You are on page 1of 35

ซากดึกดำบรรพ์ 

ซากดึกดำบรรพ์ 
ซากดึกดำบรรพ์ คือ ซากหรือร่ องรอยของสิ่ งมีชีวติ ทั้งพืชและสั ตว์ ทเี่ คยอาศัยอยู่ใน
บริเวณนั้น  เมือ่ ตายซากจะถูกทับถมและฝังตัวอยู่ในชั้นหินตะกอน
ซากดึกดำบรรพ์สามารถพบได้ ตามชั้นหินตะกอนเป็ นส่ วนใหญ่ เพราะหินตะกอนเป็ น
หินทีส่ ามารถเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ได้ ดกี ว่ าหินชนิดอืน่
นอกจากนั้นยังอาจพบซากดึกดำบรรพ์ในหินภูเขาไฟบางชนิด เกิดจากการทับถมของ
เถ้ าถ่ านภูเขาไฟ เพราะ เป็ นบริเวณทีม่ คี วามพรุนและมีซิลกิ า(SiO2)มาก ส่ วนหินอัคนีและ
หินแปรมักไม่ ค่อยพบซากดึกดำบรรพ์ เนื่องจากหินอัคนีเกิดจากแมกมาทีร่ ้ อนมาก และ
หินแปรเกิดจากการแปรสภาพเนื่องจากความร้ อนสู ง ทำให้ ซากดึกดำบรรพ์ทฝี่ ังตัวใน
หินอัคนีและหินแปรถูกทำลาย
ซากดึกดำบรรพ์ทพี่ บมากทีส่ ุ ด เป็ นซากดึกดำบรรพ์ของสั ตว์ ทะเลเพราะเมือ่ สั ตว์ ทะเล
ตายซากจะจมลงสู่ ก้นทะเล โคลนและตะกอนเม็ดละเอียดในน้ำทับถมและสะสมอยู่ตอนบน
ตะกอนละเอียดเหล่ านีจ้ ะทำให้ ซากของสั ตว์ ทะเลเสี ยหายน้ อยมาก
ซากดึกดำบรรพ์ดชั นี(index fossil)
ซากดึกดำบรรพ์ดชั นี คือ ซากดึกดำบรรพ์ที่ถูกใช้เป็ นตัว
กำหนดและระบุระยะเวลาทางธรณี วทิ ยา
เป็ นซากดึกดำบรรพ์ที่ บอกอายุได้แน่นอน
เนื่องจากมีววิ ฒั นาการทางโครงสร้างและ
รู ปร่ างอย่างรวดเร็ ว มีความแตกต่างในแต่ละช่วงอายุอย่างเห็น
เด่นชัด และปรากฏให้เห็นเพียงช่วงอายุหนึ่งแล้วก็สูญพันธุ์
ตัวอย่ างซากดึกดำบรรพ์ ดัชนี
แอมโมไนทต์
เป็ นสัตว์ทะเลจัดอยูใ่ นไฟลัมมอลลัสกา
(Mollusca) กลุ่มเดียวกับปลาหมึกปัจจุบนั
ไทรโลไบต์   เปลือกขดเป็ นวง ส่ วนใหญ่ลอยอยูบ่ น
เป็ นสิ่ งมีชีวติ ในยุคแคมเบรี ยม ผิวน้ำ ทำให้สามารถพบได้ท้ งั บริ เวณทะเล
และยุคออร์โดวิเชียน ตื้นและลึก พบมากในมหายุคมีโซโซอิก
มาสูญพันธุ์ในยุคเพอร์เมียน และสูญพันธ์เมื่อสิ้ นสุ ดยุคครี เทเซียส
การพบซากดึกดำบรรพ์
ไทโลไบต์ในหิ นทรายแดงที่
เกาะตะรุ เตา จังหวัดสตูล
แบรคิโอพอต จากแหล่งเขาถ่าน อ.สวี
จ.ชุมพร  เป็ นสัตว์ทะเลมีลกั ษณะคล้าย
หอยกาบคู่ เช่น หอยแครง แต่ต่างกันที่
เปลือกทั้ง ๒ ฝา ที่มีขนาดไม่เท่ากัน แต่
ฝาเดียวกันจะมีลกั ษณะด้านซ้าย และ
ด้านขวาสมมาตรกัน พบแพร่ หลายมาก
ในมหายุคพาลีโอโซอิก
ฟิ วซูลินิด อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ อายุ
ประมาณ 290 ล้านปี เป็ นสัตว์ทะเลเซลล์เดียว มี
ลักษณะรู ปร่ างยาว หัวท้ายแหลม รู ปร่ างและ
ขนาดคล้ายเม็ดข้าวสารทำให้คนทัว่ ไปคิดว่าเป็ น
ข้าวสารหิ น จึงนิยมเรี ยกว่า คตข้าวสาร พบมาก
ในยุคคาร์บอนิเฟอรัสและเพอร์เมียน และได้สูญ
พันธุ์ไปตั้งแต่ปลายยุคเพอร์เมียน
แกรปโตไลต์ ไครนอยด์
เป็ นสัตว์ทะเลที่ลอยอยูบ่ นผิวน้ำ พบในหิ น แอนดีไซต์ ซึ่งเป็ นหิ น
ซากดึกดำบรรพ์ ที่พบส่ วนใหญ่มี ภูเขาไฟที่เขาชนโถ จ.เพชรบูรณ์
ลักษณะคล้ายรอยพิมพ์บางๆ อยูบ่ น อายุประมาณ 250 ล้านปี
หิ นดินดานสี ด ำหรื อมีรูปร่ างคล้ายกิ่งไม้ ไครนอยด์เป็ นสัตว์ทะเล มีรูปร่ าง
แกรปโตไลต์เป็ นซากดึกดำบรรพ์ดชั นี คล้ายต้นไม้บางครั้งจึงมีผเู ้ รี ยกว่า
เนื่องจากพบมากในมหายุคพาลีโอโซอิก พลับพลึงทะเลแพร่ หลายใน
ตอนต้น ยุคออร์โดวิเชียนถึงดีโวเนียน มหายุคพาลีโอโซอิก
พบที่แหล่งบ้านป่ าเสม็ด อ.ละงู จ.สตูล
สโตรมาโตไลต์
เป็ นเนินตะกอนทีเ่ กิดจากการสะสมตัวพอกขึน้
มาเป็ นชิ้นๆ โดยแบคทีเรียจำพวกไซยาโน
แบคทีเรีย ซึ่งเป็ นสิ่ งมีชีวติ ทีเ่ ก่ าแก่ ทสี่ ุ ดในโลก
สโตรมาโตรไลต์ พบเป็ นซากดึกดำบรรพ์มา
ตั้งแต่ 3,500 ล้ านปี ก่ อน โดยพบในทวีป
แอฟริกา และออสเตรเลีย
กระบวนการเกิดซากดึกดำบรรพ์
ปัจจัยสำคัญ 2 ประการทีช่ ่ วยให้ ซากสิ่ งมีชีวติ เกิดเป็ นซากดึกดำบรรพ์ คือ
1. โครงร่ างส่ วนทีเ่ ป็ นของแข็งของสิ่ งมีชีวติ พืชและสั ตว์ เมือ่ ตายไป
แล้ วจะผุพงั เน่ าเปื่ อยเร็วมาก แต่ เปลือกแข็งของพืชและสั ตว์ เหล่ านี้
เช่ น ฟัน เปลือกนอก และเนือ้ ไม้ จะคงสภาพอยู่ได้ และกลายเป็ น
ซากดึกดำบรรพ์ ไปในทีส่ ุ ด
2. กระบวนการเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ กระบวนการเก็บรักษา
ซากดึกดำบรรพ์ ทแี่ ตกต่ างกัน จะทำให้ ซากดึกดำบรรพ์ มสี ภาพและ
ความสมบูรณ์ ของซากแตกต่ างกัน
กระบวนการกลายเป็ นหิน (petrifaction)
• ซากดึกดำบรรพ์ส่วนใหญ่เกิดโดยกระบวนการนี้
• มักเกิดกับส่ วนที่แข็ง เช่น กระดูก เปลือกหอย ไม้ ฯลฯ
• เป็ นกระบวนที่เกิดจากสารละลายในน้ำใต้ดินที่มีแร่ ธาตุ
ซิ ลิกา แคลเซี ยมคาร์บอเนต ออกไซด์ของเหล็ก ซัลไฟด์ของเหล็ก
ฯลฯ แทรกซึ มเข้าไปตกผลึกในช่องว่างภายในเซลล์แทนที่เนื้ อเยือ่
หรื อผนังเซลล์ของพืช สัตว์ ทำให้เซลล์ของซากอินทรี ยแ์ ข็งตัว 4. ซากดึกดำบรรพ์โผล่
ขึน้ สู่ ช้ันผิวโลก
รวมทั้งคงรู ปร่ างและโครงสร้างเดิมไว้ได้

1. สั ตว์ หรือพืชตายลงจมลงสู่ ก้น 2. ตะกอนชั้นล่ างๆได้ กลายเป็ นหิน 3. หินถูกดันขึน้ ไปมา


ทะเลและส่ วนทีเ่ หลือจะค่ อยๆถูก และส่ วนทีเ่ หลืออยู่จะแข็งตัวกลาย และถูกกัดเซาะ
ฝังลงในชั้นของตะกอน เป็ นซากดึกดำบรรพ์
ในประเทศไทย มีซากดึกดำบรรพ์
ไม้กลายเป็ นหิ นที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด
พบอยูใ่ นยุคเพอร์ เมียน มีอายุประมาณ
16 – 0.7 ล้านปี ก่อน เป็ นไม้สกุลปาล์ม
พบในเขต อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์

พิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็ นหิ นฯ ตั้งอยูท่ ี่บา้ น


โกรกเดือนห้า อ.เมือง จ.นครราชสี มา
เป็ นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกของประเทศไทย
และเป็ นพิพิธภัณฑ์ 1 ใน 7 ของโลก
กระบวนกลัน่ ระเหยหรื อกระบวนการเกิดแผ่นซากคาร์บอน
(distillation หรื อ carboni -zation)
• เกิดกับซากดึกดำบรรพ์พืชหรื อสัตว์เล็ก ๆ ในลักษณะที่
มีตะกอนเนื้อละเอียดมาปิ ดทับ
• เมื่อเวลาผ่านไปและความดันที่เพิ่มขึ้น จะทำให้ส่วน
ประกอบที่เป็ นน้ำหรื อไฮโดรเจน ออกซิเจนและ
ไนโตรเจนถูกขับออกไป จนกระทัง่ เหลือแต่เพียงธาตุ
คาร์บอนอิสระ ซึ่งจะเกิดเป็ นคราบคาร์บอนสี ด ำรู ป
สำเนาของสัตว์และพืชต่าง ๆ
• ซากสัตว์ที่มกั พบและเกิดโดยกระบวนการนี้ ได้แก่
ซากแกรปโตไลต์ (graptolite) อาร์โทรปอดส์
(arthropods) ปลา เป็ นต้น
• หากคราบคาร์บอนดังกล่าวหลุดหายไป ร่ องรอยที่ยงั ซากฟอสซิลปลาทีเ่ กล็ดแปรสภาพเป็ น
เหลืออยูใ่ นชั้นหิ นหรื อตะกอนเนื้อละเอียด จะเรี ยกว่า คาร์ บอนสีดำมัน ซึ่งเกิดจากกระบวนการ
รอยพิมพ์ (impression) คาร์ บอนไนเซชัน (carbonization)
กระบวนการแช่ แข็ง (refrigeration)
• พบในเขตอากาศหนาวใกล้ข้ วั โลกหรื อ
เขตหิมะแถบภูเขาสู ง
• ซากสัตว์จะถูกแช่เย็นจนแข็งไปทั้งตัว
โดยที่ยงั คงมีเนื้ อเยือ่ ต่าง ๆ เหมือนเนื้ อ
สัตว์ที่ถูกแช่แข็ง แม้กระทัง่ อาหารที่อยู่ แมมมอธ เพศเมียวัย 1 เดือน ที่คาดว่า
น่าจะมีชีวติ อยูเ่ มื่อกว่า 40,000 ปี ก่อน
ในกระเพาะก็ยงั มีสภาพที่สด
ถูกแช่แข็งในไซบีเรี ย

ฟอสซิลอายุ 67 ล้ านปี ของงูใหญ่ ทกี่ ำลัง


กัดกินไข่ ไดโนเสาร์ เป็ นอาหาร
ถูกแช่ แข็งข้ ามกาลเวลามาจนถึง
ปัจจุบันขุดพบในประเทศอินเดีย
กระบวนการดองคงสภาพ (preservation)
• กระบวนการดองคงสภาพ เช่น การ แมงมุมที่ติดอยูใ่ นยางสน
ดองในบ่อที่มีการสะสมเน่าเปื่ อยของ ที่แข็งเป็ นอัมพัน ซึ่งมีอายุ
ประมาณ 40 ล้านปี  
ถ่านพีต (peat) การดองในน้ำมันดิน
(tar) หรื อยางมะตอย (asphalt) จน ซลี าแคนท์ ดองทัง้ ตัว
เกิดเป็ นสารเคมีที่ป้องกันการเน่า เป็ นปลาโบราณ ทีม
รายงานการพบเห็นว่ายัง
่ ี

เปื่ อยได้ มีชวี ต


ิ อยูใ่ นยุคปั จจุบน ั นี้

• ซากพืช – สัตว์ที่ตกลงไปในยางสนที่
แข็งตัวเป็ นอำพัน (amber) ซากที่เกิด
ละอองเกสรของดอกกล้
โดยวิธีน้ ี จะรักษารายละเอียดได้ ดี วยไม้
มาก เช่น ซากของแมลงต่าง ๆดึกดำบรรพ์ติดอยูบ่ นหลังฟอสซิลผึ้ง
โบราณ ถือเป็ นบรรพบุรุษกล้วยไม้
อายุประมาณ 26-112 ล้านปี ก่อน
กระบวนการเกิดมัมมี่ (mummification)

• เป็ นการเกิดโดยธรรมชาติจากการ
แห้งของซากทีละน้อย พบได้ในที่
อุณหภูมิสูงและแห้ง แถบทะเล
ทรายหรื อบริ เวณอื่น ๆ ฟอสซิลฝูงวาฬ กลางทะเลทราย
อายุประมาณ 2 ล้านปี ก่อน  ประเทศชิลี

Mummified baboon

ร่ างมนุษย์ ถูกเก็บไว้ ด้วยเถ้ าภูเขาไฟ


การเกิดร่ องรอยซากดึกดำบรรพ์ (FOSSIL TRACES)
เป็ นการเกิดร่ องรอยอันมีทมี่ าจากซากดึกดำบรรพ์
ไม่ ใช่ เป็ นตัวซากดึกดำบรรพ์โดยตรง มีหลายรู ปแบบ ดังนี้
1. แบบหล่อ (mold) หรือรอยพิมพ์ (impression)  (ส่ วนเว้ า)  เกิดจากซากส่ วนทีแ่ ข็ง
ถูกทับถมโดยตะกอนและเกิดเป็ นรอยพิมพ์ของส่ วนทีแ่ ข็งอยู่ในหิน
เป็ นซากดึกดำบรรพ์ของ ไทรโลไบต์จดั เป็ น
เสื่ อทะเล (Bryozoa)  สภาพ ซากดึกดำบรรพ์ดชั นี
แบบ Mold พบในชั้นหินใน ในยุคไซลูเรี ยน –
ยุคดีโวเนียน  อายุ 416-359 ยุคดีโวเนียน
ล้ านปี   หอยกาบ (Bivalve)  
แบบหล่ อ สภาพแบบ Mold
ด้ านนอกของหอย เป็ นซากดึกดำบรรพ์
ยุคคาร์บอนิเฟอรัส  
อายุ 359-299 ล้านปี  
2. รู ปหล่อหรือรู ปพิมพ์ (cast)  (ส่ วนนูน) เมือ่ ซากส่ วนทีแ่ ข็งถูกทับถมในตะกอน
และเกิดเป็ นแบบหล่ อแล้ ว ต่ อมาส่ วนทีแ่ ข็งถูกชะล้ างออกไปจนเกิดเป็ นช่ องว่ าง แล้ ว
ช่ องว่ างถูกแทนทีด่ ้ วยแร่ หรือหินอืน่ ๆเรียกร่ องรอยเหล่ านีว้ ่ ารู ปหล่ อ

ซากดึกดำบรรพ์ของหอยตะเกียง
(Brachiopod)  สภาพแบบ ไทรโลไบต์จดั เป็ นซากดึกดำบรรพ์
Mold   เป็ นซากดึกดำบรรพ์ดชั นีใน ดัชนีในยุคไซลูเรี ยน – ยุคดีโวเนียน
ยุคดีโวเนียน  อายุ 416-359 ล้ านปี
3.รอยเท้ าและรอยลาก (tracks and trails) เป็ นร่ องรอยของรอยเท้ า รอยลาก รอยคืบ
คลาน หรือรอยของส่ วนร่ างกายสั ตว์ ทปี่ รากฏอยู่ในตะกอนหรือหินแข็ง เช่ น รอยเท้ า
ไดโนเสาร์ รอยของกระพรุนทะเล เป็ นต้ น

 รอยเท้ าไดโนเสาร์ ภูหลวง


เขตรักษาพันธ์ สัตว์ ป่าภูหลวง
จังหวัดเลย

ซากฟอสซิลรอยเท้ าของเมกาเธอเรียม
สั ตว์ ในตระกูลช้ างชนิดหนึ่ง จากยุคน้ำ รอยเท้ าไดโนเสาร์
แข็ง พบทีเ่ มืองกัวมินิ เอาร์ เจนตินา ภูแฝก ต. ภูแล่ นช้ าง 
สู ญพันธุ์ไปประมาณ 10,000 ปี ก่ อน กิง่ อำเภอนาคู จ. กาฬสิ นธุ์
4. คอโปรไลต์ (coprolites) เป็ นซากสิ่ งขับถ่ ายของสั ตว์ ในสมัยบรรพกาล เป็ น
ประโยชน์ ในการบอกนิสัยการกินของสั ตว์ รวมทั้งอาจทำให้ ทราบรู ปร่ างและขนาด
ของรู ทวารหนักของสั ตว์ ชนิดนั้น ๆ ได้

ฟอสซิลมูลของไดโนเสาร์ชนิดหนึ่ง
ฟอสซิลอุจจาระมนุษย์อยูใ่ นถ้ำ
เพสลียท์ ี่โอเรกอนทีแ่ สดงว่ า
มนุษย์ อาศัยอยู่ในทวีป ฟอสซิลอึหมาป่ าสี น ้ำตาลช็อกโกแลตม้วน
อเมริกาเหนือมากว่ า 14,000 ปี เป็ นก้อนกลมขุดขึ้นมาจากชายฝั่งทะเล
แล้ ว ก่ อนหน้ านีเ้ ข้ าใจกันว่ า เนเธอร์แลนด์ มีอายุยอ้ นไปถึงยุคไพลโตซีน
มนุษย์ อยู่ทนี่ ี่มาแค่ 13,000 ปี ตอนปลาย หรื อ 12,000-100,000 ปี มาแล้ว
เท่ านั้น
5. แกสโตรไลต์ (gastrolites) เป็ นก้อนกรวดก้อนหินทีม่ คี วามมัน เรียกว่ า หินกิซ
ซาร์ ด (Gizzard stone) มีอายุอยู่ในมหายุคมีโซโซอิก สั ตว์ เลือ้ ยคลานดังกล่ าวกิน
เข้ าไปเพือ่ ช่ วยในการย่ อยอาหารแล้วถ่ ายออกมา
6. ร่ องรอยอืน่ ๆ  (feeding burrow) เช่ น รอยรู ทเี่ กิดจากตัวหนอน หอย หรือสั ตว์
อืน่ ๆ เจาะพืน้ ทีอ่ ยู่อาศัย รอยเขีย้ วหรือฟันแทะทีป่ รากฏอยู่บนชิ้นกระดูก เป็ นต้ น
ซากฟอสซิลทีม่ ีร่องรอยสิ่ งมีชีวติ คล้ าย
หนอนอยู่ในอุกกาบาจ บริเวณขั้วโลกใต้
ไซบีเรีย และอลาสก้ า โดยเขาเรียกร่ อง
ร่ องรอยของหนอน (worm) พบบน รอยสิ่ งมีชีวติ นีว้ ่ า “ฟอสซิลหนอนต่ าง
หิ นทรายที่ประเทศออสเตรเลีย คาดว่า ดาว” โดยโครงสร้ างคล้ ายคลึงเชื้อโรค
มีอายุเก่าแก่ที่สุดราว 1.2 พันล้านปี ซึ่ง แบคทีเรียตระกูล cyanobacteria
อยูใ่ นช่วงมหายุคพรี แคมเบรี ยน

ร่ องรอยรู หนอนชอนไช
ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ ในประเทศไทย

ส่ วนมากอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในชั้นหินทราย หินทรายแป้ ง
พบในยุคไทรแอสสิ กตอนปลายถึงยุคครีเตเชียส
ตอนกลางอายุ 200 – 100 ล้ านปี ทีผ่ ่ านมา
ไดโนเสาร์ ชนิดแรกทีพ่ บคือ สยามโมซอรัส สุ ธีธรนี
ภูเวียงโกซอรัส สิ รินธรเน่

เป็ นไดโนเสาร์ซอโรพอดกินพืชขนาดใหญ่
เดิน 4 ขา คอยาว หางยาว อายุประมาณ 130
ล้านปี ความยาวประมาณ 15-20 เมตร พบ
ฟอสซิลครั้งแรกที่อุทยานแห่งชาติภูเวียง
จังหวัดขอนแก่น โดยตั้งชื่อเพื่อถวายพระ
เกียรติแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิ ส
สยามโมไทรันนัส อิสานเอนซิส : เป็ นไดโนเสาร์
เทอโรพอดที่เดินด้วย 2 ขาหลัง ส่ วน 2 ขาหน้า
มีขนาดเล็ก ในยุคครี เทเซียสตอนต้น ประมาณ
130 ล้านปี ความยาวประมาณ 6.5 เมตร นับว่าเป็ น
บรรพบุรุษของ ไทรันโนซอรัส เร็ กซ์
ที่พบในอเมริ กาเหนือ
กินรี มิมสั ขอนแก่นเอนซิ ส
เป็ นไดโนเสาร์กินทั้งพืชและสัตว์
เป็ นอาหารเดินและวิง่ ด้วย 2 ขา
หลัง มีรูปร่ างคล้ายนกกระจอกเทศ
และปราดเปรี ยว ขนาดลำตัวยาว
ประมาณ 1-2 เมตร คอเรี ยว เล็ก
ยาว ปากเป็ นจะงอย ไร้ฟัน ถูกค้น
พบในชั้นหิ นหมวดหิ นเสาขัว ที่
อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น อายุ
ประมาณ 130 ล้านปี
อีสานโนซอรัส อรรถวิภชั น์ชิ

เป็ นไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ เดิน 4 ขา


คอยาว หางยาว อายุยคุ ไทรแอสซิกตอน
ปลายประมาณ 209 ล้านปี ความยาว
ประมาณ 13-15 เมตร ขุดค้นพบฟอสซิลที่
จังหวัดชัยภูมิ โดยตั้งชื่อเป็ นเกียรติแก่
นายปรี ชา อรรถวิภชั น์ อดีตอธิบดีกรม
ทรัพยากรธรณี
ราชสี มาซอรัส สุ รนารีเอ
  ค้นพบซากไดโนเสาร์กินพืชพันธุ์ใหม่ของ
โลกถือได้วา่ เป็ นพันธุ์ใหม่ของโลกที่มีการค้น
พบและมีการตั้งชื่อเป็ นเกียรติแก่เมือง
นครราชสี มาซึ่งเป็ นแหล่งที่พบ กับชื่อชนิดเพื่อ
เป็ นเกียรติแก่วรี สตรี ผนู ้ ำที่กล้าหาญของชาว
เมืองโคราช คือ ท่านท้าวสุ รนารี รวมเป็ นชื่อ
สกุลและชนิดใหม่ของโลกว่า "ราชสี มาซอรัส
สุ รนารีเอ"  (25 พ.ย.54)

จะเห็นว่ าแหล่ งซากไดโนเสาร์ ของ ประเทศไทยส่ วนมากจะอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในชั้น


หินทราย หินทรายแป้ง ซึ่งเป็ นหินอยู่ในยุคไทรแอสสิ ก ตอนปลายถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
หรือตั้งแต่ 200 100 ล้ านปี ทีผ่ ่ านมา
ประโยชน์ ของการศึกษาซากดึกดำบรรพ์
ประเภทของการจั ดลำดั และลำดั
บชบน ชัั ้ ้ นหิ
หินน

1.ทำให้ทราบว่าหลังจากเมื่อโลกได้ก ำเนิดขึ้นมา เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปี มาแล้ว นับจากนั้นมาสิ่ งมีชีวติ เซลล์


เดียวแรกเริ่ มเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 3,000 ล้านปี มาแล้ว และได้มีววิ ฒั นาการซับซ้อนสูงมาจนถึงมนุษย์ปัจจุบนั  
2. ทำให้ ทราบถึงและเป็ นหลักฐานในการศึกษาสภาพแวดล้ อมลักษณะการสะสมตัวของชั้นหิน สภาวะอากาศ
สมัยบรรพกาล สภาพภูมิประเทศสมัยโบราณในขณะทีส่ ั ตว์ เหล่ านั้นยังมีชีวติ อยู่ คือ บอกเล่ าถึงธรณีประวัติ
ของโลก  เช่ น  ธรณีวทิ ยาบริเวณภูเขาด้ านตะวันตกของจังหวัดลำปางพบหินหลายชนิด ได้ แก่ หินทราย
หินทรายแป้ง หินกรวดมน และหินปูน ซึ่งเกิดสลับกัน 2 ช่ วง โดยมีหินทราย หินกรวดมนสี แดงปิ ดทับอยู่
บนสุ ด และพบซากดึกดำบรรพ์ได้ แก่ หอยกาบคู่ และหอยงวงช้ าง (แอมโมนอยด์ ) สะสมอยู่ในชั้นหินจาก
ลักษณะของหินและซากดึกดำบรรพ์ แสดงลำปางเดิมเคยเป็ นทะเล  ต่ อจากนั้นเปลือกโลกนีม้ ีการเคลือ่ นที่
ทำให้ พนื้ ทีน่ ีย้ กตัวสู งขึน้ ดังทีพ่ บเห็นในปัจจุบัน
3. เป็ นข้อมูลเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์เปรี ยบเทียบระหว่างชั้นหิ นในพื้นที่ต่างๆ กัน เช่น ถ้าพบซากดึกดำบรรพ์
กลุ่มเดียวกันและเป็ นชนิด (Species) เดียวกัน แน่นอน แสดงว่าในชั้นหิ นที่พบซากดึกดำบรรพ์ดงั กล่าวนั้น
แม้วา่ อยูท่ ี่ต่างกัน แต่เกิดการสะสมตัวเป็ นชั้นตะกอนในแอ่งสะสมตัวในช่วงเวลาเดียวกัน

You might also like