดที อุ
่ณหภูมิ
ต่ากว
ํ าเส
น Liquidus
2 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล อุ
ณหภูมิ
ที
อยู
่ ต่
 ากว
ํ าเส
น Liquidus เฟสของเหลวเปลี ยนเป
่ น เฟสของแข็ง
3 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล เฟสของแข็ งชนิดหนึงจะเริ
่ มเกิ
่ ดเปน เฟสของแข็งมากกว าหนึงชนิ
่ ดที
เส
่ น Liquidus
4 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล อุ
ณหภูมิ
สู
งกว าเส
น Liquidus เฟสของเหลวเริ มเกิ
่ ดเป
น เฟสของแข็งทั้
งหมด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

98 : เส
น Solidus มี
ความสํ
าคัญอย
างไร

1 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล เฟสของแข็
งชนิ
ดหนึงจะเริ
่ มเกิ
่ ดเป
น เฟสของแข็
งมากกว
าหนึงชนิ
่ ดที
เส
่ น Solidus
2 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล อุ
ณหภูมิ
ที
อยู
่ ต่
ากว
ํ าเส
น Solidus จะประกอบด
วยเฟสของเหลวและเฟสของแข็ ง
3 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล อุ
ณหภูมิ
ที
อยู
่ ต่
ากว
ํ าเส
น Solidus เฟสของเหลวจะเปลี
ยนเป
่ น เฟสของแข็งทั้
งหมด
4 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล อุ
ณหภูมิ
ที
อยู
่ สู
งกว
าเส
น Solidus จะประกอบด
วยเฟสของแข็งทั้
งหมด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

99 : ข
อใดไม
ใช
ลักษณะของเส
น Solvus

1 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล เฟสของแข็ งชนิดหนึ งจะเริ
่ มเกิ
่ ดเป น เฟสของแข็งมากกวาหนึ งชนิ
่ ดทีเส
่ น Solvus
2 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล อุ
ณหภู มิ
ทีอยู
่ ต่
 ากว
ํ าเสน Solvus จะประกอบด วยเฟสของเหลวและเฟสของแข็ ง
3 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ล เส
น Solvus จะเป
น เส
น แสดงขี ดจํากัดการละลาย (Solubility limit) ของเฟสของแข็งสองเฟส
4 : ภายใต
ส ภาวะที
ส มดุ
่ ลอุณหภูมิที
เหนื
่ อเส
น Solvus เปน เฟสของแข็ งทั้
งหมด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

100 : ข
อใดไม
ทํ
าให
เกิ
ด Isomorphous systems

1 : โครงสร
างผลึกของแต ละธาตุมีโครงสร างแบบเดี ยวกัน
2 : ธาตุ
แตละตัวต
องรวมกัน เกิ
ดเป
น สารประกอบ (Compound)
3 : ขนาดของอะตอมทั้ งสองธาตุ มี
ความแตกต างกัน ไม
เกิน 15%
4 : ธาตุ
แตละตัวควรมี
คา Valence electron เหมื
อนกัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่101 :
จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิ
กเกิ
ล (Ni) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 47%โดยน้
าหนักและนิ
ํ กเกิ
ล 53% โดยน้
าหนัก ที
ํ ่
1300 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วยเฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว
2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็
งα
3 : เฟสของแข็ งα
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 13/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่102 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิ
กเกิ
ล (Ni) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 30% โดยน้
าหนักและนิ
ํ กเกิ
ล 70% โดยน้
าหนัก ถู
ํ กให
ความร
อนจากอุ
ณหภู
มิ
ห
อง

อยากทราบว
าเฟสของเหลวเริ
มเกิ
่ ดขึ
น ที
้ อุ
่ณหภู
มิ
ใด

1 : ประมาณ 1200 องศาเซลเซี


ยส
2 : ประมาณ 1300 องศาเซลเซี
ยส
3 : ประมาณ 1350 องศาเซลเซี
ยส
4 : ประมาณ 1380 องศาเซลเซี
ยส

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

103 : ข
อใดไม
เกี
ยวข
่ องกับการเกิ
ดโครงสร
างแกน (Cored structure)

1 : เกิ
ดในสภาวะที ไม
่ ส มดุล
2 : เกิ
ดจากความเข มข
น ของส
วนประกอบทางเคมี(Chemical composition) ในแต
ละส
วนต
างกัน
3 : สามารถแก ไขได
โดยการทํากรรมวิ
ธี
ทางความร
อน (Heat treatment)
4 : การเย็
น ตัวลงอย
างชาๆ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่104 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิ
เกิ
ล (Ni) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 47%โดยน้าหนักและนิ
ํ เกิ
ล 53%โดยน้าหนักที
ํ ่1300 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วย
เฟสสองเฟส คือ เฟสของแข็
ง α ซึ
งมี
่ ส
วนประกอบโดยน้
าหนักของทองแดง 42% และ นิ
ํ เกิ
ล 58% และเฟสของเหลวซึ งมี
่ ส
วนประกอบโดยน้าหนักของทองแดง 55% และ นิ
ํ เกิ

45% อยากทราบเปอร
เซ็
น ต
โดยน้
าหนักของเฟสทั้
ํ งสองของโลหะผสมนี

1 : เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของเหลว คื
อ 61.5% และ เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของแข็
ง α คื
อ 38.5%
2 : เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของเหลว คื
อ 38.5% และ เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของแข็
ง α คื
อ 61.5%
3 : เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของเหลว คื
อ 44.5% และ เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของแข็
ง α คื
อ 55.5%
4 : เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของเหลว คื
อ 55.5% และ เปอร
เซ็
น ต
ข องเฟสของแข็
ง α คื
อ 44.5%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่ 105 : จากแผน ภาพเฟส ข องท อ ง แ ด ง (Cu) – นิ
ก เ กิ
ล (Ni ) ค
า Degree of freedom บ น เ ส
น Li qui dus มี
ค
า เ ท
าใด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 14/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : Degree of freedom = 0
2 : Degree of freedom = 1
3 : Degree of freedom = 2
4 : Degree of freedom = 3

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ขอที
่106 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี(Zn) ในช
วงอุ
ณหภู
มิ
ตั้
งแต500 องศาเซลเซี
ยส ถึ
ง 750 องศาเซลเซี
ยส ของโลหะผสมที
มี
่เปอร
เซ็
น ต
โดยน้าหนักของ

สั ง ก ะ สีตั้ง แ ต 6 0 % ถึ ง 1 0 0 % มี ป ฏิ กิ ริ ย า I n v a r i a n t ใดเกิ
ดขึน บ
้ าง

1 : Eutectic reaction และ Eutectoid reaction


2 : Peritectic reaction และ Eutectoid reaction
3 : Eutectic reaction และ Peritectoid reaction
4 : Monotectic reaction และ Eutectoid reaction

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อ ที
่ 107 : จากแผนภาพเฟส ของ นิ
ก เ กิ
ล (Ni )- ไ ท ท า เ นี
ยม ( Ti ) มี
ป ฏิ
กิริ
ยา I n va r i a n t ใ ด เ กิ
ด ขึ

น บ
าง

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 15/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : Monotectic reaction, Peritectic reaction และ Eutectoid reaction


2 : Monotectic reaction, Peritectic reaction และ Peritectoid reaction
3 : Peritectic reaction, Eutectic reaction และ Eutectoid reaction
4 : Eutectoid reaction, Peritectoid reactionและ Peritectic reaction

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่108 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – เงิ น (Ag) โลหะผสมประกอบดวยทองแดง 10% โดยน้ าหนักและเงิ
ํ น 90%โดยน้าหนัก ถู
ํ กให
ความรอนจนเกิ ดเฟสของแข็ง และ
เฟสของเหลว ถ
า ส
ว น ประกอบข องเฟส ข องเหลวประกอบด ว ยเงิ
น (Ag) 85%โดยน้ํ
า หนั ก อยากทราบว า โลหะผส มนี้
ถู
ก ให
ค วามร
อ น ถึ
ง อุ
ณ หภู
มิ
เ ท
าใด

1 : ประมาณ 750 องศาเซลเซี


ยส
2 : ประมาณ 800 องศาเซลเซี
ยส
3 : ประมาณ 850 องศาเซลเซี
ยส
4 : ประมาณ 950 องศาเซลเซี
ยส

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

109 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี
(Zn) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 20%โดยน้
าหนักและสังกะสี
ํ าหนัก ที

80%โดยน้ ่
598 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วย

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 16/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

เฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็งδ
2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็งε
3 : เฟสของแข็
งε
4 : เฟสของเหลว เฟสของแข็
ง δ และเฟสของแข็
งε

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่110 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – เงิ
น (Ag) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 10%โดยน้าหนัก และเงิ
ํ น 90%โดยน้
าหนัก ถู
ํ กให
ความร
อนจนเกิ ดเฟสของแข็ง β และ
เฟสของเหลว ถ
าส
วนประกอบของเฟสของเหลวประกอบด วยเงิ
น (Ag) 85% โดยน้
าหนัก
ํ อยากทราบวาเฟสของแข็
งβ ประกอบดวยเงิ
น กี
เปอร
่ เซ็
น ต
โดยน้
าหนัก

1 : ประมาณ 90% โดยน้


าหนัก

2 : ประมาณ 95% โดยน้
าหนัก

3 : ประมาณ 5% โดยน้
าหนัก

4 : ประมาณ 10% โดยน้
าหนัก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

111 :

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 17/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิ
กเกิ
ล (Ni) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 30%โดยน้
าหนักและนิ
ํ เกิ
ล 70%โดยน้
าหนัก ที
ํ ่
1350 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วยเฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว
2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็
งα
3 : เฟสของแข็
งα
4 : เฟสของสารประกอบระหว
างทองแดงและนิ
เกิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

112 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี
(Zn) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 20%โดยน้
าหนักและสังกะสี
ํ าหนัก ที

80%โดยน้ ่
800 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วย

เฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว
2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็
งδ
3 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็
งε
4 : เฟสของแข็
งγ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

113 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สังกะสี
(Zn) โลหะผสมประกอบด
วยทองแดง 20%โดยน้
าหนักและสังกะสี
ํ าหนัก ที

80%โดยน้ ่
500 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วย

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 18/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

เฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว
2 : เฟสของแข็
งε
3 : เฟสของแข็
งδ
4 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็
งε

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

114 : จากแผนภาพเฟสของตะกั่
ว (Pb) – ดี
บุ
ก (Sn) โลหะผสมประกอบด
วยดี
บุ
ก 40%โดยน้
าหนักและตะกั่
ํ ว 60%โดยน้
าหนัก ที
ํ ่150 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วยเฟสอะไร

บ
าง

1 : เฟสของแข็
งสองชนิ ดคือ (α Pb) และ (βSn)
2 : เฟสของแข็
ง (α Pb) และเฟสของเหลว
3 : เฟสของแข็
ง (βSn) และเฟสของเหลว
4 : เฟสของเหลว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่115 : จากแผนภาพเฟสของตะกั่
ว (Pb) – ดี
บุ
ก (Sn) โลหะผสมประกอบด
วยดี
บุ
ก 61.9%โดยน้
าหนักและตะกั่
ํ ว 38.1%โดยน้
าหนัก ที
ํ ่183 องศาเซลเซี
ยส ประกอบด
วยเฟส

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 19/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

อะไรบ
าง

1 : เฟสของแข็
งสองชนิ ดคือ (α Pb) และ (βSn) และเฟสของเหลว
2 : เฟสของแข็
ง (α Pb) และเฟสของเหลว
3 : เฟสของแข็
ง (βSn) และเฟสของเหลว
4 : เฟสของแข็
งสองชนิ ดคือ (α Pb) และ (βSn)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อ ที
่ 116 : จ า ก แ ผ น ภ า พ เ ฟ ส ข อ ง ต ะ กั่
ว (P b) – ดี
บุก (S n) บ ริ
เ ว ณ ที

เ ป
น α มี
ความหมายว
าอย
างไร

1 : เฟสสารละลายของแข็
ง (α Pb) ที
มี
่โครงสร
างผลึ
กของดี
บุ
กและตะกั่ วอยูร
วมกัน
2 : เฟสสารละลายของแข็
ง (α Pb) ที
มี
่โครงสร
างผลึ
กของตะกั่
ว และมีอะตอมของดี บุ
กแทรกอยูในโครงสร
 าง
3 : เฟสสารละลายของแข็
ง (α Pb) ที
มี
่โครงสร
างผลึ
กแตกต
างจากโครงสร างของดี บุ
กและตะกั่

4 : เฟสสารละลายของแข็
ง (α Pb) ที
มี
่โครงสร
างผลึ
กของดี
บุ
ก และมี อะตอมของตะกั่ วแทรกอยูในโครงสร
 าง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

117 : ข
อใดไม
ใช
ลักษณะของโครงสร
างจุ
ลภาคของส
วนประกอบ Eutectic

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 20/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : Lamellar
2 : Rodlike
3 : Globular
4 : Homogeneous

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

118 : ปฏิ
กิ
ริ
ยาต
อไปนี

ข
อใดไม
ใช
ปฏิ
กิ
ริ
ยา Invariant

1 : Eutectic reaction
2 : Monotectic reaction
3 : Peritectoid reaction
4 : Oxidation reaction

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่ 119 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – นิ
กเกิ
ล (Ni) ค
า Degree of freedom ระหว
างเส
น Solidus และ Liquidus มี
ค
าเท
า ใด

1 : Degree of freedom = 0
2 : Degree of freedom = 1
3 : Degree of freedom = 2
4 : Degree of freedom = 3

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

120 : ข
อใดต
อไปนี
เป
้ น ปฏิ
กิ
ริ
ยา Monotectic

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

121 : กรรมวิ
ธี
การชุ
บที
ใช
่ ตัวกลางชนิ
ดใดต
อไปนี

ทีทํ
่าให
เกิ
ดอัตราการคายความร
อนจากชิ
น งานมากที
้ สุ
่ด

1 : อากาศปกติ
2 : อากาศในเตาอบ
3 : น้
าเปล
ํ า
4 : น้
ามัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

122 : กรรมวิ
ธี
การอบชนิ
ดใดต
อไปนี

ทําให
ชิ
น งานมี
้ ความแข็
งแรงสู
งที
สุ
่ด

1 : การอบในกระบวนการ (Process annealing)


2 : การอบปรกติ(Normalizing)
3 : การอบอ
อนเต็มที่
(Full annealing)
4 : สเฟ
ยรอยไดซิง (Spheroidizing)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

123 : ในการอบอ
อนเต็
มที

(Full annealing) ชิ
น งานถู
้ กทํ
าให
เย็
น ลงด
วยตัวกลางชนิ
ดใด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 21/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : อากาศปรกติ
น อกเตาอบ
2 : อากาศในเตาอบ
3 : น้
าเปล
ํ า
4 : น้
ามัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

124 : ในการอบปรกติ
(Normalizing) ชิ
น งานถู
้ กทํ
าให
เย็
น ลงด
วยตัวกลางชนิ
ดใด

1 : อากาศปรกติ
น อกเตาอบ
2 : อากาศในเตาอบ
3 : น้
าเปล
ํ า
4 : น้
ามัน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

125 : ข
อใดคื
อโครงสร
างที
ได
่ จากการเย็
น ตัวอย
างช
าๆ ของเหล็
กกล
าคาร
บอนต่
าที
ํ มี
่โครงสร
างออสเทไนต
(Austenite)

1 : เพอร
ไลต(Pearlite) และ เฟรไรต
(Ferrite)
2 : เพอร
ไลต(Pearlite) และ ซีเมนไทต(Cementite)
3 : เบไนต(Bainite)
4 : มาร
เทนไซต (Martensite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่ 126 : จากแผนภาพการแปลงคงอุ
ณหภูมิ (Isothermal transformation diagram) ของเหล็ กกล
าคาร
บอน 1.13 wt%C ข อใดคื
อโครงสร างสุดทายของชิน งานเหล็
้ กกลา
คาร
บอน 1.13 wt%C ขนาดเล็กที
ถู
่กอบทีอุ
่ณหภูมิ920 องศาเซลเซี ยส จนมี โครงสรางเป
น ออสเทไนต(Austenite) ตลอดทั้
งชิ
น ก
้ อนทําใหเย็
น ตัวลงอยางรวดเร็
ว จนชิน งานมี

อุณ ห ภูมิ 4 0 0 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ยส แ ล ะ แ ช ชิ

น ง า น ไ วที่
อุณ ห ภู มินี

น า น 1 น า ที ก อ น ทํา ใ หเ ย็น ตั ว ถึง อุ
ณ ห ภู มิห อง

1 : ออสเทไนต (Austenite) และ เบไนต (Bainite)


2 : ออสเทไนต (Austenite) เบไนต (Bainite) และ มาร
เทนไซต(Martensite)
3 : เบไนต(Bainite) และ มาร
เทนไซต (Martensite)
4 : ซีเมนไทต(Cementite) เบไนต (Bainite)และ มารเทนไซต(Martensite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

127 : ข
อใดคื
อวัตถุ
ประสงค
ข องการอบปรกติ
(Normalizing)

1 : เพื
อปรับปรุ
่ งสมบัติเชิ
งกลใหดี
ขึ


2 : เพื
อปรับปรุ
่ งโครงสรางให
ส ม่
าเสมอ

3 : เป
น การทํ
าลายความเครียดภายใน
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

128 : ข
อใดคื
อวัตถุ
ประสงค
ข องการอบอ
อน (Annealing)

1 : เพื
อเพิ
่ มความแข็
่ งแรง
2 : เพื
อให
่ ได
โครงสร างทีมี
่ความออนตัวสู

3 : เพื
อเพิ
่ มความแข็
่ งให
กับวัส ดุ
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 22/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

129 : ข
อใดคื
อป
จจัยที
มี
่ผลต
อความแข็
งของเหล็
กกล
าคาร
บอนปานกลาง

1 : ปริมาณคาร บอน
2 : อุณหภู มิ
ก
อนการชุ บแข็

3 : อัตราการชุบแข็ ง
4 : ขอ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

130 : โครงสร
างเพอร
ไลต
(Pearlite) ในเหล็
กกล
าเป
น โครงสร
างที
ได
่ จากปฏิ
กิ
ริ
ยาอะไร

1 : ยู
เทกติก (Eutectic)
2 : ยู
เทกทอยด (Eutectoid)
3 : เพริ
เทกติก (Peritectic)
4 : เพริ
เทกทอยด (Peritectoid)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่
131 :
ในภาวะสมดุล ณ อุ
ณหภูมิ
ต่ากว
ํ าอุ
ณหภู
มิ
ยู
เทคทอยด
เล็
กน
อย โครงสร
างเหล็
กกล
าคาร
บอนต่
า (0.2wt%C) ประกอบด
ํ วยโครงสร
างของเฟสกึ
งเสถี
่ ยร (Metastable phase) ใดบ
าง
และเกิ
ดขึ
น ในปริ
้ มาณเท
าใด

1 : เฟร
ไรต
(Ferrite) 80% และ เพอร
ไลต
(Pearlite) 20%
2 : เฟร
ไรต
(Ferrite) 20% และ เพอร
ไลต
(Pearlite) 80%
3 : เฟร
ไรต
(Ferrite) 75% และ เพอร
ไลต
(Pearlite) 25%
4 : เฟร
ไรต
(Ferrite) 25% และ เพอร
ไลต
(Pearlite) 75%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

132 : ลักษณะโครงสร
างบริ
เวณรอบรอยเชื
อม (HAZ) ในเหล็
่ กกล
าคาร
บอนต่
าส
ํ วนที
ติ
่ดกับบริ
เวณหลอมเหลว (Fusion zone) ของรอยเชื
อมคื
่ อ ข
อใดต
อไปนี

1 : โครงสร
างมี
ข นาดเกรนหยาบ
2 : โครงสร
างมี
ข นาดเกรนละเอี ยด
3 : โครงสร
างเป
น มาร
เทนไซต (Martensite)
4 : โครงสร
างเป
น เบไนต(Bainite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่133 : จากแผนภาพเฟสดี
บุ
ก-ตะกั่
ว โครงสร
างของโลหะผสมดี
บุ
กและตะกั่
วที
อุ
่ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ า 183˚C เล็
กน
อย ประกอบดวยเฟส Proeutectic α 73.2% โดยน้ าหนัก และเฟส

ข อ ง E u t e c t i c ( α + β) 26.8% โ ด ย น้

า ห นั ก สว น ผ ส ม ข อ ง โ ล ห ะ นี

คือ ข
อใด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 23/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : ดี
บุ
ก 20% และตะกั่
ว 80% โดยน้
าหนัก

2 : ดี
บุ
ก 25% และตะกั่
ว 75% โดยน้
าหนัก

3 : ดี
บุ
ก 30% และตะกั่
ว 70% โดยน้
าหนัก

4 : ดี
บุ
ก 35% และตะกั่
ว 65% โดยน้
าหนัก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

134 : จากแผนภาพเฟสดี
บุ
ก-ตะกั่
ว โลหะผสมของดี
บุ
ก 85% และตะกั่
ว 15% โดยน้
าหนัก จํ
ํ านวน 750 กรัมที
อุ
่ณหภู
มิ
สู
งกว
า 183˚C เล็
กน
อย ประกอบด
วยเฟส Proeutectic β

กี
กรัม

1 : 323.4
2 : 482.6
3 : 526.7
4 : 651.2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่135 : จากแผนภาพเฟสดี
บุ
ก-ตะกั่
ว โลหะผสมของดี
บุ
ก 85% และตะกั่
ว 15% โดยน้
าหนัก จํ
ํ านวน 750 กรัมที
อุ
่ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ า 183˚C เล็
กน
อย ประกอบด
วยเฟส α กี
กรัม

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 24/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 323.65
2 : 240.64
3 : 120.75
4 : 94.36

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่136 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – เงิ
น (Ag) โครงสร
างของโลหะผสมทองแดงและเงิ
น ทีอุ
่ณหภูมิ
ต่
ากว
ํ า 779˚C เล็
กน
อย ประกอบดวยเฟส Proeutectic α 68%
โ ด ย น้
ํา ห นั ก แ ล ะ เ ฟ ส ข อ ง Eutectic (α + β) 32% โ ด ย น้

า ห นั ก สว น ผ ส ม ข อ ง โ ล ห ะ นี
้คื อ ข
อ ใ ด

1 : ทองแดง 10% และเงิ


น 90% โดยน้
าหนัก

2 : ทองแดง 15% และเงิ
น 85% โดยน้
าหนัก

3 : ทองแดง 20% และเงิ
น 80% โดยน้
าหนัก

4 : ทองแดง 25% และเงิ
น 75% โดยน้
าหนัก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

137 : โลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิ
น 30% โดยน้
าหนัก จํ
ํ านวน 800 กรัม ที
อุ
่ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ า 779 องศาเซลเซี
ยส เล็
กน
อย จะมี
เฟสใดเกิ
ดขึ
น บ
้ างและเกิ
ดขึ
น เป
้ น จํ
านวน

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 25/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

เท
าใด

1 : เฟส (Cu) 410.5 กรัม และเฟส (Ag) 389.5 กรัม


2 : เฟส (Cu) 501.7 กรัม และเฟส (Ag) 298.3 กรัม
3 : เฟส (Cu) 524.6 กรัม และเฟส (Ag) 275.4 กรัม
4 : เฟส (Cu) 588.8 กรัม และเฟส (Ag) 211.5 กรัม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

138 : โลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิ
น 30% โดยน้
าหนัก จํ
ํ านวน 800 กรัม ที
อุ
่ณหภู
มิ
สู
งกว
า 779 องศาเซลเซี
ยส เล็
กน
อย จะมี
เฟสใดเกิ
ดขึ
น บ
้ างและเกิ
ดขึ
น เป
้ น จํ
านวน

เท
าใด

1 : เฟส (Cu) 610.5 กรัม และเฟส (Ag) 189.5 กรัม


2 : เฟส (Cu) 510.7 กรัม และเฟส (Ag) 298.3 กรัม
3 : เฟส (Cu) 524.6 กรัม และเฟส (Ag) 275.4 กรัม
4 : เฟส (Cu) 730 กรัม และเฟส (Ag) 70 กรัม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อ ที
่ 139 : จากแผนภาพเฟสของ นิ
ก เ กิ
ล (Ni )- ไ ท ท า เ นี
ยม ( Ti ) ข
อ ใ ด คื
อ ป ฏิ
กิริ
ยา E u t e c t i c ที
เกิ
่ ดขึ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 26/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อ ที
่ 140 : จากแผนภาพเฟส ของ นิ
ก เ กิ
ล (Ni ) - ไ ท ท า เ นี
ยม ( Ti ) ข
อ ใ ด คื
อ ป ฏิ
กิริ
ยา P e r i t e c t i c ที
เกิ
่ ดขึ

1:

2:

3:

4:

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 27/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่141 : ในระบบ Ternary ซึงประกอบด
่ วยส วนประกอบ 3 ชนิ
ด อยากทราบว
าถ
าให
อุ
ณหภู
มิ
ส ามารถเปลี
ยนแปลงได
่ แต
ความดัน มี
ค
าคงที
่จะมี
จํ
านวนเฟสเกิ
ดขึ
น ได
้ มากที
สุ
่ด
พร
อมกัน กี
เฟสที
่ อุ
่ณหภู
มิ
และส วนประกอบเดี
ยวกัน

1 :5
2 :4
3 :3
4 :2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

142 : จากแผนภาพเฟสทองแดง-เงิ
น ถ
าโลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิ
น 30% โดยน้
าหนัก จํ
ํ านวน 800 กรัม ที
อุ
่ณหภู
มิ
800 องศาเซลเซี
ยส จะมี
เฟสใดเกิ
ดขึ
น บ
้ างและ

เกิ
ดขึ
น เป
้ น จํ
านวนเท
าใด

1 : เฟส (Cu) 610.5 กรัม และเฟสของเหลว 189.5 กรัม


2 : เฟส (Cu) 549.6 กรัม และเฟสของเหลว 250.4 กรัม
3 : เฟส (Cu) 580.6 กรัม และเฟสของเหลว 219.4 กรัม
4 : เฟส (Cu) 730 กรัม และเฟสของเหลว 70 กรัม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

143 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
เฟสในเหล็
กกล
าคาร
บอน (Carbon steel)

1 : เหล็กบริ
สุ ทธิ์
2 : เฟรไรต(Ferrite)
3 : ซีเมนไทต (Cementite)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ ด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

144 : ซี
เมนไทต
(Cementite) ในเหล็
กกล
าคาร
บอนเป
น เฟส (Phase) ชนิ
ดใด

1 : ธาตุ
บริ
สุทธิ

2 : สารละลายของแข็ง (Solid solution)
3 : สารประกอบ (Compound)
4 : สารประกอบระหว
างโลหะ (Intermetallic compound)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อ ที
่ 145 : เ ห ล็
ก ก ล
า ค า ร
บอน 0. 8wt % C ชุ
บ ใ น น้

า เ ย็
น จ า ก อุ
ณ ห ภู
มิ 1 0 0 0 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี
ยส จ ะ ไ ด
โ ค ร ง ส ร
างใด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 28/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : มาร
เทนไซต (Martensite)
2 : เฟร
ไรต
(Ferrite)
3 : เพอร
ไลต(Pearlite)
4 : ออสเทไนต (Austenite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อ ที
่ 146 : โ ล ห ะ ผ ส ม ใ น ข
อ ใ ด ต
อ ไ ป นี

ที่
ส า ม า ร ถ เ พิ

ม ค ว า ม แ ข็
ง แ ร ง โ ด ย ก า ร บ
ม แ ข็
ง (Age hardening) ไ ด

1 : Al + 4wt%Cu
2 : Al + 8wt%Cu
3 : Al + 12wt%Cu
4 : Al + 16wt%Cu

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อ ที
่ 147 : เ ฟ ส ข อ ง แ ข็
ง เ ฟ ส แ ร ก ที

เ กิ
ด จ า ก ก า ร แ ข็
ง ตั ว จ า ก ส ภ า ว ะ ข อ ง เ ห ล ว ข อ ง Al+20wt %Si คื
อ ข
อใด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 29/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : (Al)
2 : (Si)
3 : Eutectic ((Al)+(Si))
4 : สารประกอบอะลู มิ
เนียมซิ
ลิ
ไซด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อ ที
่ 148 : โ ค ร ง ส ร
า ง ง า น ห ล
อ ท อ ง เ ห ลื
อ ง (Zn+ 20wt %Cu) โ ด ย ทั่
ว ไ ป จ ะ เ ป
น ดั ง ใ น ข
อ ใ ด

1 : สารละลายของแข็ง (Solid solution) สวนผสมเท ากัน ทุกตํ


าแหน ง
2 : สารละลายของแข็ง (Solid solution) ลักษณะเป น เดนไดรท (Dendrite)
3 : สารประกอบ (Compound) ส วนผสมเท ากัน ทุ
กตํ
าแหน ง
4 : สารประกอบ (Compound) ลักษณะเป น เดนไดรท (Dendrite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 30/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

149 : ช
วงการแข็
งตัว (Freezing range) ของโลหะผสม Cu + 40wt%Ni มี
ค
าประมาณเท
าใด

1 : 10 องศาเซลเซี
ยส
2 : 40 องศาเซลเซี
ยส
3 : 100 องศาเซลเซี
ยส
4 : 150 องศาเซลเซี
ยส

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่ 150 : โลหะผสม Cu + 40wt%Ni แข็
งตัวอย
างช
าๆ ในภาวะสมดุ
ล การแข็
งตัวจะเริ
มต
่ น และสิ
น สุ
้ ดที
อุ
่ณหภู
มิ
ใดโดยประมาณ ยส)
(องศาเซลเซี

1 : เริ
มต
่ น 1455 สิ
น สุ
้ ด 1085
2 : เริ
มต
่ น 1455 สิ
น สุ
้ ด 1240
3 : เริ
มต
่ น 1280 สิ
น สุ
้ ด 1240
4 : เริ
มต
่ น 1280 สิ
น สุ
้ ด 1085

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่151 : โครงสร
างที
เกิ
่ ดขึ
น จากการแข็
้ งตัวของโลหะผสม Pb + 30wt%Sn ในภาวะสมดุ
ล ประกอบด
วยโครงสร
างยู
เทกติ
ก (Eutectic microconstituent) ประมาณเท
าใด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 31/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : 16%
2 : 26%
3 : 36%
4 : 46%

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

152 : ข
อมู
ลในข
อใดต
อไปนี
ที
้ไม
่ ส ามารถหาได
จากแผนภาพเฟส (Phase diagram)

1 : ชนิดของเฟสในภาวะสมดุ

2 : ส
วนผสมของเฟสในภาวะสมดุ ล
3 : ปริ
มาณของเฟสในภาวะสมดุล
4 : รู
ปร
างของเฟสในภาวะสมดุ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

153 : โครงสร
างที
ได
่ จากกระบวนการมาร
เทมเปอริ
ง (Martempering) คื
่ อโครงสร
างใด

1 : เฟร
ไรต(Ferrite)
2 : เพอร
ไรต (Pearite)
3 : เบไนต(Bainite)
4 : มาร
เทนไซต (Martensite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

154 : ธาตุ
ใดส
งเสริ
มให
เกิ
ดแกรไฟต
(Graphite) แทนที
จะเกิ
่ ดคาร
ไบด
(Carbide) ในเหล็
กหล

1 : Cr
2 : Mn
3 : Mo
4 : Si

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

155 : วัตถุ
ประสงค
หลักของการอบคื
น ไฟ (Tempering) คื
อข
อใด

1 : เพิ
มความแข็
่ งให
กับเพอรไลต(Pearlite)
2 : เพิ
มความแข็
่ งให
กับมารเทนไซต (Martensite)
3 : เพิ
มความเหนี
่ ยวใหกับเพอร
ไลต(Pearlite)
4 : เพิ
มความเหนี
่ ยวใหกับมาร
เทนไซต (Martensite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

156 : การอบปรกติ
(Normalizing) สํ
าหรับเหล็
กกล
า 0.2wt%C ควรอบที
อุ
่ณหภู
มิ
ใด (องศาเซลเซี
ยส)

1 : 700
2 : 800

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 32/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : 950
4 : 1050

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่ 157 : อุ
ณ หภู
มิ
ที

เ หมาะส มใน การบ
ม เพื

อ เพิ

ม ความแข็
ง (Aging) สํ
า หรั บ โ ล ห ะ ผ ส ม Al + 4wt % Cu คื
อ ข
อใด (อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี
ยส )

1 : 200
2 : 400
3 : 500
4 : 600

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อ ที
่ 158 : ใ น ก า ร ห ล
อโลห ะ ผ ส ม Cu + 10wt %Sn จ ะ เ กิ
ด ป ฏิ
กิริ
ย า เ พ ริ
เ ท ก ติ
ก (Peritectic) ไ ด
ห รื
อ ไ ม

1 : ไม
ส ามารถเกิ
ดไดเพราะส
วนผสมไม ใชส
วนผสมเพริ เทกติ

2 : ไม
ส ามารถเกิ
ดไดเพราะปริมาณดีบุกนอยเกิน ไป
3 : สามารถเกิดได
ในกรณีทีการแข็
่ งตัวเป
น ไปอยางไม ส มดุ

4 : สามารถเกิดได
ในทุกกรณี ไม
ว
าการแข็ งตัวจะเปน แบบสมดุลหรื
อไม
ก็
ตาม
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 33/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

159 : โครงสร
างงานหล
อของโลหะชนิ
ดใดต
อไปนี
ที
้จะไม
่ มี
เดนไดรต
(Dendrite) ปรากฏให
เห็
น อย
างชัดเจน

1 : ทองเหลื
อง
2 : อะลู
มิ
เนี
ยมผสมซิ ลิ
คอน
3 : เหล็
กกล
าคารบอนต่า

4 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่160 : การเปลี
ยนเฟสจากออสเทไนต
่ (Austenite) เป
น เบไนต(Bainite) ของเหล็
กกล
าคาร
บอน 0.8wt%C ที
อุ
่ณหภู
มิ300 องศาเซลเซี
ยส เกิ
ดขึ
น ได
้ ค
อนข
างช
า เพราะเหตุ

ใด

1 : แรงผลัก (Driving force) ต่า เนื


ํ องจากอุ
่ ณหภูมิ
ต่าเกิ
ํ น ไป
2 : อัตราการแพร ซึม (Diffusion rate) ของคาร
บอนต่ าเกิ
ํ น ไป
3 : อัตราการแพร ซึม (Diffusion rate) ของเหล็
กต่าเกิ
ํ น ไป
4 : เหล็กมี
ปริมาณคาร บอนสู งเกิน ไป

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

เนื
อหาวิ
้ ชา : 243 : 06 Mechanical properties and testing

ข
อที
่161 : แท
งทองเหลื
องทรงกระบอกขนาดเส
น ผ
านศู
น ย
กลาง 10 มม. ยาว 150 มม. ได
รับความร
อนที
อุ
่ณหภู
มิ
ห
อง (25 องศาเซลเซี
ยส) จนมี
อุ
ณหภู
มิ
ถึ
ง 160 องศา
เซลเซี
ยส ทําใหเส
น ผ
านศู น ย
กลางของแท
งทองเหลื
องมี
ข นาดเพิ
มขึ
่ น เท
้ าไร กํ
าหนดให
ค
าสัมประสิ
ทธิ
การขยายตัวทางความร
์ อนของทองเหลื
อง คื ยส x 10 -6)
อ 20.0 (องศาเซลเซี
และค
า Poisson’s Ratio = 0.34

1 : 0.0095 มม.
2 : 0.0270 มม.
3 : 0.0345 มม.
4 : 0.0375 มม.

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

162 : วัส ดุ
ส
วนใหญ
ในกลุ
มใดที
 เปราะ (Brittle) มากที
่ สุ
่ด

1 : โลหะ
2 : เซรามิ ก
3 : พอลิ เมอร
4 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

163 : วัส ดุ
ส
วนใหญ
ในกลุ
มใดมี
 ส ภาพยื
ดหยุ
น ได
 (Ductile) มากที
สุ
่ด

1 : โลหะ
2 : เซรามิ ก
3 : พอลิ เมอร
4 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

164 : วัส ดุ
ส
วนใหญ
ในกลุ
มใดมี
 ความแข็
งตึ
ง (Stiffness) มากที
สุ
่ด

1 : โลหะ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 34/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : เซรามิ ก
3 : พอลิ เมอร
4 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

165 : การคื
บ (Creep) หมายถึ
ง การเสี
ยรู
ปที
อุ
่ณหภู
มิ
สู
งในลักษณะใด

1 : การเสี
ยรู
ปถาวรของวัส ดุ(Plastic deformation) เนื
องจากได
่ รับแรงดึงเกิน จุดคราก (Yield point)
2 : การเสี
ยรู
ปชั่
วคราวของวัส ดุ(Elastic deformation) เนื
องจากได
่ รับแรงดึงเกิ น จุ
ดคราก (Yield point)
3 : การเสี
ยรู
ปถาวรของวัส ดุ(Plastic deformation) เนื
องจากได
่ รับแรงดึงต่ากว
ํ าจุดคราก (Yield point)
4 : การเสี
ยรู
ปชั่
วคราวของวัส ดุ(Elastic deformation) เนื
องจากได
่ รับแรงดึงต่ ากว
ํ าจุ
ดคราก (Yield point)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

166 : ความล
า (Fatigue) หมายถึ
งเหตุ
การณ
ใด

1 : การยื
ดตัวอย
างช
าๆ ของวัส ดุ
2 : การแตกหักของวัส ดุ
เนื
องจากได
่ รับแรงดึ

3 : การแตกหักของวัส ดุ
เนื
องจากได
่ รับแรงกด
4 : การแตกหักของวัส ดุ
เนื
องจากได
่ รับแรงแบบซ้
าไปซ้
ํ ามา

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

167 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความแข็
ง (Hardness) มากที
สุ
่ด

1 : เหล็
กหล
อขาว
2 : เหล็
กกล
าเครื
องมื
่ อ
3 : เพชรตามธรรมชาติ
4 : แท
งนาโนเพชร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

168 : ภายใต
แรงดึ
งอย
างไรที
ทํ
่าให
เหล็
กกล
าคาร
บอนต่
าเสี
ํ ยรู
ปอย
างไม
ส ม่
าเสมอ (Non-uniform deformation)

1 : ใช
แรงดึ
งน
อยกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
2 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
3 : ใช
แรงดึ
งน
อยกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)
4 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

169 : สมบัติ
ใดบ
งชี
ถึ
้งพลังงานที
วัส ดุ
่ ดู
ดกลื
น ไว
ก
อนที
จะเสี
่ ยรู
ปอย
างถาวร (Plastic deformation)

1 : มอดุลัส ของสภาพยื ดหยุ น (Modulus of elasticity)



2 : มอดุลัส ของความยื ดหยุน (Modulus of resilience)

3 : ความแข็ งแรง (Strength)
4 : อัตราสวนของป วซอง (Poisson’s ratio)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

170 : สมบัติ
ใดบ
งชี
ถึ
้งพลังงานที
วัส ดุ
่ ดู
ดกลื
น ไว
ก
อนที
ชิ
่น งานแตกหัก

1 : มอดุลัส ของสภาพยื ดหยุ น (Modulus of elasticity)



2 : ความแข็ งแรง (Strength)
3 : ความเหนี ยว (Toughness)
4 : อัตราสวนของป วซอง (Poisson’s ratio)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที
่ 171 : สมบัติใดบ
งชี
การเปลี
้ ยนแปลงขนาดของแท
่ งโลหะตามทิ
ศทางการดึ
งเที
ยบกับขนาดเดิ
มในทิ
ศทางนั้
น ต
อการเปลี
ยนแปลงขนาดของแท
่ งโลหะในทิ
ศทางตั้
งฉากกับ
ทิ
ศทางการดึ
งเที
ยบกับขนาดเดิ
มในทิ
ศทางนั้

1 : มอดุลัส ของสภาพยื ดหยุน (Modulus of elasticity)



2 : มอดุลัส ของความยืดหยุน (Modulus of resilience)

3 : ความเหนี ยว (Toughness)
4 : อัตราสวนของป วซอง (Poisson’s ratio)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

172 : เซรามิ
กสามารถรับแรงชนิ
ดใดได
ดี
ที
สุ
่ด

1 : แรงดึง (Tension)
2 : แรงอัด (Compression)
3 : แรงบิด (Torsion)
4 : แรงกระแทก (Impact)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 35/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

173 : ชิ
น งานในลักษณะใดที
้ เสี
่ ยรู
ปด
วยการดึ
งได
ยากที
สุ
่ด

1 : ชิ
น งานที
้ มี
่ความแข็งแรงสูง (Strength)
2 : ชิ
น งานที
้ มี
่ความแข็งตึงมาก (Stiffness)
3 : ชิ
น งานที
้ มี
่ความเหนียวมาก (Toughness)
4 : ชิ
น งานที
้ มี
่ส ภาพดึ
งยืดไดมาก (Ductility)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

174 : การทดสอบใดที
เหมาะสมสํ
่ าหรับหาค
าความเหนี
ยว (Toughness) ของวัส ดุ
มากที
สุ
่ด

1 : Impact test
2 : Tension test
3 : Creep test
4 : Hardness test

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

175 : เครื
องวัดความแข็
่ งแบบบริ
เนลเหมาะสมสํ
าหรับวัดความแข็
งของวัส ดุ
ชนิ
ดใดต
อไปนี
มากที
้ สุ
่ด

1 : เหล็
กหล อเทา
2 : ยางพารา
3 : ไม
ส ัก
4 : พลาสติ ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่176 : แทงโลหะผสมของอลู มิ
เนี
ยมมี
เส
น ผ
านศูน ย
กลาง 15 มิ ลลิเมตร นําไปทดสอบด
วยแรงดึ
ง (Tension) 24.5 กิ
โลนิ
วตัน ถ
าเส
น ผ
านศู
น ย
กลางของโลหะผสมนี
กลายเป
้ น
14.5 มิ
ลลิ
เมตร จงหาคาความเค
น ทางวิ
ศวกรรม (Engineering stress) ในหนวย MPa

1 : 139
2 : 148
3 : 160
4 : 183

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

177 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความแข็
งแรง (Strength) มากที
สุ
่ด

1 : ทอนาโนคาร
บอน
2 : เหล็กหล
อเทา
3 : ไททาเนียมผสมนิเกิ

4 : เพชร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

178 : ข
อใดถู
กต
อง

1 : ความเค
น จริ
ง คื
อ แรงกระทํ
าตอหนึงหน
่ วยพื
น ที
้ ข องชิ
่ น งานเริ
้ มต
่ น ก
อนรับแรง
2 : ความเค
น ทางวิศวกรรม คื
อ แรงกระทําต
อหนึ
งหน
่ วยพื
น ที
้ ข องชิ
่ น งานในขณะใด ๆ

3 : ความเครี
ยดจริง คื
อ การเปลียนแปลงความยาวของชิ
่ น งานต
้ อหนึ งหน
่ วยความยาวของชิน งานเริ
้ มต
่ น ก
อนการเปลียนแปลง

4 : ความเครี
ยดทางวิ ศวกรรม คื
อ การเปลียนแปลงความยาวของชิ
่ น งานต
้ อหนึ งหน
่ วยความยาวของชิน งานเริ
้ มต
่ น ก
อนการเปลี
ยนแปลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที ่179 : วัส ดุ
ชิ
น หนึ
้ งมี
่ ความต านแรงคราก (Yield strength) เท
ากับ 300 MPa เมื
อนํ
่ าวัส ดุ
ชิ
น นี
้ มารับแรงซึ
้ งก
่ อให
เกิ
ดความเค
น เท
ากับ 200 MPa โดยเป
น การรับแรงดึ
งสลับกับ
การรับแรงอัด ซึงอาจทํ
่ าให
วัส ดุ
ชิ
น ดังกล
้ าวมี
โอกาสทีจะเกิ
่ ดการแตกหักประเภทใดมากที สุ
่ด

1 : แตกหักแบบเปราะ
2 : แตกหักแบบเหนี ยว
3 : ความลา (Fatigue)
4 : ความคืบ (Creep)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ขอที่180 : จงคํ านวณค ามอดุ


ลัส ของสภาพยืดหยุน (Modulus of elasticity) ของวัส ดุ
 M จากขอมู
ลต
อไปนี้
วัส ดุ
M ไดรับแรงดึ
ง (Tension) ซึ งทํ
่ าใหเกิดการเสี
ยรู
ปอย
างชั่
วคราว
(Elastic deformation) โดยมี
ค
าความเคน ทางวิ
ศวกรรม (Engineering stress) เท
ากับ 500 MPa และความเครี
ยดทางวิศวกรรม (Engineering strain) เท
ากับ 0.001

1 : 500 GPa
2 : 50 GPa
3 : 5 GPa
4 : 0.5 GPa

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

181 : ภายใต
แรงดึ
ง (Tension) อย
างไรที
ทํ
่าให
ชิ
น งานเสี
้ ยรู
ปแบบยื
ดหยุ
น (Elastic deformation)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 36/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : ใช
แรงดึ
งน
อยกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
2 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
3 : ใช
แรงดึ
งน
อยกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)
4 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

182 : ภายใต
แรงดึ
ง (Tension) อย
างไรที
ทํ
่าให
ชิ
น งานเสี
้ ยรู
ปอย
างถาวร (Plastic deformation)

1 : ใช
แรงดึ
งน
อยกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
2 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
3 : ใช
แรงดึ
งน
อยกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)
4 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

183 : ภายใต
แรงดึ
ง (Tension) อย
างไรที
ทํ
่าให
ชิ
น งานอะลู
้ มิ
เนี
ยมเสี
ยรู
ปอย
างถาวรและสม่
าเสมอตลอดทั้
ํ งชิ
น งาน (Uniform-plastic deformation)

1 : ใช
แรงดึ
งน
อยกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
2 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength)
3 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงคราก (Yield strength) แต
น
อยกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)
4 : ใช
แรงดึ
งมากกว
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

184 : ข
อใดกล
าวผิ
ด เกี
ยวกับการแตกหักของวัส ดุ

1 : การแตกหักแบบเหนี ยว (Ductile fracture) จะเกิดหลังจากการเสี


ยรู
ปอยางถาวร (Plastic deformation) และการขยายรอยแตก (Crack) จะเกิ ดอย างช
าๆ
2 : การแตกหักแบบเปราะ (Brittle fracture) จะเกิ
ดโดยไม มี
การเสี
ยรู
ปอยางถาวร (Plastic deformation) ซึ งมี
่ การขยายรอยแตก (Crack) ได รวดเร็ว
3 : การเกิดคอคอด (Necking) ของวัส ดุ จะเกิดขึน ก
้ อนการแตกหักแบบเหนี ยว (Ductile fracture) และแบบเปราะ (Brittle fracture) เสมอ
4 : วัส ดุ
ที
เหนี
่ ยว เช
น พอลิเมอร และเหล็ กกลาบางชนิ ด จะสามารถดูดกลืน พลังงานที ใช
่ ในการทํ าให
วัส ดุ
แตกหักไดมากกว าวัส ดุ
ที
เปราะ เช
่ น เซรามิก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

185 : ความสามารถในการเปลี
ยนแปลงรู
่ ปร
างของวัส ดุ
ก
อนการแตกหัก หมายถึ
ง สมบัติ
ข
อใด

1 : ความเหนียว (Toughness)
2 : สภาพดึงยืดได (Ductility)
3 : ความยื
ดหยุ น (Resilience)

4 : ความล
า (Fatigue)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

186 : ข
อใดกล
าวผิ
ด เกี
ยวกับกฎของฮุ
่ ก (Hooke’s law)

1 : ความสัมพัน ธ
ข องความเคน (Stress) และความเครี
ยด (Strain) ที แปรผัน ตรงซึ
่ งกัน และกัน

2 : ค
าคงทีข องการแปรผัน ที
่ เป
่ น ไปตามกฎของฮุ ก คื
อ ค
ามอดุ ลัส สภาพยืดหยุ น (Modulus of elasticity)

3 : การเสี
ยรู
ปที เกิ
่ ดขึน ซึ
้ งความเค
่ น (Stress) และความเครียด (Strain) แปรผัน ตรงซึ งกัน และกัน นี
่ ้
เรียกวา การเสี
ยรู
ปอย
างถาวร (Plastic deformation)
4 : ค
ามอดุลัส สภาพยืดหยุน เป
 น ค
าทีบอกถึ
่ งความแข็งตึง (Stiffness) ของวัส ดุ
ในการต านทานต อการเสี ยรู
ปแบบยื ดหยุ
น (Elastic deformation) ของวัส ดุ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

187 : ความล
า (Fatigue) ของวัส ดุ
หมายถึ
งอะไร

1 : การยื ดตัวทีละน
อย เนืองจากวัส ดุ
่ รับแรงเป
น เวลานาน
2 : วัส ดุ
มี
ความแข็ งแรงลดลง เนื องจากรับแรงซ้
่ าซาก

3 : การสึ กหรอของชิ น งาน เนื
้ องจากรับแรงซ้
่ าซากเป
ํ น เวลานาน
4 : การแตกร าวของชิน งาน เนื
้ องจากรับแรงซ้
่ าซากเป
ํ น เวลานาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

188 : การทดสอบความแข็
งของเหล็
กหล
อเทา (Gray cast iron) ควรใช
วิ
ธี
ทดสอบแบบใด

1 : บริ
เนลล(Brinell)
2 : วิ
กเกอร
ส (Vickers)
3 : รอคเวลล ซี(Rockwell C)
4 : รอคเวลล เอ (Rockwell A)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

189 : สภาพดึ
งยื
ดได
(Ductility) ของโลหะสามารถทดสอบได
โดยวิ
ธี
ใด

1 : การทดสอบโดยใช
แรงดึง (Tensile test)
2 : การทดสอบความแข็
ง (Hardness test)
3 : การทดสอบโดยใช
แรงกระแทก (Impact test)
4 : การทดสอบความล
า (Fatigue test)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 37/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที่190 : จงคํ
านวณคาความเครี
ยดทางวิ
ศวกรรม (Engineering strain) ของวัส ดุ
รู
ปร
างเป
น แท
งยาว 2.2 เมตร และพื
น ที
้ หน
่ าตัดเป
น รู
ปสี
เหลี
่ ยมจัตุ
่ รัส มี
ความยาวแต
ละด
านเท
ากับ
50 มิ
ลลิ
เมตร เมื
อนํ
่ าไปรับแรงดึ
งปรากฏว
าความยาวเพิ
มขึ
่ น เป
้ น 2.202 เมตร

1 : 0.09
2 : 0.009
3 : 0.0009
4 : 0.00009

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

191 : จงคํ
านวณค
าความเค
น ทางวิ
ศวกรรม (Engineering stress) ของวัส ดุ
รู
ปทรงกระบอกเส
น ผ
านศู
น ย
กลาง 10 มิ
ลลิ
เมตร ยาว 1 เมตร และถู
กรับแรงดึ
งขนาด 50,000 N

1 : 640 GPa
2 : 640 MPa
3 : 640 kPa
4 : 640 Pa

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่192 : ลวดทองแดงยาว 500 มิ ลลิเมตร มีคามอดุ
ลัส ของสภาพยื
ดหยุ
น (Modulus of elasticity) 110 GPa ถู
 กดึ
งด
วยแรงดึ
งจนมี
ความเค
น 350 MPa หากการเสี
ยรู
ปที
เกิ
่ ดขึ
น นี
้ ้
เป
น การเสี
ยรู
ปแบบยืดหยุ
น (Elastic deformation) ลวดทองแดงจะถู
 กยื
ดออกจนมี
ความยาวเปลี ยนแปลงไปจากเดิ
่ มกี
มิ
่ลลิ
เมตร

1 : 0.016
2 : 0.16
3 : 1.6
4 : 16

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ขอที่
193 : เมื
อนํ
่ าวัส ดุA และวัส ดุ
B มาทดสอบแรงดึ
งได
ความสัมพัน ธ
ระหว
างความเค
น และความเครี
ยดดังรู
ป จากผลการทดสอบ ข
อใดต
อไปนี
เปรี
้ ยบเที
ยบสมบัติ
ข องวัส ดุ
A และ
วัส ดุ
B ไดถู
กตองทีสุ
่ ด

1 : วัส ดุ
A มี
ความแข็งตึง (Stiffness) มากกวาวัส ดุB
2 : วัส ดุ
A มี
ความเหนียว (Toughness) มากกว าวัส ดุB
3 : วัส ดุ
A มี
ความยื
ดหยุ น (Resilience) มากกว
 าวัส ดุB
4 : วัส ดุ
A มี
ส ภาพดึ
งยืดได (Ductility) มากกว
าวัส ดุ B

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที่194 : แท
งโลหะมี
พื
น ที
้ หน
่ าตัดเป
น รู
ปสี เหลี
่ ยมจัตุ
่ รัส มีความยาวดานเท
ากับ 25 เซนติเมตร ทําจากเหล็กกลาเกรด 1020 ซึ
งมี
่ ค
าความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength) เท
ากับ
380 MPa และคาความต
านแรงคราก (Yield strength) เทากับ 180 MPa เมื
อแท
่ งโลหะนีได
้ รับแรงดึ
ง 25,000 นิ
วตัน จะเกิ
ดการเสี
ยรู
ปอย
างไร

1 : เกิ
ดการเสี
ยรู
ปแบบยืดหยุ


2 : เกิ
ดการเสี
ยรู
ปอย
างถาวรโดยเสี
ยรู
ปอย
างสม่
าเสมอตลอดทั้
ํ งชิน งาน

3 : เกิ
ดการเสี
ยรู
ปอย
างถาวรโดยเสี
ยรู
ปอย
างไม
ส ม่
าเสมอตลอดทั้
ํ งชิน งาน

4 : เกิ
ดการเสี
ยรู
ปอย
างถาวรโดยเสี
ยรู
ปอย
างไม
ส ม่
าเสมอตลอดทั้
ํ งชิน งานและแตกหัก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่195 : ชิ น งานทดสอบชนิ
้ ดหนึ
งเมื
่ อได
่ รับความเค
น 30,000 lb/in2 จะก
อให
เกิ
ดความเครี
ยดเท
ากับ 0.05 จงคํ
านวณหาค
ามอดุ
ลัส ของสภาพยื
ดหยุ
น (Modulus of elasticity)

ในหน
วย lb/in2 ของชิน งานทดสอบนี
้ ้

1:

2:

3:

4:

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่ 196 : หากต องการเปรี
ยบเที
ยบการเปลี
ยนแปลงขนาดของวัส ดุ
่ ตามทิ
ศทางการดึ
งต
อการเปลี
ยนแปลงขนาดในทิ
่ ศทางตั้
งฉากกับทิ
ศทางการดึ
งของวัส ดุ
ชนิ
ดต
างๆ ควรนํ

สมบัติ
ข องวัส ดุ
ในข
อใดตอไปนีมาพิ
้ จารณาเปรี
ยบเที
ยบ

1 : ความเค น (Stress)
2 : อัตราสวนของป วซอง (Poisson’s ratio)
3 : ความเหนี ยว (Toughness)
4 : มอดุลัส ของสภาพยื ดหยุ
น (Modulus of elasticity)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 38/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

197 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความแข็
ง (Hardness) มากที
สุ
่ด

1 : พอลิ ไวนิ
ลคลอไรด
2 : เหล็กกลาไร
ส นิ
มมาเทนไซต
3 : เหล็กหลอเทา
4 : ซิลิ
กอนคาร ไบด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ขอที
่198 : โลหะผสมทองแดงถูกใช
งานโดยได
รับความเคน แบบวัฏจักร (Cycle stresses) ที
่25 องศาเซลเซี
ยส เมื
อถู
่ กใช
ไปนานระยะหนึ
งเกิ
่ ดการแตกหักขึ
น แม
้ ว
าความเค
น ที
ได

รับมี
ค
าน
อยกวาค
าความต
านแรงคราก ความเสี
ยหายนีเป
้ น การแตกหักแบบใด

1 : การแตกร
าวเนื
องจากการคื
่ บ (Creep fracture)
2 : การแตกหักล
า (Fatigue fracture)
3 : การแตกร
าวเปราะ (Brittle fracture)
4 : การแตกร
าวเหนียว (Ductile fracture)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

199 : ความเสี
ยหายเนื
องจากการคื
่ บ (Creep) มักเกิ
ดขึ
น เมื
้ อโลหะถู
่ กนํ
าไปใช
งานในสภาวะใด

1 : ใช
งานที
อุ
่ณหภู
มิ
ห
อง และไดรับความเค
น แบบวัฏจักร (Cycle stresses) เป
น เวลานาน
2 : ใช
งานที
อุ
่ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ าอุ
ณหภู มิ
ห
อง และไดรับความเคน แบบวัฏจักร (Cycle stresses) เป
น เวลานาน
3 : ใช
งานที
อุ
่ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ าอุ
ณหภู มิ
ห
อง และไดรับความเคน คงทีเป
่ น เวลานาน
4 : ใช
งานที
อุ
่ณหภู
มิ
สู
ง และได
รับความเคน คงทีเป
่ น เวลานาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

200 : วัส ดุ
ชิ
น หนึ
้ งถู
่ กดึ
งจนขาดเป
น 2 ส
วน พบว
าบริ
เวณรอยขาดแยกแตกแบบราบเรี
ยบ แสดงว
าวัส ดุ
นี
น
้าจะมี
ส มบัติ
อย
างไร

1 : มี
ความแข็
งตึง (Stiffness) สู
ง และความแข็ง (Hardness) สู ง
2 : มี
ความแข็
งตึง (Stiffness) สู
ง และสภาพดึงยืดได (Ductility) สูง
3 : มี
ความแข็
ง (Hardness) ต่ า และสภาพดึ
ํ งยืดได (Ductility) สูง
4 : มี
ความแข็
ง (Hardness) ต่ า และสภาพดึ
ํ งยืดได (Ductility) ต่า

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

เนื
อหาวิ
้ ชา : 244 : 07 Physical and chemical properties and testing

ข
อที

201 : วัส ดุ
ส
วนใหญ
ในกลุ
มใดมี
 ส ัมประสิ
ทธิ
การขยายตัวเนื
์ องจากความร
่ อนมากที
สุ
่ด

1 : โลหะ
2 : เซรามิ ก
3 : พอลิ เมอร
4 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

202 : วัส ดุ
ส
วนใหญ
ในกลุ
มใดมี
 ส ัมประสิ
ทธิ
การขยายตัวเนื
์ องจากความร
่ อนน
อยที
สุ
่ด

1 : โลหะ
2 : เซรามิ ก
3 : พอลิ เมอร
4 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

203 : วัส ดุ
ส
วนใหญ
ในกลุ
มใดสามารถนํ
 าความร
อนได
ดี
ที
สุ
่ด

1 : โลหะ
2 : เซรามิ ก
3 : พอลิ เมอร
4 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

204 : วัส ดุ
ชนิ
ดใดเหมาะสํ
าหรับนํ
ามาทํ
าเป
น ตัวนํ
าความร
อนได
ดี
ที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ

2 : อะลู
มิ
เนี
ยม
3 : พลาสติก
4 : กระจก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

205 : วัส ดุ
ประเภทใดที
มี
่ช
องว
างของแถบพลังงาน (Energy band gap) กว
าง

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 39/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : สารตัวนํา (Conductor)
2 : สารกึ
งตัวนํ
่ า (Semiconductor)
3 : ฉนวน (Insulator)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ ด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

206 : โครงสร
างอิ
เล็
กตรอนของสารกึ
งตัวนํ
่ าทางไฟฟ
า (Semiconductor) คื
อข
อใด

1 : โครงสร
างของสารที
มี
่อิ
เล็กตรอนไมเต็
มแถบเวเลนซ (Valance band)
2 : โครงสร
างของสารที
ระดับพลังงานของแถบการนํ
่ า (Conduction band) ซ
อนอยู
กับระดับพลังงานของแถบเวเลนซ
 (Valance band)
3 : โครงสร
างของสารที
มี
่อิ
เล็กตรอนเต็มแถบเวเลนซ(Valance band) แตช
องว
างระหวางแถบเวเลนซ(Valance band) และแถบการนํา (Conduction band) ห
างกัน ไม
มาก
4 : โครงสร
างของสารที
มี
่อิ
เล็กตรอนเต็มแถบเวเลนซ(Valance band) แตช
องว
างระหวางแถบเวเลนซ(Valance band) และแถบการนํา (Conduction band) ห
างกัน มาก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

207 : โครงสร
างของสารตัวนํ
าไฟฟ
าคื
อข
อใด

1 : โครงสรางของสารทีมี
่อิ
เล็กตรอนไมเต็
มแถบเวเลนซ (Valance band)
2 : โครงสรางของสารทีระดับพลังงานของแถบการนํ
่ า (Conduction band) ซ
อนอยู
กับระดับพลังงานของแถบเวเลนซ
 (Valance band)
3 : ถู
กทั้
งขอ 1 และ 2
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

208 : แม
เหล็
กถาวร (Hard magnet) หมายถึ
งข
อใด

1 : วัส ดุ
ที
ง
่ายต อการทําเปน แม
เหล็ก
2 : วัส ดุ
ที
ส ามารถรักษาภาวะการเป
่ น แม
เหล็
กไดดี
3 : วัส ดุ
ที
ต
่ องใชส นามแมเหล็กภายนอกน อยเพื
อทํ
่ าเป
น แม
เหล็

4 : เหล็ กที
มี
่ ส นามแมเหล็
กตกค างอยูภายใน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

209 : แม
เหล็
กชั่
วคราว (Soft magnet) หมายถึ
งข
อใด

1 : วัส ดุ
ที
ง
่ ายต
อการทํ าเปน แม
เหล็

2 : วัส ดุ
ที
ส ามารถลบล
่ างอํานาจแมเหล็
กได
ง
าย
3 : วัส ดุ
ที
ต
่ องใชส นามแมเหล็กภายนอกนอยเพื
อทํ
่ าเป
น แม
เหล็

4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

210 : อุ
ณหภู
มิ
คู
รี
(Curie temperature) คื
อ อุ
ณหภู
มิ
ใด

1 : อุ
ณหภู
มิ
ที
เกิ
่ ดการเปลี
ยนโครงสร
่ างผลึ

2 : อุ
ณหภู
มิ
ที
เกิ
่ ดการเปลี
ยนสภาพความเป
่ น แม
เหล็

3 : อุ
ณหภู
มิ
ที
ความจุ
่ ความรอนจํ
าเพาะมี
ค
าคงที่
4 : อุ
ณหภู
มิ
ที
ข องแข็
่ งมี
ความหนืดลดลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

211 : เมื
อแสงตกกระทบวัส ดุ
่ ใดๆ ปรากฏการณ
ใดสามารถเกิ
ดขึ
น ได
้ บ
าง

1 : แสงสะท อนกลับ
2 : แสงผานทะลุ โดยเกิ
ดการหักเหขึ
น ภายใน

3 : แสงถูกดูดกลืน
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

212 : เมื
อแสงตกกระทบลงบนวัส ดุ
่ โปร
งใส (Transparent) ไม
มี
สี
จะเกิ
ดปรากฏการณ
ใดขึ

1 : แสงสะท อนกลับ
2 : แสงผานทะลุ โดยเกิ
ดการหักเหขึ
น ภายใน

3 : แสงถูกดูดกลืน
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

213 : เซลล
แสงอาทิ
ตย
(Solar cell) ใช
หลักการใดในการเปลี
ยนพลังงานจากแสงให
่ เป
น พลังงานไฟฟ

1 : การดูดกลืน พลังงานของแสงในสารกึ งตัวนํ


่ า
2 : การหักเหของคลื น แสงในสารกึ
่ งตัวนํ
่ า
3 : การสะทอนของแสงที ผิ
่ วของสารกึ
งตัวนํ
่ า
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 40/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

214 : โลหะในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความต
านทานการกัดกร
อน (Corrosion resistance) ในบรรยากาศปกติ
น
อยที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกล

2 : เหล็
กหลอ
3 : อะลู
มิ
เนี
ยม
4 : ทองแดง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

215 : โลหะในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความต
านทานการกัดกร
อน (Corrosion resistance) ในบรรยากาศปกติ
สู
งที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มเฟอร
ไรต(Ferritic stainless steel)
2 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มมาร
เทนไซต (Martensitic stainless steel)
3 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มออสเทไนต (Austenitic stainless steel)
4 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มแปซิฟ
ก (Pacific stainless steel)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

216 : โลหะในข
อใดต
อไปนี
ควรนํ
้ ามาเคลื
อบผิ
วเหล็
กเพื
อป
่ องกัน การเกิ
ดสนิ
มและเพิ
มความแข็
่ งให
กับเหล็

1 : สังกะสี
2 : โครเมียม
3 : อะลูมิ
เนี
ยม
4 : ดีบุ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

217 : วัส ดุ
ใดต
อไปนี
มี
้ค
าความเป
น แม
เหล็
กต่
าที
ํ สุ
่ด

1 : วัส ดุ
ไดอะแมกนิติ
ก (Diamagnetic material)
2 : วัส ดุ
พาราแมกนิติ
ก (Paramagnetic material)
3 : วัส ดุ
เฟร
โรแมกนิ
ติก (Ferromagnetic material)
4 : วัส ดุ
เฟร
ริ
แมกนิ
ติก (Ferrignetic material)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

218 : ไดโอดเปล
งแสง (Light emitting diode, LED) ใช
หลักการใดในการทํ
างาน

1 : การสะทอนแสง (Reflection)
2 : การดูดกลืน แสง (Absorption)
3 : การหักเหของแสง (Refraction)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

219 : แว
น ขยาย (Magnifier) ใช
หลักการใดในการทํ
างาน

1 : การสะทอนแสง (Reflection)
2 : การดูดกลืน แสง (Absorption)
3 : การหักเหของแสง (Refraction)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

220 : โลหะในข
อใดต
อไปนี
มี
้ส ภาพนํ
าไฟฟ
า (Electrical conductivity) น
อยที
สุ
่ด

1 : ทองแดงบริ
สุ
ทธิ
์ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
ต่า

2 : ทองแดงบริ
สุ
ทธิ
์ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
สูง
3 : ทองแดงผสมนิ
เกิ
ลและผ
านกระบวนการรีดเย็
น ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
ต่


4 : ทองแดงผสมนิ
เกิ
ลและผ
านกระบวนการรีดเย็
น ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
สู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

221 : โลหะในข
อใดต
อไปนี
มี
้ส ภาพต
านทานไฟฟ
า (Electrical resistivity) น
อยที
สุ
่ด

1 : ทองแดงบริ
สุ
ทธิ
์ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
ต่า

2 : ทองแดงบริ
สุ
ทธิ
์ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
สูง
3 : ทองแดงผสมนิ
เกิ
ลและผ
านกระบวนการรีดเย็
น ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
ต่


4 : ทองแดงผสมนิ
เกิ
ลและผ
านกระบวนการรีดเย็
น ที
ใช
่ งาน ณ อุ
ณหภู
มิ
สู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

222 : ถ
าต
องการเพิ
มสภาพนํ
่ าไฟฟ
า (Electrical conductivity) ให
กับสารกึ
งตัวนํ
่ า (Semiconductor) ควรทํ
าอย
างไร

1 : ลดอุ
ณหภู มิ
การใช
งาน
2 : เติ
มสารเจื
อปน
3 : นํ
าไปผานกระบวนการขึ
น รู
้ ปเย็

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 41/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

223 : ถ
าต
องการเพิ
มสภาพนํ
่ าไฟฟ
า (Electrical conductivity) ให
กับสารตัวนํ
า (Conductor) ควรทํ
าอย
างไร

1 : ลดอุณหภู มิ
การใชงาน
2 : เติ
มสารเจือปน
3 : นํ
าไปผานกระบวนการขึ น รู
้ ปเย็

4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

224 : เมื
อสัมผัส โต
่ ะไม
และโต
ะเหล็
กที
ตั้
่ งอยู
ในห
 องปรับอากาศบริ
เวณเดี
ยวกัน เราจะรู
สึ
กโต
ะเย็
น ไม
เท
ากัน อย
างไร

1 : โต
ะเหล็กเย็
น กว
า เพราะเหล็
กมี
ความจุ
ความร
อนมากกว าไม
2 : โต
ะเหล็กเย็
น กว
า เพราะเหล็
กถ
ายเทความร
อนไดดี
กวาไม
3 : โต
ะเหล็กเย็
น กว
า เพราะเหล็
กมี
ความหนาแนน มากกว
าไม
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

225 : ถ
าให
ความร
อนกับชิ
น งานที
้ มี
่ความหนามากจะเกิ
ดสิ
งใดขึ
่ น

1 : ชิน งานบวมขึ
้ น เนื
้ องจากการขยายตัวทางความร
่ อนทีผิ
่วชิน งานมากกว
้ า
2 : ชิน งานหดตัวลง เนื
้ องจากการหดตัวภายในชิ
่ น งาน

3 : ผิวชิน งานเกิ
้ ดการแตกร าว เนื
องจากการหดตัวภายในชิ
่ น งาน

4 : เกิดความเค น อัด (Compressive stress) ที
ผิ
่วชิ
น งาน และความเค
้ น ดึ
ง (Tensile stress) ภายในชิ
น งาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

226 : เพราะเหตุ
ใดจึ
งเห็
น สี
ในวัส ดุ
โปร
งใส (Transparent) บางชนิ

1 : แสงทีส
่ งผ
านถูกดูดกลื
น ไปในบางช วงความยาวคลื


2 : แสงทีส
่ งผ
านเกิดการหักเหขึ น ภายในเนื
้ อวัส ดุ

3 : มี
การผสมเม็ดสี ลงในเนือวัส ดุ

4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

227 : ข
อใดต
อไปนี
ทํ
้าให
เกิ
ดสนิ
มไม
มี
สี
บนผิ
วชิ
น งานเหล็
้ กกล
าที
มี
่รอยขี
ดข
วนในบรรยากาศที
มี
่ความชื

1 : ผิ
วชิ
น งานถู
้ กเคลื
อบด
วยสังกะสี
2 : ผิ
วชิ
น งานถู
้ กเคลื
อบด
วยโครเมียม
3 : ผิ
วชิ
น งานถู
้ กเคลื
อบด
วยดีบุ

4 : ผิ
วชิ
น งานถู
้ กเช็
ดทํ
าความสะอาดด วยน้
าสะอาดเป
ํ น ประจํ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

228 : เทพี
เสรี
ภาพทํ
ามาจากทองแดงบริ
สุ
ทธิ

เพราะเหตุ
ใดเทพี
เสรี
ภาพจึ
งมี
สี
เขี
ยว

1 : มี
การทาสี
เขี
ยวเพื
อป
่ องกัน การผุ
กร
อน
2 : เกิ
ดการผุ
กร
อนที
ผิ
่วเกิ
ดเปน ทองแดงออกไซดสี
เขี
ยว
3 : เกิ
ดการผุ
กร
อนที
ผิ
่วเกิ
ดเปน ทองแดงซัลเฟตสี
เขี
ยว
4 : เกิ
ดการผุ
กร
อนที
ผิ
่วเกิ
ดเปน ทองแดงคลอไรดสี
เขี
ยว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

229 : ข
อความใดต
อไปนี
เป
้ น การกล
าวที
ถู
่กต
อง

1 : เงิ
น มี
ค
าสภาพนํ าไฟฟ
า (Electrical conductivity) ดีกวาทอง
2 : ลวดตัวนําที
มี
่ข นาดพืน ที
้ หน
่ าตัดมากมี การนําไฟฟ าแยกว าลวดตัวนํ าที
มี
่ข นาดพื
น ที
้ หน
่ าตัดน
อยกว
าในวัส ดุ
เดี
ยวกัน ที
มี
่ความยาวเท
ากัน
3 : อะลูมิ
เนี
ยมมี
ค
าสภาพต านทานไฟฟ า (Electrical resistivity) มากกวาเพชร
4 : อุ
ณหภู มิ
ไม
มี
ผลต อความสามารถในการนํ าไฟฟ าในวัส ดุ ที เป
่ น โลหะ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

230 : ข
อความใดต
อไปนี
เป
้ น การกล
าวที
ผิ
่ด

1 : N-type เป
น สารกึ
งตัวนํ
่ าประเภท Extrinsic semiconductor
2 : อุ
ณหภู มิสู
งมีผลต
อความสามารถในการนํ าไฟฟาในวัส ดุ
ที
เป
่ น สารกึ
งตัวนํ
่ า
3 : การเติ
ม (Doping) ด โบรอน (B 3+) เข
วยธาตุ าไปแทนทีซิ
่ ลิกอน (Si 4+) ในโครงสรางผลึ
กทําใหเกิ
ดเป
น สารกึ
งตัวนํ
่ าแบบ N-type
4 : การแพร(Diffusion) มี
บทบาทอย
างมากในการทํ าสารกึ
งตัวนํ
่ าประเภท Extrinsic semiconductor

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

231 : วัส ดุ
ส
วนใหญ
ในกลุ
มใดต
 อไปนี
มี
้จุ
ดหลอมเหลว (Melting point) สู
งที
สุ
่ด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 42/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : เซรามิก
2 : โลหะ
3 : พอลิเมอร
4 : ไม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่232 : ลวดทองเหลื
องยาว 1 เมตร ถู
กทํ
าใหร
อนจนมี
อุ
ณหภูมิ
สู
ง 70 องศาเซลเซี
ยส จากอุณหภู
มิ30 องศาเซลเซี
ยส ขณะที
ปลายทั้
่ งสองข
างถู
กยึ
ด จงหาขนาดของความเค น
ที
เกิ
่ ดขึ
น ในหน
้ วย MPa กํ าหนดให ค
ามอดู
ลัส ของสภาพยื
ดหยุ
น (Modulus of elasticity) ของทองเหลื
 องมี
ค
า 97 GPa และสัมประสิ
ทธิการขยายตัวเนื
์ องจากความร
่ อน
(Coeffeicient of thermal expansion) ของทองเหลื
องมีา 20×10-6 องศาเซลเซี
ค ยส -1

1 : +0.08
2 : -0.08
3 : +77.60
4 : -77.60

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

233 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
เกิ
้ ดการขยายตัวเนื
องจากความร
่ อนสู
งที
สุ
่ด

1 : ซิลิ
กา
2 : เหล็กกล า
3 : พอลิ เอทิลีน
4 : อะลูมินา

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

234 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
มี
้ค
าความจุ
ความร
อนสู
งที
สุ
่ด

1 : แกว
2 : ทังสเตน
3 : พอลิ ไวนิลคลอไรด
4 : อะลู มิเนี
ยม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

235 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
ส ามารถนํ
้ าไฟฟ
าได
ดี
ขึ
น เมื
้ ออุ
่ ณหภู
มิ
ลดลง

1 : อะลูมิเนี
ยม
2 : ซิ
ลิกอน
3 : พอลิ เอสเทอร
4 : แคดเมี ยมซัลไฟด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

236 : การทํ
างานของอุ
ปกรณ
วัดแสงทั่
วไปในการถ
ายภาพเกี
ยวข
่ องกับปรากฏการณ
ใด

1 : การเปลงแสง (Luminescence)
2 : การนําไฟฟาด
วยแสง (Photoconductivity)
3 : การเรื
องแสงแบบฟลู ออเรสเซนซ(Fluorescence)
4 : การเรื
องแสงแบบฟอสฟอเรสเซนซ (Phosphorescence)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

237 : เพราะเหตุ
ใดพอลิ
เมอร
ที
มี
่ความเป
น ผลึ
กสู
งจึ
งไม
โปร
งใส (Transparent)

1 : การมี
ผลึ
กทํ
าให
เกิ
ดการเปลงแสงมาก
2 : การมี
ผลึ
กทํ
าให
เกิ
ดการเรื
องแสงมาก
3 : การมี
ผลึ
กทํ
าให
เกิ
ดการกระเจิ
งของแสงในเนื อวัส ดุ
้ มาก
4 : การมี
ผลึ
กทํ
าให
อิ
เล็
กตรอนเลือนระดับชั้
่ น พลังงานได มาก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

238 : หากต
องการตรวจสอบวัส ดุ
ตัวอย
างว
าเป
น แม
เหล็
กถาวร (Hard magnet) หรื
อแม
เหล็
กชั่
วคราว (Soft magnet) ควรพิ
จารณาจากสมบัติ
ในข
อใดต
อไปนี

1 : ค
าความไวต อสภาพแมเหล็ก (Magnetic susceptibility)
2 : ค
าความสามารถซึ มซับแมเหล็ ก (Magnetic permeability)
3 : เส
น โค
งฮิ
ส เทอรีซิ
ส (Hysteresis loop)
4 : ค
าคงทีไดอิ
่ เล็
กทริ
ก (Dielectric constant)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

239 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
วัส ดุ
ไดอะแมกนิ
ติ

1 : อะลู
มิ
น ัมออกไซด
(Al 2O3)
2 : แมกนี
ไทต
(Fe 3O4)
3 : ทองแดง (Cu)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 43/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : สังกะสี
(Zn)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

240 : ข
อใดไม
ใช
แม
เหล็
กถาวร

1 : วัส ดุ
ไดอะแมกนิ ติ

2 : วัส ดุ
พาราแมกนิ ติ

3 : วัส ดุ
เฟร
โรแมกนิติ

4 : ขอ 1 และ 2 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

เนื
อหาวิ
้ ชา : 245 : 08 Structures of materials

ข
อที

241 : เพราะเหตุ
ใดเหล็
กแผ
น ที
ผ
่านกระบวนการขึ
น รู
้ ปด
วยวิ
ธี
รี
ดเย็
น (Cold rolling) จึ
งมี
ความแข็
งมากกว
าเหล็
กแผ
น ที
ผลิ
่ ตด
วยวิ
ธี
รี
ดร
อน (Hot rolling)

1 : การรี
ดเย็น ไม
ทํ
าใหเกิ
ดผลึ
กใหม (Recrystallization)
2 : การรี
ดเย็น ทํ
าให
มีความเค
น ตกคาง (Residual stress) บนผิ
วเหล็
กแผ
น น
อยกว
าการรี
ดร
อน
3 : การรี
ดเย็น ทํ
าให
ผิวเหล็
กแผน เกิ
ดออกไซด มากกว าการรี
ดร
อน
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

242 : พัน ธะใดเป
น พัน ธะทางกายภาพ (Physical bond)

1 : พัน ธะโลหะ (Metallic bond)


2 : พัน ธะไอออนิก (Ionic bond)
3 : พัน ธะโควาเลนซ (Covalent bond)
4 : พัน ธะแวนเดอรวาลส (Van der Waals bond)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

243 : โครงสร
างผลึ
กชนิ
ดใดมี
การจัดเรี
ยงอะตอมอย
างหนาแน
น ที
สุ
่ด

1 : โครงสร
างลู
กบาศกอย
างง
าย (Simple cubic)
2 : โครงสร
างลู
กบาศกกึ
งกลางเซล (Body-centered cubic)

3 : โครงสร
างลู
กบาศกกึ
งกลางผิ
่ วหนา (Face-centered cubic)
4 : โครงสร
างออร
โทรอมบิกกึ
งกลางฐาน (Base-centered orthorhombic)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

244 : โครงสร
างของออสเทไนต
(Austenite) ในเหล็
กกล
า มี
โครงสร
างผลึ
กรู
ปแบบใด

1 : Body-centered cubic (BCC)


2 : Face-centered cubic (FCC)
3 : Hexagonal close-packed (HCP)
4 : Body-centered cubic (BCC) และ Face-centered cubic (FCC)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

245 : วัส ดุ
ชนิ
ดใดต
อไปนี
มี
้พัน ธะหลักเป
น พัน ธะโคเวเลนต
(Covalent bond)

1 : Ni
2 : SiC
3 : H2O ระหว
างโมเลกุ

4 : MgO

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่246 : ทังสเตนที
่20 องศาเซลเซียส มี
โครงสร
างผลึ
กแบบ Body-centered cubic (BCC) โดยมี
ค
า lattice parameter 0.3165 นาโนเมตร (nm) จงคํ
านวณหาค
ารัศมี
อะตอม
ของโลหะทังสเตนในหนวยนาโนเมตร (nm)

1 : 0.1371
2 : 0.1432
3 : 0.2315
4 : 0.7309

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่247 : กํ
าหนดให a, b, c คื
อค
าความยาวแต
ละด
านของหน
วยเซลล
และ α, β, γ คื
อมุ
มระหว
างด
าน ถ
าพบว
าโครงสร
างผลึ
กแบบหนึ
งมี
่ ค
า a≠b≠c และ α = β = γ = 90 องศา
อยากทราบว าโครงสร
างผลึ กนีมี
้ชื
อว
่ าอะไร

1 : Cubic
2 : Tetragonal
3 : Orthorhombic
4 : Monoclinic

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 44/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที
่248 : กํ
าหนดใหa, b, c คื
อค
าความยาวแต
ละด
านของหนวยเซลลและ α, β, γ คื
อมุ
มระหว
างด
าน ถ
าพบว
าโครงสร
างผลึกแบบหนึ
งมี
่ ค
า a = b = c และ α = β = γ = 90
องศา มี
อะตอมอยูตามมุ
 มทุกมุม และมี
อะตอมอยู
กึ
งกลางหน
่ าทั้
งหกหนาของหน
วยเซลล อยากทราบว
าโครงสร
างผลึ
กนี
มี
้ชือว
่ าอะไร

1 : Simple cubic
2 : Body-centered cubic
3 : Simple orthorhombic
4 : Face-centered cubic

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

249 : โครงสร
างผลึ
กแบบ body-centered cubic (BCC) ในหนึ
งหน
่ วยเซลล
(Unit cell) ประกอบด
วยกี
อะตอม

1 : 1 อะตอม
2 : 2 อะตอม
3 : 3 อะตอม
4 : 4 อะตอม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

250 : โครงสร
างผลึ
กแบบ Face-centered cubic (FCC) ในหนึ
งหน
่ วยเซลล
(Unit cell) ประกอบด
วยกี
อะตอม

1 : 1 อะตอม
2 : 2 อะตอม
3 : 3 อะตอม
4 : 4 อะตอม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

251 : โครงสร
างผลึ
กแบบ Hexagonal closed pack (HCP) ในหนึ
งหน
่ วยเซลล
(Unit cell) ประกอบด
วยกี
อะตอม

1 : 2 อะตอม
2 : 4 อะตอม
3 : 6 อะตอม
4 : 8 อะตอม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

252 : ข
อใดต
อไปนี
มี
้โครงสร
างแบบ Closed-pack

1 : Body-centered tetragonal
2 : Body-centered cubic
3 : Face-centered cubic
4 : Base-centered orthorhombic

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

253 : พลาสติ
กใสจะมี
โครงสร
างภายในเป
น แบบใด

1 : ไม
มี
ความเป น ผลึ

2 : มี
ความเปน ผลึกที
มี
่ ข นาดเล็
กกว
าความยาวคลื
น แสง

3 : ข
อ 1 และ 2 ถูก
4 : ข
อ 1 และ 2 ผิด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

254 : เพราะเหตุ
ใดพอลิ
เมอร
ชนิ
ดที
มี
่โครงสร
างภายในที
ส ามารถเกิ
่ ดผลึ
กได
จึ
งมี
ลักษณะเป
น แบบกึ
งผลึ
่ ก (Semicrystalline) เท
านั้

1 : เพราะพอลิเมอรมี
โครงสรางผลึกทียุ
่งยากซับซ
 อน
2 : เพราะพอลิเมอรมี
ส ายโซ
โมเลกุ ลที
ยาวมาก

3 : เพราะการจัดเรี
ยงตัวให
เป
น ระเบี
ยบของทุกโมเลกุลของพอลิ
เมอร
ทํ
าได
ยาก
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

255 : ปริ
มาณความเป
น ผลึ
กของพอลิ
เมอร
มี
ผลต
อความหนาแน
น ของพอลิ
เมอร
ชนิ
ดนั้
น อย
างไร

1 : ปริ
มาณผลึ
กที
มากขึ
่ น ทํ
้ าให
ความหนาแน
น เพิ
มขึ
่ น

2 : ปริ
มาณผลึ
กที
มากขึ
่ น ทํ
้ าให
ความหนาแน
น ลดลง
3 : ปริ
มาณผลึ
กที
มากขึ
่ น อาจทํ
้ าให
ความหนาแนน เพิ
มขึ
่ น หรื
้ อลดลงก็
ได
4 : ปริ
มาณผลึ
กไม
มี
ผลต
อความหนาแนน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

256 : พัน ธะเคมี
ที
เกิ
่ ดในสายโซ
หลักของโมเลกุ
ลพอลิ
เมอร
คื
อพัน ธะชนิ
ดใด

1 : พัน ธะโคเวเลนซ (Covalent bond)


2 : พัน ธะไอออนิก (Ionic bond)
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 45/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : พัน ธะโลหะ (Metallic bond)
4 : พัน ธะแวนเดอร
วาลส (Van der Waals bond)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

257 : โครงสร
างโมเลกุ
ลของพอลิ
เอทิ
ลี
น (Polyethylene) แบบกิ
ง (Branched) มี
่ ส มบัติ
ต
างจากโครงสร
างโมเลกุ
ลของพอลิ
เอทิ
ลี
น แบบเส
น ตรง (Linear) อย
างไร

1 : ความแข็
งแรงเพิมขึ
่ น

2 : ความเป
น ผลึกลดลง
3 : การยื
ดและหดตัวลดลง
4 : ความทนต อการถู
กขี
ดข
วนเพิ
มขึ
่ น

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

258 : ข
อใดคื
อคํ
าจํ
ากัดความของ Tg (Glass transition temperature)

1 : อุ
ณหภู
มิ
ที
ส ายโซ
่ รองของโมเลกุ
ลพอลิ
เมอร
ส ามารถเคลื
อนที
่ ได

2 : อุ
ณหภู
มิ
ที
ส ายโซ
่ หลักของโมเลกุ
ลพอลิ
เมอร
ส ามารถเคลื
อนที
่ ได

3 : อุ
ณหภู
มิ
ในการเกิ
ดผลึก
4 : อุ
ณหภู
มิ
ในการหลอมเหลว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่259 : ถ
านําพอลิ เมอร
ทีมี
่โครงสร
างภายในเปน แบบกึ
งผลึ
่ ก (Semicrystalline polymer) มาอบที
อุ
่ณหภู
มิ
สู
งกว
า Tg (Glass transition temperature) ประมาณ 10 – 20 องศา
เซลเซี
ยส เปน เวลา 24 ชั่
วโมง ผลทีได
่ จะเป
น อย
างไร

1 : สภาพดึงยืดได (Ductility) เพิ


มขึ
่ น

2 : ความแข็งแรงทีจุ
่ ดคราก (Yield strength) ลดลง
3 : ค
ามอดุ
ลัส สภาพยื ดหยุ น (Modulus of elasticity) เพิ
 มขึ
่ น

4 : ความแข็ง (Hardness) ลดลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

260 : พอลิ
เมอร
ที
ไม
่ ส ามารถเกิ
ดโครงสร
างผลึ
กได
คื
อพอลิ
เมอร
ชนิ
ดใดต
อไปนี

1 : พอลิ
เอทิลี
น (Polyethylene)
2 : พอลิ
เอทิลี
น เทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate)
3 : ไนลอน (Nylon)
4 : พอลิ
ส ไตรี
น (Polystyrene)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

261 : ข
อใดคื
อโครงสร
างผลึ
กของมาร
เทนไซต
(Martensite)

1 : Face-centered cubic (FCC)


2 : Body-centered cubic (BCC)
3 : Body-centered tetragonal (BCT)
4 : Face-centered tetragonal (FCT)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

262 : ข
อใดคื
อโครงสร
างผลึ
กของเบไนต
(Bainite)

1 : Face-centered cubic (FCC)


2 : Body-centered cubic (BCC)
3 : Body-centered tetragonal (BCT)
4 : Face-centered tetragonal (FCT)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

263 : เหล็
กกล
าคาร
บอนต่
า (0.2wt%C) ในข
ํ อใดต
อไปนี

มี
ข นาดเกรนเล็
กที
สุ
่ด

1 : อบที
อุ
่ณหภู
มิ
1050 องศาเซลเซี
ยส ปล
อยให
เย็
น ในเตา
2 : อบที
อุ
่ณหภู
มิ
1050 องศาเซลเซี
ยส ปล
อยให
เย็
น ในอากาศ
3 : อบที
อุ
่ณหภู
มิ
950 องศาเซลเซี
ยส ปล
อยให
เย็
น ในเตา
4 : อบที
อุ
่ณหภู
มิ
950 องศาเซลเซี
ยส ปล
อยให
เย็
น ในอากาศ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

264 : โครงสร
างที
ทนต
่ อการคื
บ (Creep) ได
ดี
ที
สุ
่ดคื
อ ข
อใดต
อไปนี

1 : ผลึ
กเดี
ยว (Single crystal)

2 : โครงสร
างทีมี
่เกรนขนาดใหญ
3 : โครงสร
างทีมี
่เกรนขนาดเล็ ก
4 : โครงสร
างทีมี
่เกรนรูปรางเรียวยาว

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที
่265 : โครงสร
างจุ
ลภาคของรอยเชื
อมเหล็
่ กกล
าไร
ส นิ
มออสเทไนต(Austenite stainless steel) บริ
เวณพื
น ที
้ หลอมเหลว (Fusion zone) ประกอบด
่ วยเฟสต
างๆ ดังในข
อใด

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 46/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
ต
อไปนี

1 : ออสเทไนต
(Austenite)
2 : ออสเทไนต
(Austenite) และ เฟร
ไรต
(Ferrite)
3 : ออสเทไนต
(Austenite) และ เพอร
ไลต(Pearlite)
4 : ออสเทไนต
(Austenite) และ คาร
ไบด(Carbide)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

266 : โครงสร
างของเหล็
กกล
าคาร
บอนในข
อใดต
อไปนี
ที
้ทนต
่ อแรงกระแทกที
อุ
่ณหภู
มิ
ต่
าได
ํ ดี
ที
สุ
่ด

1 : ออสเทไนต (Austenite) เกรนขนาดใหญ


2 : เฟร
ไรต
(Ferrite) เกรนขนาดใหญ
3 : ออสเทไนต (Austenite) เกรนขนาดเล็

4 : เฟร
ไรต
(Ferrite) เกรนขนาดเล็ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

267 : การเกิ
ดข
อบกพร
องแบบ Schottky มักเกิ
ดกับผลึ
กที
ยึ
่ดกัน ด
วยพัน ธะชนิ
ดใด

1 : พัน ธะโลหะ (Metallic bond)


2 : พัน ธะโควาเลนท (Covalent bond)
3 : พัน ธะไอออนิก (Ionic bond)
4 : พัน ธะแวนเดอรวาลส (Van der Waals bond)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

268 : ทํ
าไมข
อบกพร
องแบบ Frenkel มักเกิ
ดกับ Cation มากกว
า Anion

1 : Cation มี
ข นาดใหญ กวา Anion
2 : Anion มีข นาดใหญกวา Cation
3 : การแทรกของ Anion ในผลึ กเกิดได
ง
ายกว

4 : Anion มักจะอยูไม
 เป
น ระเบี
ยบ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

269 : สารประกอบออกไซด
ประเภทใดที
ช
่วยทํ
าให
ความหนื
ดของแก
วต่
าลง

1:
Na2O
2 : Al2O3
3 : SiO2
4 : TiO2

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

270 : ทํ
าไมแกรไฟต
(Graphite) ถึ
งสามารถหลุ
ดออกเป
น แผ
น ๆได
ง
าย

1 : ระหว
างชั้
น ของโครงสร
างแกรไฟต ยึ
ดกัน ดวยพัน ธะไอออนิก (Ionic bond)
2 : ระหว
างชั้
น ของโครงสร
างแกรไฟต ไมมีการยึ
ดกัน ด
วยพัน ธะใดๆ
3 : ระหว
างชั้
น ของแกรไฟตยึ
ดกัน ด
วยพัน ธะโควาเลนท (Covalent bond)
4 : ระหว
างชั้
น ของโครงสร
างแกรไฟต เป
น พัน ธะแวนเดอรวาลส (Van der Waals bond)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

271 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
โครงสร
างผลึ
กของเซรามิ

1 : BaTiO3
2 : NaCl
3 : Al2O3
4 : CH4

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

272 : การเติ
มสาร Intermediate oxides ในแก
วเพื
อประโยชน
่ อะไร

1 : เพื
อให
่ ส ามารถขึ
น รู
้ ปแก วไดง
ายขึ


2 : เพื
อให
่ แกวมี
ความหนื ดต่าลง

3 : เพื
อปรับปรุ
่ งสมบัติข องแกว
4 : เพื
อทํ
่ าให แก
วหลอมตัวที อุ
่ณหภู มิ
ต่
าลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

273 : ข
อใดไม
ถู
กต
องเมื
อกล
่ าวถึ
งโครงสร
างของแก

1 : แกวมีโครงสร
างเป
น ตาข
าย (Network structure) ที
มี
่ทิศทางไม แน
น อน
2 : พัน ธะของโครงสรางของแกวยึ
ดกัน ด
วยพัน ธะไอออนิ ก (Ionic bond)
3 : แกวมีโครงสร
างแบบไมเป
น ผลึ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 47/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : โครงสร
างของแก
วเกิ ดกัน ของ SiO 44 -
ดจากการยึ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

274 : การเติ
มสาร Glass-modifying oxide ในแก
วเพื
อประโยชน
่ อะไร

1 : เพื
อให
่ แก
วมี
ความต
านทานต อการเปลี
ยนแปลงอุ
่ ณหภู
มิ
(Thermal shock resistance)
2 : เพื
อให
่ แก
วมี
ความหนื
ดต่าลง

3 : เพื
อให
่ แก
วมี
ความแข็
งสู
งขึน

4 : เพื
อให
่ แก
วมี
ผลึ
กเกิ
ดขึ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

275 : โครงสร
างผลึ
กแบบ Perovskite มี
ความสํ
าคัญสํ
าหรับวัส ดุ
ประเภทใด

1 : Pyroelectric material
2 : Piezoelectric material
3 : Semiconductor
4 : Capacitor

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

276 : ข
อใดไม
ใช
องค
ประกอบของอะตอม

1 : นิ
วเคลี
ยร
2 : นิ
วตรอน
3 : อิ
เล็
กตรอน
4 : โปรตอน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

277 : พัน ธะในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความแข็
งแรงน
อยที
สุ
่ด

1 : พัน ธะไอออนิก
2 : แรงแวนเดอร วาลส
3 : พัน ธะโลหะ
4 : พัน ธะไฮโดรเจน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

278 : โครงสร
างผลึ
กในข
อใดต
อไปนี
ที
้อะตอมมี
่ การบรรจุ
แบบชิ
ดที
สุ
่ด (closed pack)

1 : FCC และ BCC


2 : FCC และ HCP
3 : BCC และ HCP
4 : Simple cubic และ HCP

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

279 : พัน ธะใดต
อไปนี
เกิ
้ ดขึ
น ระหว
้ างโมเลกุ
ลของน้
าในน้
ํ าแข็
ํ ง

1 : พัน ธะโคเวเลนซ
2 : พัน ธะไอออนิก
3 : พัน ธะไฮโดรเจน
4 : พัน ธะโลหะ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ขอที
่280 : สารประกอบของ LiAg มี
หน
วยเซลล
เป
น แบบ Simple cubic และอะตอมทั้
งสองชนิ
ดต
างมี
เลขโคออร
ดิ
เนชัน เท
ากับ 8 ดังนั้
น หน
วยเซลล
ดังกล
าวนี
จะมี
้ ลักษณะเหมื
อน
กับผลึ
กในข อใด

1 : NaCl
2 : ZnS
3 : CsCl
4 : AgCl

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 246 : 09 Processing-Structure relationships

ข
อที

281 : ข
อใดต
อไปนี
ถู
้กต
องที
สุ
่ด

1 : เหล็
กโครงสร าง FCC มี ความแข็งแรงเพิ
มขึ
่ น ช
้ ากว
าเหล็
กโครงสร
าง BCC ระหว
างการขึ
น รู
้ ปเย็น (Cold working)
2 : การเคลือน (Dislocation) ในผลึ
่ กโครงสราง FCC สามารถเคลื
อนที
่ ได
่ ยากกว
าในผลึ
กโครงสร าง BCC
3 : การเคลือน (Dislocation) ในผลึ
่ กโครงสราง FCC สามารถเคลื
อนที
่ ได
่ ง
ายกว
าในผลึ
กโครงสราง HCP
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 48/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

282 : การชุ
บแข็
งเหล็
กกล
าคาร
บอนปานกลาง ต
องทํ
าการเผาเหล็
กจนได
โครงสร
างใดก
อนทํ
าให
เย็
น ตัวอย
างรวดเร็

1 : เฟรไรต
(Ferrite)
2 : ออสเทไนต (Austenite)
3 : ซีเมนไทต(Cementite)
4 : มารเทนไซต (Martensite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

283 : เหล็
กหล
อขาว (White cast iron) มี
โครงสร
างจุ
ลภาคดังในข
อใดต
อไปนี

1 : เฟรไรต
และ เพอรไลต(Ferrite & Pearlite)
2 : ซีเมนไทต และ เพอร
ไลต (Cementite & Pearlite)
3 : เฟรไรต
และ แกรไฟต (Ferrite & Graphite)
4 : เพอรไลตและ แกรไฟต (Peartite & Graphite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

284 : ข
อใดคื
อโครงสร
างของเหล็
กกล
าคาร
บอนปานกลางที
ได
่ จากการปล
อยให
เย็
น อย
างช
าๆ จากโครงสร
างออสเทไนต
(Austenite)

1 : Cementite + Pearlite
2 : Ferrite + Pearlite
3 : Bainite + Pearlite
4 : Martensite + Pearlite

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

285 : ข
อใดคื
อโครงสร
างจุ
ลภาคของเหล็
กกล
าคาร
บอนที
ผ
่านการเผาด
วยอุ
ณหภู
มิ
คงที
ประมาณ 730 - 750 องศาเซลเซี
่ ยส เป
น เวลานาน 20 ชั่
วโมง

1 : เพอร
ไลต
หยาบ (Coarse pearlite)
2 : เพอร
ไลต
ละเอี
ยด (Fine pearlite)
3 : สเฟ
ยรอยไดต(Spheroidite)
4 : เบไนต
แบบขนนก (Feathery bainite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

286 : ในกระบวนการหล
อโลหะ เมื
อโลหะที
่ หลอมเหลวเกิ
่ ดการแข็
งตัว และเกิ
ดโพรงช
องว
างขึ
น ภายในชิ
้ น งาน ซึ
้ งถื
่ อว
าเป
น ความบกพร
องประเภทใด

1 : ความบกพร
องแบบจุ

2 : ความบกพร
องแบบเส

3 : ความบกพร
องแบบระนาบ
4 : ความบกพร
องแบบปริ
มาตร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

287 : ข
อใดกล
าวไม
ถู
กต
อง

1 : Equiaxed grains เปน เกรนที


เกิ
่ ดจากผลึกทีโตสม่
่ าเสมอในทุ
ํ กทิ
ศทาง
2 : Columnar grains พบบริ เวณที
น้
่าโลหะสัมผัส กับผิ
ํ วแมพิ
มพ
3 : Equiaxed grains เกิ
ดเนื องจากน้
่ าโลหะเย็
ํ น ตัวอยางรวดเร็

4 : Columnar grains มิทิศทางเติบโตเข
าสู
ภายในของแม
 พิ
มพ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

288 : ข
อใดกล
าวถึ
งกระบวนการเกิ
ดผลึ
กใหม
(Recrystallinzation) ไม
ถู
กต
อง

1 : ต
องเกิ
ดการเปลี
ยนรู
่ ปน อยทีสุ
่ดค
าหนึงจึ
่ งจะสามารถเกิดผลึกใหม
ได
2 : ถ
าปริ
มาณการเปลียนรู
่ ปนอยจะทําให
อุ
ณหภู มิ
ในการเกิดผลึ
กใหมสู
งขึ


3 : ขนาดเกรนสุดท
ายหลังการเกิดผลึ
กใหมจะขึ
น อยู
้ กับปริ
 มาณการเปลียนรู
่ ป
4 : โลหะบริ
สุ
ทธิมี
์อุ
ณหภูมิการเกิ
ดผลึกใหม
สูงกว
าโลหะผสม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

เนื
อหาวิ
้ ชา : 247 : 10 Structure-Property relationships

ข
อที

289 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มชนิ
ดใดต
อไปนี
ที
้แม
่ เหล็
กดู
ดไม
ติ

1 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มเฟรไรต(Ferritic stainless steel)
2 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
ม ออสเทนไนต (Austenitic stainless steel)
3 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มมารเทนไซต (Martensitic stainless steel)
4 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มดูเพล็กซ (Duplex stainless steel)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

290 : ถ
าแสงสามารถส
องทะลุ
ผ
านแผ
น บางของอะลู
มิ
เนี
ยมออกไซด
(Al 2O3) ได
ทั้
งหมด ข
อใดคื
อโครงสร
างของอะลู
มิ
เนี
ยมออกไซด
แผ
น นั้

1 : ผลึ
กเดี
ยว (Single crystal)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 49/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
2 : พหุ
ผลึ ก (Polycrystal) เนือแน
้ น ไม
มี
ช
องวางภายใน
3 : พหุ
ผลึ ก (Polycrystal) ทีมี
่ ช
องวางภายใน
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

291 : ถ
าแสงสามารถส
องทะลุ
ผ
านแผ
น บางของอะลู
มิ
เนี
ยมออกไซด
(Al 2O3) ได
บางส
วน ข
อใดคื
อโครงสร
างของอะลู
มิ
เนี
ยมออกไซด
แผ
น นั้

1 : ผลึ
กเดียว (Single crystal)

2 : พหุ
ผลึ ก (Polycrystal) เนือแน
้ น ไม
มี
ช
องวางภายใน
3 : พหุ
ผลึ ก (Polycrystal) ทีมี
่ ช
องวางภายใน
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

292 : ถ
าแสงไม
ส ามารถส
องทะลุ
ผ
านแผ
น บางของอะลู
มิ
เนี
ยมออกไซด
(Al 2O3) ได
ข
อใดคื
อโครงสร
างของอะลู
มิ
เนี
ยมออกไซด
แผ
น นั้

1 : ผลึ
กเดียว (Single crystal)

2 : พหุ
ผลึ ก (Polycrystal) เนือแน
้ น ไม
มี
ช
องวางภายใน
3 : พหุ
ผลึ ก (Polycrystal) ทีมี
่ ช
องวางภายใน
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

293 : โครงสร
างผลึ
กชนิ
ดใดต
อไปนี
ส ามารถเสี
้ ยรู
ปจากการดึ
งได
ง
ายที
สุ
่ด

1 : Hexagonal closed-pack (HCP)


2 : Face-centered cubic (FCC)
3 : Body-centered cubic (BCC)
4 : Simple cubic (SC)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที
่294 : เพราะเหตุ
ใดเซอร
โคเนี
ยมออกไซด(ZrO 2) ที
ผสมด
่ วยอิ
เที
ยมออกไซด(Y 2O3) หรื
อที
เรี
่ ยกว
า Yttria-stabilized zirconia (YSZ) จึ
งสามารถนํ
ามาใช
เป
น ตัวตรวจวัด
ปริ
มาณก
าซออกซิ
เจน (Oxygen sensor) ได

1 : เนืองจากการผสมอิ
่ เที
ยมออกไซด ทํ
าให เกิดช
องว
างของประจุ บวก (Cation vacancy) ขึ น ในโครงสร
้ างผลึ กของเซอรโคเนียมออกไซดทํ าให
ออกซิเจนไอออนสามารถเคลื
อนที
่ ่
เขามาได จึ
งสามารถใชตรวจวัดปริมาณออกซิ เจนได
2 : เนื
องจากการผสมอิ
่ เทียมออกไซด ทํ
าให เกิ
ดชองว
างของประจุลบ (Anion vacancy) ขึ น ในโครงสร
้ างผลึกของเซอร โคเนียมออกไซด ทําให
ออกซิเจนไอออนสามารถเคลื
อนที
่ เข
่ า
มาได จึงสามารถใชตรวจวัดปริมาณออกซิ เจนได
3 : เนืองจากอิ
่ เที
ยมไอออนมี ข นาดเล็
กกว าเซอรโคเนี
ยมไอออน เมื อผสมกัน แล
่ วเกิดการแทนที ข องประจุ
่ บวกขึ น ส
้ งผลให โครงสร
างผลึกของเซอรโคเนี
ยมออกไซด
เกิ
ดการหดตัว
ทําใหออกซิเจนไอออนสามารถเคลื อนที
่ เข
่ ามาได จึ
งสามารถใชตรวจวัดปริ
มาณออกซิ เจนได
4 : เนืองจากเนื
่ องจากอิ
่ เทียมไอออนมี ข นาดใหญ กว
าเซอรโคเนี
ยมไอออน เมื อผสมกัน แล
่ วเกิดการแทนที ข องประจุ
่ บวกขึ น ส
้ งผลใหโครงสร
างผลึ
กของเซอรโคเนี
ยมออกไซดเกิ

การขยายตัว ทําใหออกซิเจนไอออนสามารถเคลื อนที
่ เข
่ ามาไดจึ
งสามารถใช ตรวจวัดปริมาณออกซิ เจนได

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

295 : ทํ
าไมเซรามิ
กที
มี
่โครงสร
างคล
ายกับผลึ
กเดี
ยว (Like a single crystal) ถึ
่ งยอมให
แสงผ
านได
(Translucent)

1 : เนื
องจากภายในเกรนมี
่ การจัดเรียงอะตอมที
เกื
่ อบจะอยู
ในทิ
 ศทางเดี
ยวกัน
2 : เนื
องจากขอบเกรนมี
่ ความหนา
3 : เนื
องจากภายในเกรนมี
่ ธ าตุอื
น มาแทรก

4 : เนื
องจากมี
่ ช
องว
างเกิ
ดขึ น ภายในเกรน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

296 : โครงสร
างจุ
ลภาคระหว
างเพอร
ไลต
หยาบ (Coarse pearlite) และเพอร
ไลต
ละเอี
ยด (Fine pearlite) โครงสร
างใดมี
ความแข็
งแรงมากกว
า และเพราะอะไร

1 : เพอร
ไลต
หยาบแข็งแรงมากกว
า เพราะมี
ปริมาณคาร
บอนอิส ระมากกวา
2 : เพอร
ไลต
ละเอี
ยดแข็งแรงมากกว
า เพราะมี
ปริมาณคาร
บอนอิส ระมากกวา
3 : เพอร
ไลต
หยาบแข็งแรงมากกว
า เพราะมี
ข นาดของเกรนใหญ กวา
4 : เพอร
ไลต
ละเอี
ยดแข็งแรงมากกว
า เพราะมี
ข นาดของเกรนเล็กกว า

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

297 : จงเรี
ยงลํ
าดับโครงสร
างจุ
ลภาคที
มี
่ความแข็
งจากมากไปน
อย

1 : เพอร
ไลต(Pearlite), เบไนต (Bainite), มาร
เทนไซต (Martensite)
2 : เบไนต(Bainite), เพอรไลต (Pearlite), มาร
เทนไซต (Martensite)
3 : มาร
เทนไซต (Martensite), เบไนต (Bainite), เพอร
ไลต(Pearlite)
4 : เบไนต(Bainite), มาร
เทนไซต (Martensite), เพอรไลต(Pearlite)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

298 : โครงสร
างของเหล็
กกล
าสเฟ
ยรอยไดซ
(Spheroidized steel) มี
ส มบัติ
ทางกลอย
างไร และเพราะอะไร

1 : มี
ความแข็
งสู
ง เพราะปรากฏโครงสรางของซี
เมนไทต(Cementite) แบบแทง
2 : มี
ความอ
อนตัวสู
ง เพราะปรากฏโครงสร
างของซี
เมนไทต (Cementite) แบบกลม

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 50/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
3 : มี
ความแข็
งสู
ง เพราะปรากฏโครงสรางของกราไฟต(Graphite) แบบแทง
4 : มี
ความอ
อนตัวสู
ง เพราะปรากฏโครงสร
างของกราไฟต (Graphite) แบบกลม

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

299 : เซรามิ
กทั่
วไปมี
ค
าของสมบัติ
ในข
อใดน
อยกว
าของโลหะทั่
วไป

1 : Hardness
2 : Thermal insulation
3 : Toughness
4 : Chemical resistance

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

300 : วัส ดุ
ในข
อใดสามารถดู
ดกลื
น พลังงานไว
ก
อนที
จะเสี
่ ยรู
ปทรงอย
างถาวรได
สู

1 : แผ
น อะลูมิ
เนี
ยม
2 : แผ
น ยาง
3 : แผ
น กระจก
4 : แผ
น สังกะสี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

เนื
อหาวิ
้ ชา : 248 : 11 Methods and tools for structure investigation

ข
อที

301 : ถ
าต
องการวิ
เคราะห
โครงสร
างจุ
ลภาคของชิ
น งานโลหะด
้ วยกล
องจุ
ลทรรศน
แบบแสง (Optical microscope) ควรเตรี
ยมชิ
น งานอย
้ างไร

1 : ขัดผิ
วชิน งานให
้ เรี
ยบ
2 : ขัดผิ
วชิน งานให
้ เรี
ยบและกัดผิ
วชิ
น งานด
้ วยกรด
3 : ขัดผิ
วจนชิ น งานมี
้ ความบางมาก ๆ
4 : ไมต
องเตรียมผิวชิน งาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

302 : ถ
าต
องการวิ
เคราะห
ลักษณะทางโครงสร
างจุ
ลภาคของห
องเครื
องยนต
่ ดี
เซลที
ผ
่านกรรมวิ
ธี
การหล
อ ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : มาตรวัดการเลียวเบนของรังสี
้ เอกซ(X-ray diffractometer)
2 : กล
องจุลทรรศน อิ
เล็
กตรอนแบบส องผาน (Transmission electron microscope)
3 : กล
องจุลทรรศน อิ
เล็
กตรอนแบบกราดวิ เคราะห (Scanning electron microscope)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที่303 : ถ
าต
องการตรวจสอบการยึ
ดติ
ดของผลิ
ตภัณฑ
วงจรรวม (Integrated circuit) บนแผงวงจรรวม (Print circuit board) ด
วยการยึ
ดพื
น ผิ
้ ว (Surface mount) ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : กล
องถายรู
ปดิจิ
ตอล (Digital camera)
2 : กล
องจุลทรรศนแบบแสง (Optical microscope)
3 : กล
องจุลทรรศนอิ
เล็
กตรอนแบบส องผาน (Transmission electron microscope)
4 : มาตรวัดการเลี
ยวเบนของรังสี
้ เอ็
กซ(X-ray diffractometer)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่ 304 : ถาต
องการวิ
เคราะห
การกระจายตัวของเฟสที
เกิ
่ ดขึ
น จากกระบวนการเชื
้ อมยึ
่ ดติ
ดของผลิ
ตภัณฑ
วงจรรวม (Integrated circuit) บนแผงวงจรรวม (Print circuit board)
ควรเลื
อกใชเครื
องมื
่ อใด

1 : มาตรวัดการเลี
ยวเบนของรังสี
้ เอกซ (X-ray diffractometer)
2 : กล
องจุลทรรศนแบบแสง (Optical microscope)
3 : กล
องจุลทรรศนอิ
เล็
กตรอนแบบกราดวิ เคราะห (Scanning electron microscope)
4 : กล
องจุลทรรศนอิ
เล็
กตรอนแบบส องผ าน (Transmission electron microscope)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

305 : ถ
าต
องการวิ
เคราะห
โครงสร
างผลึ
กของวัส ดุ
ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : มาตรวัดการเลียวเบนของรังสี
้ เอกซ (X-ray diffractometer)
2 : กล
องจุลทรรศน แบบแสง (Optical microscope)
3 : กล
องจุลทรรศน อิ
เล็
กตรอนแบบกราดวิ เคราะห (Scanning electron microscope)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

306 : ถ
าต
องการวิ
เคราะห
ทิ
ศทางการเรี
ยงตัวของอะตอมในแว
น ผลึ
กซิ
ลิ
กอน (Silicon wafer) ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : กล
องจุลทรรศน แบบแสง (Optical microscope)
2 : กล
องจุลทรรศน อิ
เล็
กตรอนแบบกราดวิ เคราะห
(Scanning electron microscope)
3 : กล
องจุลทรรศน อิ
เล็
กตรอนแบบส องผ าน (Transmission electron microscope)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิ

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 51/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

307 : ถ
าต
องการบัน ทึ
กภาพของท
อน้
าที
ํ เกิ
่ ดการผุ
กร
อน ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : กล
องถ
ายรู
ปดิ
จิ
ตอล (Digital camera)
2 : กล
องจุ
ลทรรศน
แบบแสง (Optical microscope)
3 : กล
องจุ
ลทรรศน
อิ
เล็
กตรอนแบบกราดวิ เคราะห
(Scanning electron microscope)
4 : กล
องจุ
ลทรรศน
อิ
เล็
กตรอนแบบส งผาน (Transmission electron microscope)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

308 : ถ
าต
องการวิ
เคราะห
รู
ปร
างของผลึ
กนาโนคาร
บอนที
ผลิ
่ ตได
ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : มาตรวัดการเลียวเบนของรังสี
้ เอกซ (X-ray diffractometer)
2 : กล
องจุลทรรศน แบบแสง (Optical microscope)
3 : เครื
องวัดการเรื
่ องแสงของรังสีเอกซ (X-ray fluorescence spectroscope)
4 : กล
องจุลทรรศน อิ
เล็
กตรอนแบบส องผาน (Transmission electron microscope)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

309 : ถ
าต
องการวิ
เคราะห
โครงสร
างจุ
ลภาคของก
อนโลหะด
วยกํ
าลังขยายขนาด 5,000 เท
า ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : Optical microscope
2 : Optical spectroscope
3 : Scanning electron microscope
4 : Scanning tunneling electron microscope

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

310 : ข
อใดไม
ใช
สิ
งที
่ กล
่ องจุ
ลทรรศน
อิ
เล็
กตรอนแบบกราดวิ
เคราะห
(Scanning electron microscope) สามารถให
ผลการวิ
เคราะห
ได

1 : การกระจายตัวของเฟส
2 : ลักษณะพืน ผิ
้ วที
แตกหัก

3 : โครงสร
างผลึกของเฟสตางๆ ในชิ
น งาน

4 : รู
ปร
างของเฟสตางๆ ในชิ
น งาน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

311 : ถ
าต
องการวิ
เคราะห
โครงสร
างการจัดเรี
ยงตัวของอะตอมต
างๆ ควรเลื
อกใช
เครื
องมื
่ อใด

1 : มาตรวัดการเลี
ยวเบนของรังสี
้ เอกซ(X-ray diffractometer)
2 : กล
องจุลทรรศน อิ
เล็
กตรอนแบบสองผาน (Transmission electron microscope)
3 : ข
อ 1 และ 2 ถู

4 : ข
อ 1 และ 2 ผิ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

312 : กฏในข
อใดต
อไปนี
ที
้จํ
่าเป
น ต
อการศึ
กษาโครงสร
างผลึ
กด
วยเทคนิ
คการเลี
ยวเบนของรังสี
้ เอ็
กซ

1 : Pauli exclusion principle


2 : Bragg’s law
3 : Hund’s rule
4 : Lever rule

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

เนื
อหาวิ
้ ชา : 249 : 12 Metals processing

ข
อที

313 : ในการดึ
งเหล็
กให
เป
น เส
น ลวด ต
องใช
แรงดึ
งในช
วงใด

1 : ไม
เกิ
น ความต
านแรงคราก (Yield strength)
2 : ไม
เกิ
น ความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength)
3 : มากกวาความต
านแรงคราก (Yield strength) แต
ไม
เกิ
น ความต
านแรงดึ ง (Tensile strength)
4 : มากกวาความต
านแรงดึ
ง (Tensile strength) แต
ไม
ถึ
งจุ
ดแตกหัก (Fracture point)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

314 : ในการตัดชิ
น งานต
้ องเลื
อกมี
ดตัดอย
างไร

1 : มี
ดตัดต
องมี
ความแข็
งมากกว
าชิ
น งาน

2 : มี
ดตัดต
องมี
ความแข็
งแรงมากกว
าชิน งาน

3 : มี
ดตัดต
องมี
ความเหนี
ยวมากกว
าชิน งาน

4 : มี
ดตัดทนความร
อนได
ดี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

315 : ข
อใดคื
อข
อดี
ข องการขึ
น รู
้ ปด
วยการหล
อแบบหล
อทราย (Sand casting)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 52/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : ผลิตไดเร็
ว คราวละมาก ๆ
2 : ต
น ทุ
น แบบหล อต่า

3 : ชิ
น งานมี
้ ผิวเรี
ยบ ไมต
องตกแต
งเพิ


4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

316 : การขึ
น รู
้ ปเย็
น (Cold working) หมายถึ
ง การขึ
น รู
้ ปด
วยแรงทางกล ณ อุ
ณหภู
มิ
ใด

1 : อุ
ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ าอุ
ณหภู
มิ
ห
อง
2 : อุ
ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ าอุ
ณหภู
มิ
การเกิ
ดผลึ
ก (Crystallization temperature)
3 : อุ
ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ าอุ
ณหภู
มิ
การตกผลึ
กใหม (Recrystallization temperature)
4 : อุ
ณหภู
มิ
ต่
ากว
ํ าอุ
ณหภู
มิ
การเปลี
ยนสภาพจากเปราะเป
่ น ดึ
งยื
ดได(Ductile-brittle transition temperature)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

317 : กรรมวิ
ธี
การทางความร
อนใด คื
อ การเผาชิ
น งานที
้ ขึ
่น รู
้ ปด
วยผงโลหะ เพื
อให
่ ผงโลหะเชื
อมติ
่ ดกัน

1 : การอบอ
อน (Annealing)
2 : การอบปกติ (Normalizing)
3 : การอบคื
น ตัว (Tempering)
4 : การอบซิ
น เตอร (Sintering)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

318 : กรรมวิ
ธี
การขึ
น รู
้ ปโลหะใดต
อไปนี
ที
้ก
่อให
เกิ
ดการสู
ญเปล
าของวัตถุ
ดิ
บน
อยที
สุ
่ด

1 : การหลอด
วยแมพิ
มพ ทราย (Sand casting)
2 : การหลอแบบใชแมแบบ (Die casting)
3 : การขึ
น รู
้ ปโลหะผง (Powder Metallurgy)
4 : การตกแตง (Machining)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

319 : ในการขึ
น รู
้ ปเย็
น (Cold working) ข
อใดต
อไปนี
ถู
้กต
องที
สุ
่ด

1 : ควบคุ มขนาดของชิ น งานให


้ เทียงตรงได
่ ยาก
2 : เกิ
ดออกไซด ทีผิ
่วชิน งาน

3 : ชิน งานมี
้ ความแข็ง (Hardness) มากขึ


4 : ขอ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

320 : ข
อใดคื
อข
อดี
ข องการขึ
น รู
้ ปร
อน (Hot working) ของโลหะ

1 : สามารถลดขนาดชิ น งานได
้ คราวละมาก ๆ
2 : สามารถควบคุ มขนาดของชิ น งานได
้ ง
าย
3 : ชิ
น งานมี
้ ความแข็งเพิมมากขึ
่ น

4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

321 : ข
อใดคื
อข
อด
อยของการขึ
น รู
้ ปร
อน (Hot working) ของโลหะ

1 : ควบคุ มขนาดของชิ น งานให


้ เที
ยงตรงได
่ ยาก
2 : ชิน งานมี
้ ความเปราะมากขึ น

3 : เกิ
ดความเค น ตกคางภายในเนื อชิ
้ น งานมากขึ
้ น

4 : ขอ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

322 : ข
อใดคื
อข
อดี
ข องการขึ
น รู
้ ปเย็
น (Cold working) ของโลหะ

1 : ได
ผิวชิ
น งานเรี
้ ยบเปน มัน สะอาด
2 : ชิ
น งานมี
้ ความแข็งเพิ
มมากขึ
่ น

3 : สามารถควบคุ มขนาดของชิ น งานได
้ ง
าย
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

323 : กรรมวิ
ธี
การผลิ
ตใดต
อไปนี
ส ามารถผลิ
้ ตหัวค
อนได
แข็
งแรงที
สุ
่ด

1 : การหลอขึน รู
้ ป (Casting)
2 : การทุบขึน รู
้ ป (Forging)
3 : การตกแต งขึน รู
้ ป (Machining)
4 : การอัดรี
ด (Extrusion)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 53/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

ข
อที

324 : ในการหล
อชิ
น ส
้ วนอะลู
มิ
เนี
ยมผสม ธาตุ
ผสมชนิ
ดใดที
ทํ
่าให
จุ
ดหลอมเหลวของอะลู
มิ
เนี
ยมต่
าลงมากที
ํ สุ
่ด

1 : ทองแดง
2 : ซิ
ลิคอน
3 : นิ
เกิ

4 : แมงกานีส

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

325 : ถ
าต
องการผลิ
ตชิ
น ส
้ วนงานหล
ออะลู
มิ
เนี
ยมเป
น จํ
านวนมาก ควรเลื
อกใช
กรรมวิ
ธี
การหล
อชนิ
ดใดต
อไปนี

1 : การหล
อด
วยแม
พิ
มพ
ทราย (Sand Casting)
2 : การหล
อจากแบบพอกหุน (Investment casting)

3 : การหล
อแบบใช
แม
แบบ (Die casting)
4 : การหล
อแบบต
อเนื
อง (Continuous casting)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

326 : ชิ
น งานโลหะที
้ ผ
่านการขึ
น รู
้ ปด
วยกรรมวิ
ธี
การรี
ดเย็
น (Cold rolling) จะมี
ลักษณะใด

1 : ผิ
วเรี
ยบ ความแข็
งแรงลดลง
2 : ผิ
วเรี
ยบ ความแข็
งแรงเพิมขึ
่ น

3 : ผิ
วหยาบ ความแข็งแรงลดลง
4 : ผิ
วหยาบ ความแข็งแรงเพิมขึ
่ น

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

327 : การหล
อชิ
น งานเครื
้ องประดับ นิ
่ ยมใช
การหล
อแบบใด

1 : การหล
อด
วยแม
พิ
มพ
ทราย (Sand casting)
2 : การหล
อจากแบบพอกหุน (Investment casting)

3 : การหล
อแบบใช
แม
แบบ (Die casting)
4 : การหล
อแบบต
อเนื
อง (Continuous casting)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

328 : ประแจ (Wrench) ที
ส ามารถใช
่ งานได
ทนทาน เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากการขึ
น รู
้ ปด
วยกรรมวิ
ธี
ใดต
อไปนี

1 : การรี
ด (Rolling)
2 : การทุบขึน รู
้ ป (Forging)
3 : การหลอ (Casting)
4 : การอัดรี
ด (Extrusion)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

329 : ลวดสํ
าหรับใช
ทํ
าตะปู
เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากกรรมวิ
ธี
การขึ
น รู
้ ปใดต
อไปนี

1 : การรี
ดรอน (Hot rolling)
2 : การอัดรี
ด (Extrusion)
3 : การดึงรี
ด (Drawing)
4 : การรี
ดเย็น (Cold rolling)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

330 : มี
ดกลึ
งที
มี
่ความเหนี
ยว (Toughness) มาก จะมี
ผลต
อการกลึ
งอย
างไร

1 : สามารถใชความเร็วสู
งได
2 : สามารถกิ
น ลึกชิ
น งานได
้ คราวละมาก ๆ
3 : กลึ
งไดชิ
น งานผิ
้ วเรี
ยบ
4 : มี
ดกลึงทนต อการสึกดี

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

331 : ถ
าต
องการตัดแต
งชิ
น งานให
้ เป
น ร
องรู
ปตัว L ดังรู
ปข
างล
างนี

ควรเลื
อกใช
กรรมวิ
ธี
การใด

1 : การกลึง (Turning)
2 : การกัด (Milling)
3 : การไส (Shaping)
4 : การเจาะ (Drilling)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 54/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
ข
อที

332 : ในการแล
น ประสาน (Brazing) เพื
อทํ
่ าให
แผ
น เหล็
กสองแผ
น เชื
อมติ
่ ดกัน ควรเลื
อกใช
ลวดเชื
อมชนิ
่ ดใดต
อไปนี

1 : เหล็
กกล

2 : อะลู
มิ
เนี
ยม
3 : ทองแดง
4 : ทองเหลื
อง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

333 : รู
ขึ
น (Riser) ในงานหล
้ อมี
ไว
เพื
ออะไร

1 : เพื
อให
่ น้
าโลหะล
ํ น ออกมานอกแบบ
2 : เพื
อให
่ น้
าโลหะในส
ํ วนรู
ขึ
น (Riser) เติ
้ มเต็
มในชิน ส
้ วนงานหล
อขณะแข็
งตัว
3 : เพื
อให
่ มี
การหดตัวหลังการเย็
น ตัวของงานหล อ
4 : เพื
อเพิ
่ มน้
่ าหนักในการกดทับแบบงานหล
ํ อ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

334 : ปากแม
แบบ (Gate) ในงานหล
อมี
ไว
เพื
ออะไร

1 : เป
น ช
องสํ
าหรับน้าโลหะวิ
ํ งเข
่ าแม
แบบ
2 : เป
น ช
องสํ
าหรับเทน้ าโลหะ

3 : เป
น ช
องวิ
งของรู
่ ขึน (Riser)

4 : เป
น รู
ไอของแบบหล อทราย

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

335 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความแข็
ง (Hardness) สู
งที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกลาความเร็วรอบสู ง (High speed steel)
2 : เหล็
กกลาคารบอนสู ง (High carbon steel)
3 : อะลู
มิ
น า (Alumina)
4 : Cubic boron nitride

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

336 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
มี
้ความเหนี
ยว (Toughness) สู
งที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกลาคารบอนสู ง (High carbon steel)
2 : เหล็
กกลาความเร็วรอบสู ง (High speed steel)
3 : อะลู
มิ
น า (Alumina)
4 : Cubic boron nitride

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

337 : เหล็
กกล
าชนิ
ดใดต
อไปนี
ตัดแต
้ งได
ยากที
สุ
่ด

1 : เหล็
กกล
าไร
ส นิ
มเฟรไรต (Ferritic stainless steel)
2 : เหล็
กกล
าคารบอนต่ า (Low carbon steel)

3 : เหล็
กกล
าผสม (Alloy steel)
4 : เหล็
กกล
าเครื
องมื
่ อ (Tool steel)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

338 : ในการรี
ด Slab เพื
อให
่ ได
เหล็
กแผ
น (Sheet metal) ด
วยกรรมวิ
ธี
การรี
ดร
อน (Hot rolling) ควรเลื
อกใช
ลู
กรี
ดแบบใด และความเร็
วรอบอย
างไร เพื
อลดขนาดอย
่ างรวดเร็

1 : ควรใช
ลู
กรี
ดขนาดใหญ
ผิ
วหยาบ และความเร็
วสูง
2 : ควรใช
ลู
กรี
ดขนาดใหญ
ผิ
วหยาบ และความเร็
วรอบต่า

3 : ควรใช
ลู
กรี
ดขนาดใหญ
ผิ
วละเอี
ยด และความเร็
วรอบสูง
4 : ควรใช
ลู
กรี
ดขนาดใหญ
ผิ
วละเอี
ยด และความเร็
วรอบต่า

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

339 : ในการขึ
น รู
้ ปร
อน (Hot working) ของโลหะ ควรใช
อุ
ณหภู
มิ
ที
มากกว
่ าค
าใด

1 : อุ
ณหภู
มิ
ตกผลึ
ก (Recrystallization Temperature)
2 : อุ
ณหภู
มิ
ยู
เทกทอยด (Eutectoid Temperature)
3 : อุ
ณหภู
มิ
ยู
เทกติ
ก (Eutectic Temperature)
4 : อุ
ณหภู
มิ
จุ
ดหลอมเหลว (Melting Temperature)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

340 : Anodizing คื
ออะไร

1 : การชุ
บผิ
วเหล็กให
ส วยงาม
2 : การชุ
บแข็
งอะลูมิ
เนียม
3 : การชุ
บแข็
งผิวอะลูมิ
เนี
ยม
4 : การทํ
าอะลู
มิ
เนียมใหอ
อน
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 55/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

341 : โลหะในข
อใดต
อไปนี
ส ามารถหล
้ อได
ง
ายที
สุ
่ด

1 : เหล็
กหล
อเทา (Gray cast iron)
2 : เหล็
กหล
อขาว (White cast iron)
3 : เหล็
กหล
อเหนี
ยว (Ductile cast iron)
4 : เหล็
กหล
ออบเหนียว (Malleable cast iron)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

342 : กระบวนการในข
อใดต
อไปนี
ส ามารถชุ
้ บแข็
งผิ
วเหล็
กที
ให
่ ความแข็
งสู
งที
สุ
่ด

1 : คาร
บู
ไรซิ
ง (Carburizing)

2 : ไนไตร
ดิ
ง (Nitriding)

3 : ใช
กระแสเหนียวนํ
่ า (Induction hardening)
4 : ใช
เปลวเพลิง (Flame hardening)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

343 : การลดป
ญหาการแตกร
าวในการเชื
อมเหล็
่ กกล
าผสมต่
าสามารถทํ
ํ าได
โดยวิ
ธี
ใดต
อไปนี

1 : ให
ความรอนชิน งานก
้ อนเชือม

2 : อบชิน งานหลังการเชื
้ อม

3 : ใช
ก
าซเฉื อยคลุ
่ มขณะเชือม

4 : เชื
อมโดยใช
่ กํ
าลังไฟฟ
าต่า

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

344 : กระบวนการผลิ
ตในข
อใดต
อไปนี
ที
้เหมาะที
่ สุ
่ดในการผลิ
ตใบพัดของเครื
องกังหัน ก
่ าซ (Gas turbine blades)

1 : การหล
อด
วยแม พิ
มพ ทราย (Sand casting)
2 : การหล
อแบบใช แมแบบ (Die casting)
3 : การหล
อจากแบบพอกหุ น (Investment casting)

4 : การทุ
บขึ
น รู
้ ป (Forging)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

345 : กรรมวิ
ธี
ใดต
อไปนี
ส ามารถผลิ
้ ตแผ
น เหล็
กกล
าที
มี
่ข นาดเที
ยงตรงตามที
่ ต
่องการได
ดี
ที
สุ
่ด

1 : การรี
ดร
อน (Hot rolling)
2 : การรี
ดเย็
น (Cold rolling)
3 : การทุ
บขึน รู
้ ป (Forging)
4 : การดึ
งรี
ด (Drawing)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

346 : ข
อใดไม
ใช
กลไกการเพิ
มความแข็
่ งแรงให
กับอะลู
มิ
เนี
ยมและอะลู
มิ
เนี
ยมผสม

1 : การขึ
น รู
้ ปเย็น (Cold working)
2 : การขึ
น รู
้ ปรอน (Hot working)
3 : การชุ
บแข็ งแบบตกตะกอน (Precipitate hardening)
4 : การทํ
าใหเปน สารละลายของแข็ ง (Solid solution)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

347 : กรรมวิ
ธี
ใดต
อไปนี
เหมาะสํ
้ าหรับผลิ
ตภัณฑ
โลหะที
มี
่จุ
ดหลอมเหลวสู
งและมี
ส ภาพการดึ
งยื
ดได
น
อย

1 : การหล อแบบพอกหุ น (Investment casting)



2 : การอัดรีด (Extrusion)
3 : กรรมวิธีโลหะผง (Powder metallurgy)
4 : การรี
ดรอน (Hot rolling)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

348 : กระบวนการใดที
เหมาะสมสํ
่ าหรับการขึ
น รู
้ ปแผ
น โลหะให
เป
น ชิ
น งานรู
้ ปถ
วย

1 : การหลอขึน รู
้ ป (Casting)
2 : การทุบขึน รู
้ ป (Forging)
3 : การลากขึ น รู
้ ป (Deep drawing)
4 : การอัดรี
ด (Extrusion)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 250 : 13 Ceramics processing

ข
อที

349 : ผลิ
ตภัณฑ
เซรามิ
กในข
อใดเหมาะกับการขึ
น รู
้ ปโดยการอัด (Pressing)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 56/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : อ
างลางหนา
2 : กระเบืองปู
้ พืน และผนัง

3 : แจกัน
4 : ถ
วยกาแฟ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

350 : ผลิ
ตภัณฑ
เซรามิ
กในข
อใดเหมาะกับการขึ
น รู
้ ปโดยการหล
อแบบ (Slip casting)

1 : อ
างลางหนา
2 : กระเบืองปู
้ พืน และผนัง

3 : โอ
งมังกร
4 : ท
อระบายน้ า

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

351 : ผลิ
ตภัณฑ
เซรามิ
กในข
อใดเหมาะกับการขึ
น รู
้ ปโดยการอัดรี
ด (Extrusion)

1 : สุ
ข ภัณฑในห
องน้า

2 : ถ
วยกาแฟ
3 : กระเบืองมุ
้ งหลังคา
4 : ท
อน้ าทิ
ํ ง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

352 : ข
อใดต
อไปนี
จะไม
้ เกิ
ดขึ
น เมื
้ อให
่ ความร
อนกับเซรามิ
กในกระบวนการอบแห
ง (Drying)

1 : น้
าระหว
ํ างอนุภาคถูกขจัดออก
2 : สารอิ
น ทรีย
ถู
กขจัดออก
3 : ผลิ
ตภัณฑ หลังอบมี
ข นาดใหญขึ


4 : ผลิ
ตภัณฑ หลังอบมี
ความแข็งแรงต่
าและเปราะ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

353 : ข
อใดต
อไปนี
ไม
้ เกิ
ดขึ
น ในกระบวนการ Sintering

1 : Solid-state diffusion
2 : อนุภาคเกิดการเชื อมต
่ อกัน บริ
เวณทีส ัมผัส กับอนุ
่ ภาคอื


3 : เกิดการหลอมละลายเป น ของเหลว
4 : ชองว
างระหวางอนุ ภาคมีข นาดเล็กลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

354 : ในการขึ
น รู
้ ปเซรามิ
กชนิ
ดที
มี
่ดิ
น เป
น องค
ประกอบหลัก (Clay products) โดยวิ
ธี
การหล
อแบบ (Slip casting) ใช
วัส ดุ
ใดเป
น แบบหล

1 : ทราย
2 : โลหะ
3 : ยาง
4 : ปู
น ปลาสเตอร

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

355 : ในการผลิ
ตเซรามิ
กชนิ
ดที
มี
่ดิ
น เป
น องค
ประกอบหลัก (Clay products) ด
วยวิ
ธี
การหล
อแบบ (Slip casting) แบบที
ใช
่ ในการขึ
น รู
้ ปควรมี
ลักษณะอย
างไรและเพราะเหตุ
ใด

1 : เนื
องจากผลิ
่ ตภัณฑ
ทีได
่ มี
การขยายขนาด จึ งตองทํ าให
แบบมี ข นาดเล็กกว
างานจริ

2 : เนื
องจากผลิ
่ ตภัณฑ
ทีได
่ มี
จะมี
ข นาดเทาเดิ
ม ดังนั้
น แบบจะมีข นาดเทางานจริง
3 : เนื
องจากผลิ
่ ตภัณฑ
ทีได
่ มี
การหดตัว จึ
งตองทํ
าให แบบมีข นาดใหญ กวางานจริง
4 : ผลิตภัณฑ
ที
ได
่ อาจจะหดตัวหรื
อขยายตัวก็ไดการเผื อขนาดแบบแล
่ วแตชนิดของผลิตภัณฑ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

356 : กระจก เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากการขึ
น รู
้ ปแบบใด

1 : การเปา (Blowing)
2 : การอัด (Pressing)
3 : การดึง (Drawing)
4 : การอัดรีด (Extrusion)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

357 : ผลิ
ตภัณฑ
ประเภทใดขึ
น รู
้ ปโดยการเป
า (Blowing)

1 : ขวดแกว
2 : จานแกว
3 : กระจก
4 : เลนส

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 57/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
ข
อที

358 : ข
อใดไม
ใช
วัตถุ
ประสงค
ในการใช
ดิ
น เป
น วัตถุ
ดิ
บในเซรามิ
กดั้
งเดิ
ม (Conventional ceramics)

1 : ดิ
น ช
วยในเรื
องความเหนี
่ ยวขณะขึน รู
้ ปทํ
าให
ขึ
น รู
้ ปได
ง
าย
2 : ดิ
น ช
วยให
เซรามิ
กคงรู
ปอยู
ได
 ข ณะเผา
3 : ดิ
น ช
วยให
เซรามิ
กมี
ความหนาแนน สูง
4 : ดิ
น มี
ราคาถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

359 : ในการบดผสมวัตถุ
ดิ
บสํ
าหรับผลิ
ตเซรามิ
ก ทํ
าไมจึ
งต
องมี
การควบคุ
มการกระจายขนาดอนุ
ภาค (Particle size distribution)

1 : เพื
อให
่ วัตถุ
ดิ
บหลอมตัวไดง
าย
2 : เพื
อให
่ วัตถุ
ดิ
บสามารถอัดตัวกัน เพื
อให
่ มี
ช
องว
างน
อยที
สุ
่ด
3 : เพื
อให
่ วัตถุ
ดิ
บผสมกัน ได
ดี
ยิงขึ
่ น

4 : เพื
อให
่ วัตถุ
ดิ
บไม
เกิ
ดการหดตัวหลังให ความร
อน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

360 : ถ
าต
องการขึ
น รู
้ ปท
อเซรามิ
กที
มี
่ความยาวและมี
หน
าตัดเหมื
อนกัน ตลอดความยาวชิ
น งาน 1 เมตร ควรขึ
้ น รู
้ ปด
วยวิ
ธี
ใด

1 : การอัด (Pressing)
2 : การอัดรีด (Extrusion)
3 : การฉีด (Injection)
4 : การเปา (Blowing)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

361 : ในกระบวนการอบ ทํ
าไมผลิ
ตภัณฑ
เซรามิ
กที
ผนังมี
่ ความหนามากมี
แนวโน
มที
จะเกิ
่ ดการแตกได
ง
ายกว
าเซรามิ
กที
มี
่ผนังบาง

1 : การหดตัวทีผิ
่ว (Surface) กับเนื
อส
้ วนใน (Interior) มี
ค
าแตกต างกัน
2 : ผลิตภัณฑผนังหนาต องอบที อุ
่ ณหภูมิสู
งกว
าผลิ ตภัณฑ ผนังบาง
3 : น้
าในเนื
ํ อส
้ วนใน (Interior) ของผลิตภัณฑผนังหนาสามารถกํ าจัดออกได
ง
าย
4 : ผลิตภัณฑผนังหนามี ความแข็ งแรงนอยกว
าผลิ ตภัณฑ ผนังบาง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

362 : การเกิ
ดเป
น เนื
อแก
้ ว (Vitrification) จะทํ
าให
เกิ
ดผลในข
อใด

1 : สัมประสิทธิการขยายตัวเนื
์ องจากความร
่ อน (Coefficient of thermal expansion) ต่
าลง

2 : การนําความร อน (Thermal conductivity) ต่าลง

3 : การนําไฟฟ า (Electrical conductivity) ดี
ขึ


4 : การเสียรู
ป (Warpage) ต่ าลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

363 : ในเซรามิ
กแบบดั้
งเดิ
ม (Conventional ceramic) การเติ
ม Flux จะมี
ประโยชน
ในเรื
องใด

1 : ทํ
าให
ผลิ
ตภัณฑเกิดเป
น เนื
อแก
้ ว
2 : ทํ
าให
การเกิ
ดเป
น เนื
อแก
้ วสามารถเกิ
ดที
อุ
่ณหภู
มิ
ต่
าลง

3 : ไม
ให
ผลิ
ตภัณฑเกิดการหดตัว
4 : ทํ
าให
มี
ความเปราะนอยลง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

364 : ข
อใดเป
น กระบวนการที
สํ
่าคัญที
ใช
่ ในการทํ
ากระจกนิ
รภัย (Safety glass) สํ
าหรับกระจกหน
ารถ

1 : Pressing
2 : Drying
3 : Tempering
4 : Blowing

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

365 : กระบวนการในข
อใดต
อไปนี
ทํ
้าให
ชิ
น งานเซรามิ
้ กมี
ความหนาแน
น มากขึ
น และมี
้ รู
พรุ
น น
อยลง

1 : Drying
2 : Pressing
3 : Casting
4 : Sintering

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

366 : ขวดเบี
ยร
เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากกรรมวิ
ธี
การขึ
น รู
้ ปใดต
อไปนี

1 : Pressing
2 : Extrusion
3 : Blowing

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 58/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : Casting

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

367 : กระจกหน
าต
างเป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากกรรมวิ
ธี
การขึ
น รู
้ ปใดต
อไปนี

1 : Pressing
2 : Drawing
3 : Blowing
4 : Casting

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

368 : ข
อใดกล
าวเกี
ยวกับกรรมวิ
่ ธี
ทางความร
อนของแก
วไม
ถู
กต
อง

1 : การอบออนแก วทําเพือลดปริ
่ มาณความเค น ตกคางของชิน งาน

2 : การอบออนแก วทําไดโดยการให ความร
อนถึ งจุ
ดออนตัวแลวปลอยใหเย็น ตัวช
าๆ จนถึ
งอุ
ณหภู มิ
หอง
3 : การเพิ
มความแข็
่ งใหกับแก
ว (Glass tempering) ทําได
โดยการให ความรอนถึ งจุ
ดอ
อนตัว แล
วทําใหเย็
น ตัวอย
างรวดเร็
วโดยการเปาลม
4 : ชิ
น งานที
้ เย็
่ น ตัวอย
างรวดเร็วจากการเพิ มความแข็
่ งให
กับแกว (Glass tempering) จะทํ
าใหเกิ
ดความเค น อัดที
ผิ
่วและเกิดความเค
น แรงดึงที
เนื
่ อภายใน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

เนื
อหาวิ
้ ชา : 251 : 14 Polymers processing

ข
อที

369 : ผลิ
ตภัณฑ
พอลิ
เมอร
ที
ได
่ จากการขึ
น รู
้ ปด
วยเครื
องอัดรี
่ ด (Extrusion) จะมี
ลักษณะแบบใด

1 : เป
น ภาชนะกลวง
2 : รู
ปร
างลักษณะซับซ อนมาก
3 : รู
ปร
างหนาตัดเหมือนกัน ตลอดความยาวของชิ
น งาน

4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

370 : กระบวนการขึ
น รู
้ ปชนิ
ดใดที
ไม
่ นิ
ยมใช
กับพอลิ
เมอร
ชนิ
ดเทอร
โมพลาสติ
ก (Thermoplastic)

1 : การฉี
ดขึน รู
้ ป (Injection molding)
2 : การเป
าขึน รู
้ ป (Blow molding)
3 : การรี
ดใหเปน แผน (Calendering)
4 : การหลอ (Casting)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

371 : ข
อใดคื
อส
วนประกอบที
สํ
่าคัญของเครื
องขึ
่ น รู
้ ปแบบฉี
ด (Injection molding)

1 : หน
วยฉี ด (Injection unit)
2 : หน
วยจับยึ ด (Clamping unit)
3 : แม
พิมพ (Mold)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถู ก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

372 : ท
อพลาสติ
ก เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
ได
่ จากการขึ
น รู
้ ปแบบใด

1 : การฉีดขึน รู
้ ป (Injection molding)
2 : การเปาขึ
น รู
้ ป (Blow molding)
3 : การอัดรี
ด (Extrusion)
4 : การอัดเข
ากับแบบ (Compression molding)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

373 : ขวดพลาสติ
ก เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากการขึ
น รู
้ ปแบบใด

1 : การฉีดขึน รู
้ ป (Injection molding)
2 : การเปาขึ
น รู
้ ป (Blow molding)
3 : การอัดรี
ด (Extrusion)
4 : การอัดเข
ากับแบบ (Compression molding)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

374 : ผงถ
าน (Carbon black) ที
ใช
่ เป
น ส
วนผสมในยางรถยนต
เป
น สารเติ
มแต
งชนิ
ดใด

1 : สี(Colorant)
2 : สารเสริมแรง (Reinforcing filler)
3 : สารไมเสริ
มแรง (Non-reinforcing filler)
4 : สารปองกัน การติ
ดไฟ (Flame retardant)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

375 : ผลิ
ตภัณฑ
ที
ทํ
่าจากพอลิ
เมอร
ชนิ
ดใดต
อไปนี
มี
้การหดตัวหลังกระบวนการขึ
น รู
้ ปมากที
สุ
่ด
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 59/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : วัส ดุ
ยืดหยุ
น (Elastomer)

2 : เทอร โมเซตติง (Thermosetting)

3 : เทอร โมพลาสติ กชนิดทีเกิ
่ ดโครงสรางผลึ
ก (Crystalline thermoplastic)
4 : เทอร โมพลาสติ กชนิดทีไม
่ เกิดโครงสร
างผลึก (Non-crystalline thermoplastic)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

376 : สารเติ
มแต
งชนิ
ดไม
เสริ
มแรง (Non-reinforcing filler) นิ
ยมใช
ผสมในพอลิ
เมอร
ก
อนทํ
าการขึ
น รู
้ ปเพราะเหตุ
ใด

1 : เพื
อให
่ สี
ส วยขึน

2 : เพื
อลดต
่ น ทุ

3 : เพื
อให
่ ใช
ในชวงอุณหภู
มิ
ที
กว
่ างขึ


4 : เพื
อใช
่ ในการหล อลื

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

377 : พอลิ
ไวนิ
ล คลอไรด
(Polyvinyl chloride) สามารถนํ
ามาใช
เป
น หนังเที
ยมได
ถ
าหากเติ
มสารเติ
มแต
งชนิ
ดใดลงไปในกระบวนการผลิ

1 : สารหลอลืน (Lubricant)

2 : สารเสริมแรง (Reinforcing filler)
3 : สารปองกัน การแตกหักของสายโซ โมเลกุ
ล (Stabilizer)
4 : ข
อ 1 2 และ 3 ผิด

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที
่378 : เพราะเหตุ
ใดกระบวนการขึ
น รู
้ ปแบบอัดเข
ากับแบบ (Compression molding) จึ
งนิ
ยมใช
กับพอลิ
เมอร
ชนิ
ดเทอร
โมเซตติ
ง (Thermosetting) มากกว
้ าพอลิ
เมอร
ชนิ
ดเทอร
โมพลาสติ
ก (Thermoplastic)

1 : การขึ
น รู
้ ปเทอรโมเซตติง ไม
้ จําเป
น ต
องมี
การหลอเย็น
2 : ผลิตภัณฑทีได
่ จากการขึ
น รู
้ ปเทอรโมเซตติง มี
้ ผิ
วทีเป
่ น มัน วาวกว

3 : ประหยัดพลังงาน เนืองจากในกระบวนการผลิ
่ ตเทอรโมเซตติ ง มี
้ ความต
องการใช
อุ
ณหภู
มิ
ที
ต่
่ากว
ํ าในกระบวนการผลิ
ตเทอร
โมพลาสติ

4 : ข
อ 1 2 และ 3 ถูก

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

379 : สารเติ
มแต
งที
นิ
่ยมใช
ในการทํ
าให
ยางเกิ
ดโครงสร
างตาข
าย (Network) ขณะขึ
น รู
้ ปคื
อข
อใด

1 : หิ
น ปูน
2 : กํ
ามะถัน
3 : ผงถาน
4 : ขี
ผึ
้ ง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที่380 : กระบวนการขึ
น รู
้ ปพอลิ
เมอร
โดยวิ
ธี
การอัดรี
ดเป
าขึ
น รู
้ ป (Extrusion blow molding) จะมี
ความแตกต
างจากกระบวนการขึ
น รู
้ ปโดยวิ
ธี
การฉี
ดเป
าขึ
น รู
้ ป (Injection blow
molding) อย
างไร

1 : ชนิดของพอลิเมอร
ทีใช
่ แตกตางกัน
2 : ผลิตภัณฑ
ที
ได
่ เป
น ภาชนะกลวง
3 : รู
ปร
างผลิ
ตภัณฑทีได
่ มี
ความซับซอนเหมื
อนกัน
4 : เทคนิคที
ใช
่ ในการเปาดวยวิ
ธี
การฉีดเป
าขึ
น รู
้ ป (Injection blow molding) ยุ
งยากกว
 าการเป
าด
วยวิ
ธี
การอัดรี
ดเป
าขึ
น รู
้ ป (Extrusion blow molding)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 4

ข
อที

381 : ช
อนพลาสติ
กตักไอศกรี
ม เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากการขึ
น รู
้ ปแบบใด

1 : การหลอ (Casting)
2 : การอัดเข
าแบบ (Compression molding)
3 : การฉีดขึน รู
้ ป (Injection molding)
4 : การอัดรี
ด (Extrusion)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

382 : กล
องพลาสติ
กใสสํ
าหรับใส
ข นมเค
กชิ
น เล็
้ กๆ เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากการขึ
น รู
้ ปแบบใด

1 : การขึน รู
้ ปด วยความร อน (Thermo-forming)
2 : การอัดเขาแบบ (Compression molding)
3 : การฉีดขึน รู
้ ป (Injection molding)
4 : การเปาขึน รู
้ ป (Blow molding)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

383 : จานข
าวเมลามี
น (Melamine) เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากการขึ
น รู
้ ปแบบใด

1 : การขึน รู
้ ปดวยความร อน (Thermo-forming)
2 : การอัดเขาแบบ (Compression molding)
3 : การฉีดขึน รู
้ ป (Injection molding)

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 60/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
4 : การเป
าขึ
น รู
้ ป (Blow molding)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

384 : ยางลบดิ
น สอ เป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากการขึ
น รู
้ ปแบบใด

1 : การอัดรี
ด (Extrusion)
2 : การอัดเข
าแบบ (Compression molding)
3 : การฉีดขึน รู
้ ป (Injection molding)
4 : การเปาขึ
น รู
้ ป (Blow molding)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

385 : สารเติ
มแต
งประเภทใดต
อไปนี
ใช
้ สํ
าหรับลดความรุ
น แรงของอัคคี
ภัยที
เกิ
่ ดขึ
น กับวัส ดุ
้ พอลิ
เมอร

1 : Stabilizer
2 : Colorant
3 : Flame retardant
4 : Filler

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

386 : แผ
น ฟ
ล
มพลาสติ
กเป
น ผลิ
ตภัณฑ
ที
มักจะได
่ จากกรรมวิ
ธี
การขึ
น รู
้ ปใดต
อไปนี

1 : Injection molding
2 : Extrusion
3 : Casting
4 : Blow molding

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

387 : ขั้
น ตอนใดต
อไปนี
ที
้ไม
่ เกี
ยวข
่ องกับการสังเคราะห
พอลิ
เมอร
แบบเติ
ม (Addition polymerization)

1 : Initiation
2 : Termination
3 : Condensation
4 : Propagation

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

388 : ผลิ
ตภัณฑ
ในข
อใดไม
ส ามารถขึ
น รู
้ ปด
วยกระบวนการฉี
ด (Injection molding) ได

1 : เปลื
อกหุมสายเคเบิ
 ล
2 : ใบพัดลม
3 : แผ
น ซี
ดี
4 : ฝาครอบโทรศัพทมื
อถื

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

เนื
อหาวิ
้ ชา : 252 : 15 Composite materials

ข
อที

389 : วัตถุ
ประสงค
หลักในการพัฒนาวัส ดุ
เชิ
งประกอบ (Composites) คื
อข
อใด

1 : เพิมความรวดเร็
่ วในการผลิ
ตและประสิทธิภาพการผลิต
2 : ลดตน ทุ
น การผลิต เพิ
มความสามารถในการแข
่ งขัน
3 : ปรับปรุ
งสมบัติบางประการของชิ
น งาน เช
้ น ความแข็งแรง
4 : ลดผลกระทบต อสิงแวดล
่ อมและใชทรัพยากรให
คุ
มค
 า

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

390 : วัส ดุ
ในข
อใดต
อไปนี
ไม
้ ใช
วัส ดุ
เชิ
งประกอบ (Composites)

1 : ซี
เมนต (Cement)
2 : คอนกรีต (Concrete)
3 : คอนกรีตเสริ
มเหล็ ก (Reinforced concrete)
4 : โฟม (Foam)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

391 : ผลิ
ตภัณฑ
ใดต
อไปนี
ที
้นิ
่ยมผลิ
ตจากวัส ดุ
เชิ
งประกอบ (Composites)

1 : ถ
วยกาแฟ
2 : หม
อหุ
งข
าว
3 : ไม
เทนนิ

4 : กรอบแว
น ตา

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

392 : ไฟเบอร
กลาส (Fiberglass) เป
น วัส ดุ
ชนิ
ดใด
www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 61/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร

1 : เป
น แก ว (Glass) ที
นํ
่ามาขึ
น รู
้ ปเปน เสน ใย (Fiber)
2 : เป
น วัส ดุเชิ
งประกอบ (Composite) ที มี
่เทอร โมเซท (Thermoset) เป น โครงสร
างพื
น (Matrix)

3 : เป
น วัส ดุเชิ
งประกอบทีมี
่เทอรโมพลาสติ ก (Thermoplastic) เป
น โครงสรางพื


4 : เป
น วัส ดุเชิ
งประกอบทีมี
่เซรามิก (Ceramic) เป น โครงสร
างพื น

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

393 : ใยแก
ว (Glass fibers) ประกอบด
วยสารประกอบชนิ
ดใดมากที
สุ
่ด

1 : SiO2
2 : Al2O3
3 : CaO
4 : MgO

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

394 : เซอร
เมท (Cermet) เป
น วัส ดุ
ชนิ
ดใด

1 : เซรามิ ก
2 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ (Composite) มี
โลหะเปน โครงสรางพืน (Matrix)

3 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ (Composite) มี
เซรามิกเปน โครงสร
างพืน (Matrix)

4 : โลหะชนิ ดหนึ
ง มี
่ ความแข็
งสู ง ใช
เป
น มี
ดกลึ ง

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

395 : เคฟลาร
(Kevlar) เป
น เส
น ใยชนิ
ดใด

1 : เส
น ใยธรรมชาติ
2 : เส
น ใยพอลิเมอร
ส ังเคราะห
3 : เส
น ใยแก

4 : เส
น ใยคาร
บอน

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

396 : กระบวนการในข
อใดต
อไปนี
ที
้ใช
่ ในการผลิ
ตเส
น ใยคาร
บอน (Carbon fibers)

1 : Pyrolysis
2 : Hydrolysis
3 : Synthesis
4 : Analysis

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 1

ข
อที

397 : วัส ดุ
เชิ
งประกอบ (Composite) ชนิ
ดใดต
อไปนี
ที
้เหมาะสํ
่ าหรับผลิ
ตก
านสู
บ (Connecting rods) ในเครื
องยนต

1 : อะลู
มิ
เนี
ยมเสริ
มใยแกว (Glass fibers)
2 : อะลู
มิ
เนี
ยมเสริ
มใยซิลิ
กอนคาร ไบด (SiC)
3 : อะลู
มิ
เนี
ยมเสริ
มใยหิ
น (Asbestos)
4 : อะลู
มิ
เนี
ยมเสริ
มใยเหล็ก (Steel)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

398 : ข
อใดต
อไปนี
เป
้ น วัส ดุ
เชิ
งประกอบที
มี
่ส มบัติ
แบบไอโซทรอป

1 : คานไม
2 : โครงเครื
องบิ
่ น ไฟเบอร
กลาส
3 : ยางรถยนตเสริมแรงด
วยคาร
บอนแบล็ ก
4 : ชิ
น ส
้ วนกระสวยอวกาศทํ าจากเส
น ใยยาวเคฟลาร
และอี
พอกซี
(Kevlar-epoxy)

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 3

ข
อที

399 : ข
อใดไม
ใช
วิ
ธี
เพิ
มความแข็
่ งแรงให
กับวัส ดุ
เชิ
งประกอบ

1 : ลดขนาดของอนุ ภาคให เล็


กลง
2 : ลดความยาวเส น ใยเสริ
มแรงใหส ั้
น ลง
3 : เพิมแรงยึ
่ ดเหนียวระหว
่ างเนื
อพื
้ น และอนุ
้ ภาคเสริมแรง
4 : ปรับการกระจายตัวของอนุ ภาคในเนื อพื
้ น ให
้ ส ม่
าเสมอ

คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

ข
อที

400 : ข
อใดต
อไปนี

คื
อหน
าที
ข องเฟสกระจายตัว (Disperse phase) ในวัส ดุ
่ เชิ
งประกอบ

1 : เป
น ตัวกลางในการถ ายโอนแรงจากภายนอกให กับวัส ดุ
ผสม
2 : เสริ
มสมบัติ ข องวัส ดุ
ผสมให
ดี
ขึน

3 : ป
องกัน ความเสี ยหายของเฟสเนื อพื
้ น (Matrix) จากสภาพแวดล
้ อม
4 : ลดตน ทุน การผลิ ต

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 62/63
2/27/15 สภาวิ
ศวกร
คํ
าตอบที
ถู
่กต
อง : 2

www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33 63/63

You might also like