You are on page 1of 15

Geologic

Time
ธรณีประวัติและธรณี
กาล
โดย นายกิตติภณ แปลงไธสง เลขที่ 5, นายศุภวิชญ์ สุขเยาว์ เลขที่ 11, นางสาวนิติยา ไตรราช เลขที่
13, นางสาวรัมภ์รดา อาจวิชัย เลขที่ 23
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4/5
ประวัติศาสตร์ทางธรณี
ของโลก  
ธรณีประวัติ   ที่จะบอกเล่าความเป็ น
มา และ สภาพ
เหตุการณ์ที่เกิดขึน
้ ใน
อดีต
 ไม่ว่าจะเป็ นการ
เปลี่ยนแปลงทาง
ภูมิศาสตร์  ตลอดจน
วิวัฒนาการของสิ่งมี
ชีวิต
ข้อมูลทางธรณีวิทยา   เป็ น ข้อมูลที่ใช้สำหรับศึกษาธรณีประวัติ
 ได้แก่...
    
    1) อายุทางธรณีวิทยา
    2) ซากดึกดำบรรพ์
    3) โครงสร้างและการลำดับชัน ้ หิน
อายุทางธรณี   แบ่งออกเป็ น 2
แบบ  คือ
อายุเทียบสำพันธ์  หรือ อายุเปรียบเทียบ
            เป็ นอายุหินในเชิงเปรียบเทียบ
            การหาอายุหินโดยวิธีนี ้  จะบอกได้เพียง
ช่วงอายุโดยประมาณของหิน หรือ บอกได้ว่าหิน
ชุดใดมีอายุมากหรือน้อยกว่ากันเท่านัน ้

    อายุเปรียบเทียบหาโดยอาศัยข้อมูลจาก..
            -ซากดึกดำบรรพ์ที่ทราบอายุ
            -ลักษณะการลำดับของหินชนิดต่างๆ
            -ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของ
หินแล้วนำมาเปรียบเทียบกับ  ช่วงเวลาธรณีวิทยา
ศาสตร์  ที่เรียกว่า  ธรณีกาลก็จะสามารถบอกอายุ
อายุสัมบูรณ์
อายุสัมบูรณ์ (Absolute age) เป็ นอายุของหินที่สามารถ
หาได้จากธาตุไอโซโทปที่ประกอบอยู่ในหิน และบอกอายุเป็ น
ตัวเลขได้การหาอายุสัมบูรณ์ใช้วิธีคำนวณจากครึ่งชีวิตของ
ธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ใน หิน หรือซากดึกดำบรรพ์ที่ต้องการ
ศึกษาธาตุกัมมันตรังสีที่นิยมนำมาหาอายุสัมบูรณ์ได้แก่ ธาตุ
คาร์บอน-14 ธาตุโพแทสเซียม-40 ธาตุเรเดียม-226 และธาตุ
ยูเรเนียม-238 เป็ นต้น
มาตราธรณีกาล
        มาตราทางธรณีกาล (Geological time scale) นักธรณีวิทยาแบ่ง
เวลานับตัง้ แต่โลกเกิดขึน
้ มาจนถึงปั จจุบันออกเป็ นคาบเวลาจากใหญ่ไป
เล็กได้แก่ บรมยุค (Eon), มหายุค (Era), ยุค (Period),
สมัย (Epoch)  โดยทัง้ หมดมี 3 บรมยุค (Eon)
• อาร์คีโอโซอิค (Archaeozoic) เป็ นบรมยุคแรกของโลก  
• โพรเทอโรโซอิค (Proterozoic) เป็ นภาษากรีก แปลว่า สิ่งมีชิวิต
เพิ่งอุบัติขน
ึ้  
• ฟาเนอโรโซอิก (Phanerozoic) เป็ นภาษากรีก แปลว่า มีสิ่งมีชีวิต
ปรากฏให้เห็น
บรมยุค  มหายุค  ยุค  เวลา เหตุการณ์
(Eon) (Era) (Period) (ล้านปี
ก่อน)
อาร์คีโอโซอิก พรีแคมเบรียน 4,600 กำเนิดโลก
โพรเทอโรโซ 2,500 พืชและสัตว์ชน
ั ้ ต่ำ กำเนิด
อิก ออกซิเจน
ฟาเนอโรโซ พาลีโอ แคมเบรียน 545 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอยู่
อิก โซอิก ในทะเล
- ออร์โดวิเชียน 490 หอยและปู ปลาไม่มีขา
กรรไกร
ไซลูเรียน 443 พืชบกใช้สปอร์ ปลามีขา
กรรไกร
ดีโวเนียน 417 แมลง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
บรมยุคอาร์คีโอโซอิค (Archaeozoic eon)
        นับตัง้ แต่ช่วงเวลาที่โลกก่อกำเนิดขึน
้ มาเมื่อ 4,600  ล้านปี ก่อน
จนถึง 2,500 พันล้านปี ก่อน พื้นผิวโลกในช่วงนัน ้ ร้อนละอุไปด้วยภูเขาไฟ
และธารลาวา อุกกาบาตซึ่งมีแหล่งกำเนิดมาจากดาวเคราะห์น้อยและ
ดาวหางพุ่งชนโลก บรรยากาศเต็มไปด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ และ
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งพ่นออกมาจากปล่องภูเขาไฟทำให้พ้น ื ผิวโลกมีสภาพ
เป็ นภาวะเรือนกระจก สิ่งมีชีวิตที่เกิดขึน้ เป็ นเซลล์โพรคาริโอต ไม่มี
นิวเคลียส อาศัยธาตุอาหารจากสารเคมีที่ปล่อยมาจากปล่อยภูเขาไฟและ
น้ำพุร้อนใต้มหาสมุทร
 วิวัฒนาการของโลกในบรมยุคอาร์คีโอโซอิคมี
ดังนี ้
• 4,600 ล้านปี ก่อน ฝุ ่นแก๊สและอนุภาคต่างๆ ในโซลาร์
เนบิวลา (Solar nebula) รวมตัวกันเป็ นดวงอาทิตย์
และดาวเคราะห์ทงั ้ หลาย พื้นผิวของโลกในยุคแรกร้อน
มากมีสถานะเป็ นของเหลว บรรยากาศหนาแน่นไปด้วย
คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และไอน้ำที่
ปล่อยออกจากปล่องภูเขาไฟ

•4,200 ล้านปี ก่อน เปลือกโลกเย็นตัวลงและเปลี่ยนสถานะ


เป็ นของแข็ง ไอน้ำในบรรยากาศควบแน่นเป็ นฝนและ
ละลายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ลงสู่พ้น ื ผิว  

• 4,000 ล้านปี ก่อน กำเนิดโมเลกุลของสิ่งมีชีวิต (RNA)  


 

•3,800 ล้านปี ก่อน หินตะกอนที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่เกาะ


กรีนแลนด์

• 3,500 ล้านปี ก่อน กำเนิดเซลล์โพรคารีโอต


(Prokaryotic cell) ไม่มีนิวเคลียส 
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic eon)
        คือช่วงเวลาตัง้ แต่ 2,500 - 545 ล้านปี ก่อน โลกเย็นตัวลงจนมี
ยุคน้ำแข็งเกิดขึน้ สลับกันไปทุกๆ หลายร้อยล้านปี เปลือกโลกมีการผุ
พังและสึกกร่อนจนเกิดตะกอน ทำให้ชายฝั่ งทะเลตื้นเขิน สิ่งมีชีวิตใน
มหาสมุทรแพร่พันธุ์ทวีปริมาณเพิ่มขึน ้ จนต้องวิวัฒนาการขึน ้ มาอยู่บน
บก 
• 2,500 ล้านปี ก่อน เกิดเซลล์ยูคารีโอต (Eukaryotic cells) ซึ่งมี
นิวเคลียสและโครงสร้างซับซ้อน
• 2,000 ล้านปี ก่อน แก๊สออกซิเจนที่ปล่อยจากสิ่งมีชีวิตลอยตัวขึน ้ สู่
บรรยากาศชัน ้ สตราโตสเฟี ยร์ และดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเล็ต
แปรสภาพเป็ นแก๊สโอโซน
• 1,800 ล้านปี ก่อน เกิดการแบ่งเพศของสิ่งมีชีวิต 
• 1,400 ล้านปี ก่อน เกิดสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
• 1,000 ล้านปี ก่อน ปริมาณแก๊สออกซิเจนเท่ากับร้อยละ 18 ของ
ปั จจุบัน โอโซนในชัน้ สโตสเฟี ยร์ห่อหุ้มโลก ทำให้สิ่งมีชีวิตเริ่ม
อพยพขึน ้ มาอยู่บนบกได้อย่างปลอดภัย  
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก (Phanerozoic eon)
        นับตัง้ แต่ 545 ล้านปี ก่อนจนถึงปั จจุบัน เป็ นช่วงเวลาที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ทงั ้ ในมหาสมุทร
และบนแผ่นดิน บรมยุคฟาเนอโรโซอิกแบ่งย่อยออกเป็ น 3 มหายุค (Era) ดังนี ้
• พาเลโอโซอิก (Palaeozoic era) คือช่วง 545 – 245 ล้านปี ก่อน เป็ นมหายุคเริ่มต้นของ
สิ่งมีชีวิตทัง้ ในมหาสมุทรและบนบก 

• เมโสโซอิก (Mesozoic era) คือช่วง 245 – 65 ล้านปี ก่อน เป็ นมหายุคของสัตว์เลื้อย


คลานจำพวกไดโนเสาร์ 

• เซโนโซอิก (Cenozoic era) คือช่วง 65 ล้านปี ก่อนจนถึงปั จจุบัน เป็ นมหายุคของสัตว์


เลีย
้ งลูกด้วยนม
ซากดึกดำบรรพ์
ซากดึกดำบรรพ์ หรือบรรพชีวิน หรือ ฟอสซิล (fossil) คำว่า ฟอสซิล มีความหมายเดิม
ว่า เป็ นของแปลกที่ขุดขึน ้ มาได้จากพื้นดิน แต่ในปั จจุบันถูกนำมาใช้ในความหมายของซาก
หรือร่องรอยของสิ่งมีชีวิตดึกดำ บรรพ์ที่ถูกแปรสภาพด้วยกระบวนการเกิดซากดึกดำบรรพ์
และถูกเก็บรักษาไว้ในชัน ้ หิน โดยอาจประกอบไปด้วยซากเหลือของสัตว์ พืช หรือกลุ่มของ
สิ่งมีชีวิตอื่นใดๆที่ได้รับการจัดแบ่งจำแนกไว้ทางชีววิทยา และรวมถึงร่องรอยต่างๆของสิ่งมี
ชีวิตนัน้ ๆ
ซากดึกดำบรรพ์ดัชนี (index fossil)  เป็ นซากดึกดำบรรพ์ที่บอกอายุได้แน่นอน
เนื่องจากเป็ นซากดึกดำบรรพ์ที่มีวิวัฒนาการทางโครงสร้างละรูปร่างอย่างรวดเร็ว มีความ
แตกต่างในแต่ละช่วงอายุอย่างเห็นเด่นชัด และปรากฏให้เป็ นเพียงช่วงอายุหนึ่งแล้วก็สูญ
พันธ์ไป 
การเกิดซากดึกดำบรรพ์
        การเปลี่ยนแปลงจากซากสิ่งมีชีวิตมาเป็ นซากดึกดำบรรพ์นน
ั ้ เกิดได้ในหลายลักษณะ
โดยที่เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ส่วนต่างๆของสิ่งมีชีวิตจะค่อยๆถูกเปลี่ยน ช่องว่าง โพรง หรือรู
ต่างๆ ในโครงสร้างอาจมีแร่เข้าไปตกผลึกทำให้แข็งขึน ้ เรียกขบวนการนีว้ ่าการกลายเป็ นหิน
(petrification) หรือ เนื้อเยื้อ ผนังเซลล์ และส่วนแข็งอื่นๆ ถูกแทนที่ด้วยแร่ โดยขบวนการ
แทนที่ (replacement)
        เปลือกหอยหรือสิ่งมีชีวิตที่จมอยู่ตามชัน้ ตะกอน เมื่อถูกละลายไปกับ น้ำบาดาล จะเกิด
เป็ นรอยประทับอยู่บนชัน ้ ตะกอน ซึ่งเรียกลักษณะนีว้ ่า  รอยพิมพ์ (mold) หากว่าช่องว่างนีม
้ ี
แร่เข้าไปตกผลึก จะได้ซากดึกดำบรรพ์ ในลักษณะที่เรียกว่ารูปหล่อ (cast)
        การเพิ่มคาร์บอน (carbonization) มักเป็ นการเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์จำพวกใบไม้
หรือสัตว์เล็กๆ ในลักษณะที่มีตะกอนเนื้อละเอียดมาปิ ดทับซากสิ่งมีชีวิต เมื่อเวลาผ่านไป
ความดันที่เพิ่มขึน ้ ทำให้ส่วนประกอบที่เป็ นของเหลวและก๊าซถูกขับออกไป เหลือไว้แต่แผ่น
ฟิ ล์มบางๆของคาร์บอน หากว่าฟิ ล์มบางๆนีห ้ ลุดหายไป ร่องรอยที่ยังหลงเหลืออยู่ในชัน

ตะกอนเนื้อละเอียดจะเรียกว่า impression
        สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีลักษณะบอบบาง เช่น พวกแมลง การเก็บรักษาให้กลายเป็ น
ซากดึกดำบรรพ์ โดยปกติทำได้ยาก วิธีการที่เหมาะสม สำหรับสิ่งมีชีวิตเหล่านี ้ ก็คือการเก็บไว้
การลำดับชัน
้ หิน
ลำดับชัน้ หิน คือ การเรียงตัวทับถมกันของตะกอนที่ตกทับถม ณ ที่แห่งหนึ่งในช่วงเวลา
ที่แตกต่างกัน ซึ่งมักพบว่าชนิดของตะกอนจะแตกต่างกันไปตามกาลเวลา ขึน ้ กับสภาพ
แวดล้อมในอดีตช่วงนัน ้
อายุของหิน ก็คือช่วงเวลาที่ตะกอนหรือลาวาตกสะสมตัวหรือกำลังแข็งตัวหรือจับตัว
เช่น ดินสะสมตัวในทะเลสาบเมื่อประมาณ 260 ล้านปี เมื่อจับตัวเป็ นหินและคงอยู่ถึง
ปั จจุบัน เราก็บอกว่าหินนีม ้ ีอายุ 260 ล้านปี ที่ผ่านมา สำหรับวิธีศึกษาหาอายุก็ใช้ทงั ้ ค่า
อัตราส่วนการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี หรือซากดึกดำบรรพ์ในช่วงนัน ้ ที่เผอิญตาย
พร้อมๆ กับการตกของตะกอน
          

You might also like