You are on page 1of 4

เคมีทวั่ ไป 01403113/2553

เคมีท่ วั ไป (01403113)/2553
Introduction to Chemistry
เคมี (Chemistry)
บทนํา การศึกษาสมบัตขิ องสสาร (properties, characteristics)
ส่ วนประกอบของสสาร (composition) การเปลี่ยนแปลงของ
สสาร ((transformation,, reaction)) เมื่อมีการเกิดปฏิฏกริ ิยากับ
(INTRODUCTION) สสารอื่นหรือเมื่อมีการรับหรือให้ พลังงาน

สาขาวิชาเคมี คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน

สสาร (Matter) สมบัตขิ องสสาร


 สสาร (Matter) : สิ่งที่มีมวลและต้ องการที่อยู่  สมบัตท
ิ างกายภาพ (Physical Properties)
สมบัตขิ องสสารที่สามารถวัดได้ โดยไม่ เกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
 เช่ น สี ขนาด ความหนาแน่ น การนําไฟฟ้า จุดหลอมเหลว จุดเดือด

 สมบัตท
ิ างเคมี (Chemical Properties)
สสมบตทเกยวของกบการเปลยนแปลงทางเคมของสสาร
ั ิ ่ี ่ี ้ ั ป ่ี ป ี สส
 เช่ น ติดไฟได้ ทําปฏิกริ ิยากับอากาศ ทําปฏิกริ ิยากับนํา้ ความไวในการทําฏิ
กิริยา

 การเปลี่ยนแปลง
 สารวิวธิ พันธ์ (heterogeneous matter) : สารที่ไม่รวมเป็ นเนื ้อเดียวกัน
 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี มีการเปลี่ยนแปลงชนิดของสาร มีสารใหม่ เกิดขึน้
 สารเอกพันธ์ (homogeneous matter) : สารที่มีเนื ้อเดียวกันตลอด  การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ไม่ มีการเกิดสารชนิดใหม่ เช่ น

3 4

ตัวอย่ าง สถานะของสาร (State of Matter)


 รูปแบบการจัดเรี ยงตัวของอนุภาคของสสาร ซึง่ ส่งผลให้ มีแรงยึดเหนี่ยว
 การต้ มนํา้ การตัดเหล็ก การละลายของเกลือ ฝนตก ระหว่างอนุภาคของสสารและสมบัติทางกายภาพของสสารที่แตกต่างกัน
 ข้ าวบูด เหล็กเป็ นสนิม เผาถ่ าน การเน่ าเปื่ อยของพืช อย่างชัดเจน
 การจุดเทียนไข  ของแข็ง (Solid)
 ให้ นิสิตสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่ างๆ ในชีวติ ประจําวัน 3 กิจกรรม  ของเหลว (Liquid)
แล้ วพิจารณาว่ าเป็ นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพหรื อเคมี
 แก๊ ส (Gas)

 การเปลี่ยนสถานะของสสารไม่ ใช่ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

5 6

1
เคมีทวั่ ไป 01403113/2553

การจําแนกสสาร (Classification of Matter) พลังงาน (Energy)


 ความสามารถในการทํางาน ไม่ มีมวลและปริ มาตร
ไม่ จาํ เป็ นต้ องมี
สสาร จําเป็ นต้ องมี
 พลังงานจลน์ (Kinetic energy) : พลังงานที่เกี่ยวข้ องกับการเคลื่อนไหวของสสาร
อัตราส่ วนขององค์ (Matter) อัตราส่ วนขององค์ เช่ นพลังงานกล พลังงานแสง พลังงานไฟฟ้า
ประกอบที่ ประกอบที่แน่ นอน
แน่ นอน  พลังงานศักย์ (Potential energy) : พลังงานที่สะสมอยู่ในสสารที่อยู่น่ ิง
ของผสม การแยกทาง สารบริสุทธ์ เช่ น พลังงานในอาหาร พลังงานเนื่องจากแรงโน้ มถ่ วง
(Mixture) กายภาพ (Pure Substance)
 พลังงานสามารถถ่ ายเทระหว่ างสสารกับสิ่งแวดล้ อม หรื อระหว่ างสสาร
ด้ วยกันได้
สารวิวิธพันธ์ สารเอกพันธ์ สารประกอบ ธาตุ  พลังงานสามารถเปลี่ยนรู ปได้ เช่ น พลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้า พลังงาน
(Heterogeneous Mixture) (Homogeneous Mixture) (Compound) (Element)
ศักย์ เป็ นพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ ในอาหารเป็ นพลังงานความร้ อน
การแยกทาง การแยก  พลังงานอาจถูกดูดกลืนหรื อคายเมือ่เกิดปฏิกิริยาเคมี
กายภาพ ทางเคมี 7
8

กฎพืน้ ฐาน (Fundamental Laws) หน่ วยและการวัด (Measurement Units)


การศึกษาวิทยาศาสตร์ จะเกี่ยวข้ องกับการวัดปริ มาณต่าง ๆ เสมอ
กฎพืน้ ฐานที่มีความสําคัญกับการศึกษาวิชาเคมี  การวัด (Measurement) คือการศึกษาสมบัติ (property) ต่าง ๆ ของระบบที่
 กฎทรงมวล (Law of Conservation of Mass): มวลของสารก่อนทํา เราสนใจ โดยการวัดปริ มาณที่เกี่ยวข้ องกับสมบัตินนๆ ั ้ เช่น นํ ้าหนัก ปริ มาตร
ปฏิกิริยา เท่ากับมวลของสารหลังทําปฏิกิริยา ความหนาแน่น การดูดหรื อคายพลังงาน ระดับชันพลั ้ งงาน
กฎทรงพลังงาน (Law of Conservation of Energy): พลงงานเปนสง
 กฎทรงพลงงาน พลังงานเป็ นสิ่ง หน่ วยวัด (Measuring
 หนวยวด (M i unit)
it) คาทไดจากการวดจะตองระบุ
ค่ าที่ได้ จากการวัดจ ต้ องร บหน่ หนวยวดเสมอ
วยวัดเสมอ
ไม่สญู หาย แต่เปลี่ยนจากรูปหนึ่งเป็ นอีกรูปหนึ่งได้ เพื่อใช้ เป็ นตัวอ้ างอิง โดยหน่วยวัดที่ใช้ ขึ ้นกับความนิยมหรื อจุดประสงค์ในการ
 กฎสัดส่ วนคงที่ (Law of Definite Proportions) : สารเคมีบริ สทุ ธิ์ใดก็ วัด หน่วยวัดที่ใช้ กนั อย่างแพร่หลาย เช่น ระบบเมตริ ก และ ระบบ SI*
ตาม ธาตุที่เป็ นองค์ประกอบของสารนัน้ จะมีสดั ส่วนโดยมวลคงที่เสมอ
 ปริมาณที่ไม่ มีหน่ วย ถือว่ าไม่ มีความหมาย!
เช่น ระยะทาง 10.5 (ไม่สามารถบอกได้ วา่ ยาวแค่ไหน)
9 10

ระบบ SI (SI Units) ระบบ SI (SI Units)


 หน่ วยอนุพน
ั ธ์ (derived unit) ของ SI unit
 SI unit (International System Unit หรือ Système international d'unités) เป็ น
หน่ วยสากลที่ใช้ ในปั จจุบันในทางธุรกิจและวิทยาศาสตร์ ปริมาณ หน่ วย สัญลักษณ์ ความหมาย
 หน่ วยหลัก (SI base units) ของ ระบบ SI ความถี่ () Hertz Hz s1
ปริมาณ หน่ วย สัญลักษณ์ แรง (F) Newton N kg m s 2
ความยาว Metre m พลังงาน (E)
พลงงาน Joule J kg m2 s 2
มวล Kilogram kg ความดัน (P) Pascal Pa kg s 2 m 1
เวลา Second s กําลัง (P) Watt W Js-1 (Kg m2 s-3)
อุณหภูมิ Kelvin K ประจุไฟฟ้ า (Q) Coulomb C As
ปริมาณสาร Mole mol ความต่ างศักย์ (U) Volt V J A-1 s-1
กระแสไฟฟ้า Ampere A ความต้ านทาน Ohm  V A-1
ไฟฟ้า (R)
ความเข้ มของแสง Candela Cd
11 12

2
เคมีทวั่ ไป 01403113/2553

ตัวคูณหน่ วย
 เพื่อให้ หน่ วยที่ใช้ มีความเหมาะสมกับปริมาณค่ าที่วัด เราอาจใช้ ตัวคูณ
 ตัวอย่ าง (Prefix) กับหน่ วยวัดได้
 ความเร็ว s m คํานําหน้ า สัญลักษณ์ เลขคูณ
v 
t s
2 mega M 106
1 2 m
 พลัังงาน(จลน์์ ) Ek  mv  kg
k   kilo k 103
2 s
deci d 10-1
centi c 10-2
milli m 10-3
micro  10-6
nano n 10-9
13 14

หน่วยวัดอื่นๆ ที่นิยมใช้ การแปลงหน่วยและการเลือกใช้ หน่วย


 ความยาว (L)  เราสามารถแปลงหน่ วยวัดได้ (ต้ องเป็ นหน่ วยวัดของปริมาณแบบเดียวกัน)
 angstrom (A) = 1x10-10 m โดยใช้ การเทียบค่ าหรือใช้ ตัวแปลงหน่ วย (conversion factor)
 decimetre (dm) = 10 cm = 0.1 m
 อุณหภูมิ (T)  1 kg = 1000 g  2.5 kg = 2.5 (1000 g) = 2500 g
 degree celcius (°C) = T(K) – 273.15 1 m = 100 cm  0.5 m3 = 0.5 (100 cm)3 = 0.5 x 106 cm3
 ปรมาตร
ปริมาตร (V)  10 cm3 = 10 (1/100 m)3 = 10x10-66 m3
 litre (L) = 1000 ml = 1 dm3
 1 atm = 1.013 bar  1 bar (atm/1.013 bar) = 0.987 atm
 ความดัน (P)
 atmosphere (atm) = 101325 Pa = 1.01325 bar
 bar = 105 Pa  ค่ าคงที่อาจมีค่าแตกต่ างกันได้ ขน
ึ ้ กับหน่ วยที่ใช้ เช่ น ค่ าคงที่ของแก๊ ส:
 พลังงาน (E) R = 8.314 J K-1 mol-1 = 0.082 L atm K-1 mol-1
 calorie (cal) = 4.182 J
15 16

เลขนัยสําคัญ (Significant Figures) การนับจํานวนเลขนัยสําคัญ


 ปริ มาณต่าง ๆ ที่วดั ได้ จะมีความคลาดเคลื่อนเนื่องจากการวัดหรื อ  กฎการนับจํานวนเลขนัยสําคัญ นับ ...
การอ่านค่าเสมอ  ตัวเลขที่ไม่ ใช่ ศูนย์ ทุกตัว
 ตัวเลขที่เขียนไว้ เพือ่ แสดงผลของการวัดโดยรวมเอาตัวเลขที่ยงั มี  เลขศูนย์ ท่ อี ยู่ระหว่ างเลขนัยสําคัญตัวอื่น
ความสงสัย (ประมาณ) อยู่ด้วยหนึง่ ตําแหน่ง เรี ยกว่า เลขนัยสําคัญ  เลขศูนย์ ท่ อี ยู่หลังเลขทศนิยมและต้ องตามหลังเลขนัยสําคัญตัวอื่น
 การเขียนเลขเชิงวิทยาศาสตร์ สามารถใช้ ในการกําหนดจํานวนเลขนัยสําคัญได้

 ตัวอย่าง 8.4135 0.00457 100 0.0700


 ความคลาดเคลื่อนของปริ มาณต่าง ๆ ระบุได้ โดยจํานวนของเลข 5 3 3 3
นัยสําคัญ 3.45 x 10-5 1.005 3,500.0 12.0
 จํานวนเลขนัยสําคัญน้ อย มีความคลาดเคลื่อนมาก 3 4 5 3
 จํานวนเลขนัยสําคัญมาก มีความคลาดเคลื่อนน้ อย เช่น ความ 1.00 x 102
ยาว 1.5 m จะมีความคลาดเคลือ่ นมากกว่าความยาว 1.54 m 3
17 18

3
เคมีทวั่ ไป 01403113/2553

การคํานวณเลขนัยสําคัญ แบบฝึ กหัด


 การบวก/ลบ เลขนัยสําคัญ 1) จงระบุว่าสมบัตขิ องเหล็กต่ อไปนีเ้ ป็ นสมบัตทิ างกายภาพหรื อทางเคมี
 บวก/ลบ ตามปกติ ปั ดตัวเลขสุดท้ ายให้ มีจาํ นวนเลขทศนิยมเท่ ากับ  จุดหลอมเหลวเท่ ากับ 1811 K
ตัวเลขที่มีเลขทศนิยมน้ อยที่สุด  เกิดสนิมเมื่อมีความชืน้
 ความหนาแน่ นเท่ ากับ 7.86 g/cm3
 การคูณ/หาร เลขนัยสําคัญ  ไม่ ทาํ ปฏิกิริยาโดยตรงกับนํา้ ตาลทราย
 คูณ/หาร ตามปกติ ปั ดตัวเลขสุดท้ ายให้ มีจาํ นวนเลขนัยสําคัญเท่ ากับ 2) จงจําแนกสารต่ อไปนีว้ ่ าเป็ นชนิดใด
ตัตวเลขทมจานวนเลขนยสาคญนอยทสุ
วเลขที่มีจาํ นวนเลขนัยสําคัญน้ อยที่สด  นม
 1.25 + 3.4445 +2.735 = 7.4295 = 7.43 (3)  นํา้ ตาลทราย
 (1.002 x 1.5) / 30.0 = 0.0501 = 0.050 หรื อ 5.0 x 10-2 (2)  พริ กกับเกลือ
 อากาศ
 (1.002 x 1.5) / 30 = 0.0501 = 0.050 หรื อ 5.0 x 10-2 (2)  สร้ อยเงิน 100%
 ไข่ 1 ฟองโดยเฉลี่ยหนัก 30.58 g ไข่ 1 โหล หนักเท่าไร 3) กล่ องลูกบาศก์ ยาวด้ านละ 2.00 m จํานวน 2 กล่ อง มีปริ มาตรกี่ ml
30.58 x 12 = 366.96 g = 367.0 g (4) (12 เป็ นค่ าที่ไม่ ใช่ ค่าจากการวัด) 4) ทองแดง 1 อะตอมหนัก 63.546 amu ทองแดง 20 อะตอมหนักเท่ าใด
5) แก๊ ส 1.00 โมล มีปริ มาตรเท่ าใดที่ความดัน 1.00 bar อุณหภูมิ 20.0 °C
19 20

 จงเขียนจํานวนเหล่านี ้เป็ นเลขกําลังของฐานสิบ


253000 53690 0.0086 0.000000327
 แสงสีแดงมีความยาวคลื่น 780 nm จงหาความยาวคลื่นนี ้ในหน่วย
ไมโครเมตร (ไมครอน), อังสตรอม และ พิโคเมตร
 ชัง่ นํ ้าหนักของแผ่นทองแดง 3 ครัง้ ได้ คา่ คือ 1.28 1.283 1.286 จงหา
ค่าเฉลี่ยของนํ ้าหนักทองแดงนี ้ (แสดงเลขนัยสําคัญให้ ถกู ต้ องด้ วย)

21

You might also like