You are on page 1of 3

อายุซากดึกดําบรรพ์ อายุหนิ และอายุโลก

การบอกอายุของซากดึกดําบรรพ์ อายุหิน หรื ออายุของโลก สามารถบอกได้ 2 แบบ


1. การบอกอายุเชิงเปรี ยบเทียบ (relative age)
2. และการบอกอายุสมั บูรณ์ (absolute)
อุกฤษฏ์ ไชยมงคล
สาขาวิชาฟิ สกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา

อายุเปรี ยบเทียบ
การอาศัยหลักการเปรียบเทียบมีหลักความจริงอยู่ 3 ข้ อ ได้ แก่
อายุเปรี ยบเทียบ คือ อายุทางธรณีวิทยาของซากดึกดําบรรพ์ หิน ลักษณะทาง
ธรณีวิทยา หรื อเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอืน ๆ ทีอาศัย 1. กฎการวางตัวซ้ อนกันของหินตะกอน (law of superposition)
o ข้ อมูลจากซากดึกดําบรรพ์
o ลักษณะตําแหน่งการวางตัวของหินตะกอน
จากนันใช้ หลักการการลําดับชันหิน (stratigraphy) เมือสามารถเรี ยงลําดับชัน
หินตะกอนแต่ละชุดตาม แล้ ว
™ นํามาเปรี ยบเทียบสัมพัทธ์กบั เวลาทางธรณีการ (geologic time)
3. การเปรี ยบเทียบของหินตะกอน (correlation sedimentary) ศึกษา
2. กฎความสัมพันธ์ในการตัดผ่านชันหิน (law of cross-cutting relationship) เปรี ยบเทียบหินตะกอนในบริเวณทีต่างกันโดยอาศัยสิงต่อไปนี
- ใช้ ลกั ษณะทางกายภาพโดยอาศัยหินหลัก (key bed)

- เปรี ยบเทียบโดยใช้ ซากดึกดําบรรพ์ (correlation by fossil) มีหลักเกณฑ์ ในชันหินใด


ๆ ทีมีซากดึกดําบรรพ์ทีเหมือนหรื อคล้ ายคลึงกันเกิดอยูใ่ นหินชันนัน ๆ ย่อยมีอายุหรื อ
ช่วงระยะเวลาใกล้ เคียงกัน

อายุสัมบูรณ์ (absolute age)


อายุสมั บูรณ์ หมายถึง อายุซากดึกดําบรรพ์หรื อหิน โดยมากจะวัดได้ เป็ นปี
เช่น พันปี ล้ านปี โดยทัวไปหมายถึง อายุทีคํานวณหาได้ จากไอโซโทปของ
ธาตุกมั มันตรังสี
ธาตุกัมมันตรั งสี หมายถึง ธาตุทีแผ่รังสีได้ เนืองจากนิวเคลียสของอะตอมไม่
เสถียร เป็ นธาตุทีมีเลขอะตอมสูงกว่า 82

235 231
92 Uo 90 Th  24 H
ครึงชีวติ ของธาตุ (half life) หมายถึง ระยะเวลาทีสารสลายตัวไปจนเหลือเพียงครึงหนึง ภาพที การเกิดปฏิกิริยาฟิ ชชัน
ของปริมาณเดิมใช้ สญั ลักษณ์เป็ น t1/2 นิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสีทีไม่เสถียร
ธาตุกัมมันตรั งสีทนิี ยมนํามาหาอายุสัมบูรณ์

C-14 มีคา่ ครึงชีวิตเท่ากับ 5,730 ปี จะใช้ กบั หินหรื อซากดึกดําบรรพ์โบราณ


ทีมีอายุไม่เกิน 50,000 ปี

U-238 หรื อ K-40 จะใช้ หินทีมีอายุมาก ๆ ซึงมีวิธีการทีสลับซับซ้ อน ใช้


ต้ นทุนสูง และใช้ สําหรับแร่ทีมีปริมาณรังสีน้อยมาก

You might also like