You are on page 1of 69

น.ส.

แพรวดาว ผ่องศรี
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชวี ิต เลขที่ 27 ชั้น ม.6/2
ทําไมสิ่งมีชีวิตตองเคลื่อนที่????
Locomotion vs Movement
• การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

• การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

• การเคลื่อนที่ของสัตวมีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

1. อะมีบา (amoeba

• มีการเคลื่อนที่แบบ……………………………………………….
Amoeboid usv ซึ่งอาศัยการไหลของไซโทพลาสซึมและ
ไมโครฟลาเมนต ทําใหเกิดเปนเทาเทียม (pseudopodium
• สามารถแบงไซโทพลาสซึมออกเปน 2 สวน
1. ……………………:
Ectroplasm มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว เรียกวา เจล (gel
2. …………………...:
Endoplasm มีลักษณะเปนของเหลว เรียกวา โซล (sol
กลไกการเคลื่อนที่ของอะมีบา

การไหลของไซโทพลาสซึม เกิดจากการรวมตัว – แยกตัวของโปรตีนแอกทิน ซึ่งเปน


สวนประกอบของไมโครฟลาเมนท ทําใหคุณสมบัติของไซโทพลาสซึม เปลี่ยนจากซอลเปนเจลและ
เปลี่ยนจากเจลเปนซอล ไซโทพลาสซึมจะไหลไปในทิศทางที่เซลลเคลื่อนที่ไป และดันใหเยื่อหุม
เซลลยื่นออกเปนเทาเทียม
Cytoskeleton ประกอบดวย
1. ไมโครทิวบูล (Microtubule) เปนทอตรงและกลวงประกอบดวย tubulin protein เปนองคประกอบของ
เสนใยสปนเดิล ซิเลีย แฟลเจลลา เปนตน
2. อินเตอรมีเดทฟลาเมนท (Intermediate filament) ประกอบดวยมัดของหนวยยอยโปรตีนที่พันกันเปน
เกลียว ประกอบดวยโปรตีนหลายชนิด แลวแตชนิดของเซลล เปนองคประกอบของเสนใยเคอราติน เปนตน
3. ไมโครฟลาเมนท (Microfilament) เปนเสนใยทึบ 2 สายพันกันเปนเกลียว ประกอบดวย actin Protein
เปนองคประกอบของไมโครวิลไล เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่โดยใชเทาเทียม การหดตัวของกลามเนื้อ

Intermediate filament

Microtubule

Microfilament
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

2. พารามีเซียม (paramecium

• มีการเคลื่อนที่โดยอาศัย..............................
2: /: &
ซึ่งมีลักษณะเปนเสนเล็กๆ จํานวนมาก
ทําหนาที่ในการโบกพัด เพื่อใหเคลื่อนที่ได
พารามีเซียมเคลื่อนที่โดยการโบกพัดของซีเลียไปทางดานหลัง ทําใหตัวของพารามีเซียม
เคลื่อนที่ไปขางหนา จากการโบกพัดของซีเลียทําใหตัวพารามีเซียมหมุนไปดวย เนื่องจากไมมี
อวัยวะคอยปรับสมดุล (หางเสือ และอีกอยางหนึ่งเนื่องจากซีเลียที่รองปาก ซึ่งมีจํานวนมากกวา
โบกพัดแรงกวาบริเวณอื่น จึงทําใหหมุน
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

3. ยูกลีนา (euglena
• มีการเคลื่อนที่โดยอาศัย ..............................................
flagellum
• การเคลื่อนที่แบบคลื่นจะทําใหยูกลีนาเคลื่อนที่ไปขางหนา
แตการสะบัดแฟลกเจลลัมจะชวยใหเคลื่อนที่ไปขางหลัง
• โครงสรางของแฟลเจลลัมและซีเลีย ประกอบดวยหลอดเล็ก ๆ เรียกวา ไมโครทิวบูล (microtubules) เรียง
ตัวแบบ 9 + 2 (รอบนอกมีไมโครทิวบูลจํานวน 9 กลุม กลุมละ 2 หลอด
แกนตรงกลางมีไมโครทิวบูล 2 หลอด
• ระหวางไมโครทิวบูลมีแขนทีใ่ ชยึดเกาะกันเรียกวา ไดนีนอารม (dynein arm ทําใหซิเลียและแฟลเจลลัม
โคงงอพัดโบกได
• โคนของซีเลียและแฟลเจลลัม มีเบซัลบอดี ( basal body) หรือ ไคนีโตโซม (kinetosome)
ซึ่งมีการเรียงตัวของไมโครทูบลู แบบ 9+ 0 (รอบนอกมีไมโครทิวบูลจํานวน 9 กลุม กลุมละ หลอด แกนกลาง
ไมมีไมโครทิวบูล
• ถาหากตัดเบซัลบอดีออก พบวาแฟลเจลลัมและซีเลียเสนนั้นจะหยุดลง จึงเชื่อกันวาเบซัลบอดีเปนตัวควบคุม
การเคลื่อนไหวของซีเลียและแฟลเจลลัม
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

1. แมงกะพรุน

• เปนสัตวที่มีโครงรางเปนของเหลว (hydroskeleton
<

• ภายในเปนชั้นของของเหลวคลายเจลาติน เรียกวา มีโซเกลีย (mesoglea แทรกอยูระหวาง


เนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อชั้นใน
• แมงกะพรุนเคลื่อนที่โดยอาศัยการหดตัวเปนจังหวะของเนื้อเยื่อบริเวณขอบกระดิ่งและที่ผนัง
ลําตัวสลับกัน ทําใหพนน้ําออกมาทางดานลาง สวนตัวจะพุงไปในทิศทางตรงขามกับทิศทางน้ํา
ที่พนออกมา
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

2. หมึก

หด วของก ามเ
• เคลื่อนที่โดยอาศัย..........................................ทํ
าใหน้ําภายในลําตัวพนออกมาทาง..................................
การ
siphon
เกิดแรงดันน้ําดันใหหมึกเคลื่อนที่ในทิศทางตรงขามกับทิศทางของน้ําที่พนออกไป
• ทอไซฟอน สามารถเคลื่อนไหวได ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางของน้ําที่พนออกมา หมึกจึง
เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ได
• การมีครีบอยูทางดานขางลําตัวชวยใหการทรงตัวใหหมึกเคลื่อนไปในทิศทางที่เหมาะสม
ล้
ตั
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

3. ดาวทะเล • เคลื่อนที่โดยอาศัย.......................................................................
บ อ
ระบ

ประกอบดวยตะแกรงน้ําเขาคือ มาดรีโพไรต (madrepolite)
ซึ่งอยูทางดานหลังของดาวทะเล ตอจากชองตะแกรง เปนทอเล็กๆ

เรียกวา สโตนแคแนล ⑦
(stone canal เชื อ
่ มต อ กั บ ท อ วงแหวนที อ
่ ยู 
รอบปาก เรียกวา ริงแคแนล (ring canal) จากทอวงแหวนนี้จะมี
ทอน้ําแยกออกไปในแขนทั้ง 5 ของดาวทะเล เรียกทอนี้วา OP เรเดียล
แคแนล (radial canal) ทางดานขางของเรเดียลแคแนล มีทอแยก
ไปยังทิวบฟ⑧ ต (tube feet) ทางดานบนของทิวบฟต จะมีลักษณะ
พองเปนกระเปาะ เรียกวา แอมพูลลา (ampulla)
5.
size podium
ท่
&

·Mahaponite ตะแกรง
·Stone เคแคร อส

·Ring canal :วงแหว

·Radial cama, ่อ

:· Anputr ufabeFee

3
ท่
รั
ท่
ท่
1. น้ําเขาสูระบบทอน้ําทางมาดรีโพไรตและไหลผานทอวงแหวนรอบปากเขาสูทอเรเดียลแคแนลและทิวบฟต
2. เมื่อน้ําเขามาที่แอมพูลลา แอมพูลาจะหดตัวดันน้ําไปยังโพเดียม ทําใหกลามเนื้อบริเวณนั้นเกิดการยืดยาว
ออกไปดันพื้นที่อยูดานลาง ดาวทะเลจึงเกิดการเคลื่อนที่
3. กลามเนื้อโพเดียมหดสั้นเขา นําน้ํากลับเขาไปอยูในแอมพูลลาใหม การยืดและหดของทิวบฟตจะเกิดขึ้นหลายๆ
ครั้ง ทําใหเกิดการเคลื่อนที่อยางตอเนื่อง
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

4. ไสเดือนดิน

• มีกลามเนื้อ 2 ชุดที่ชวยในการเคลื่อนที่ คือ


ก ลาม เ
1. ..............................................................อยู
อวเ
ทางดานนอก
ก า เพ
2. ..............................................................อยู
่อถาม ทางดานใน
• การเคลื่อนที่ของไสเดือนเกิดจากการทํางานรวมกันของกลามเนื้อ
วงกลม และกลามเนื้อตามยาว หดตัวและคลายตัวเปนระลอกคลื่น
จากทางดานหนามาทางดานหลัง ทําใหเกิดการเคลื่อนที่ไปดานหนา

setae
ก็
ี่
มี
นื
ล้
กลไกการเคลื่อนที่ของไสเดือนดิน
1. ไสเดือนจะใชเดือยจิกดินไว

2. กลามเนื้อวงกลมหดตัว สวนกลามเนื้อตามยาว
คลายตัว ทําใหลําตัวยืดยาวออก เมื่อสุดแลวสวน
Setae หนา คือ ปลองแรกของไสเดือนกับเดือยจะจิกดิน

3. กลามเนื้อวงกลมคลายตัว กลามเนื้อตามยาว
หดตัว ดึงสวนทายของลําตัวเคลื่อนมาขางหนา
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

5. แมลง • เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง แตแมลงมีโครงรางแข็งภายนอก (exoskeleton)


ซึ่งเปนสารพวกไคทินมีลักษณะเปนโพรงเกาะกันดวยขอตอ ซึ่งสามารถงอได

ffexor หม = บางอ
1

Extensor หน >
ขา เห ย 2
ยี
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง
• การเคลื่อนไหวของขาเกิดจากการทํางานสลับกันของกลามเนื้อเฟลกเซอร (flexor)
5. แมลง และเอกเทนเซอร (extensor)
- extensor คลาย , flexor หด แมลงงอขา
- extensor หด , flexor คลาย แมลงเหยียดขาออก
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

5. แมลง • การเคลื่อนที่ดวยการบิน เกิดจากการทํางานของกลามเนื้อ 2 ชุด


1. กลามเนื้อยึดเปลือกหุมสวนอก 2. กลามเนื้อตามยาว
การเคลื่อนที่ของสัตวไมมีกระดูกสันหลัง

5. แมลง

กลามเนื้อตามยาว กลามเนื้อยึดเปลือกหุมสวนอก

ปกยกขึ้น ปกกดลง
กลามเนื้อยึดเปลือกหุมสวนอก..................
หด กลามเนื้อยึดเปลือกหุมสวนอก................
คลาย
·ลาย
กลามเนื้อตามยาว............................ กลามเนื้อตามยาว........................

การเคลื่อนที่ของสัตวมีกระดูกสันหลัง
• มีรูปรางเพรียว เพื่อลดพื้นที่ในการปะทะกับน้ํา
6. ปลา • มีผิวเรียบ มีเมือกลื่นมาเคลือบไว ลดแรงเสียดทานกับน้ําใหนอยลง
• เคลื่อนที่ไดโดยอาศัยการทํางานของกลามเนื้อที่ติดอยูสองขางของ
กระดูกและการพัดโบกของครีบตางๆ
1. ครีบอก (pectoral fin) ชวยในการเคลื่อนที่ขึ้นลงในแนวดิ่ง
และการเลี้ยวซายขวา
2. ครีบหลัง (dorsal fin) เปนครีบเดี่ยว ชวยไมใหปลาเอียงซาย
เอียงขวาในขณะเคลื่อนที่
3. ครีบกน (anus fin) เปนครีบเดี่ยว ชวยพยุงรางกายไมให
สวนทองพลิกหงาย
4. ครีบหาง (caudal fin) เปนครีบเดี่ยวที่พัดโบกใหปลาเคลื่อนที่
ไปขางหนา
ว0

ร้
การเคลื่อนที่ของสัตวมีกระดูกสันหลัง
/

7. นก • มีรูปรางเพรียวลม มีน้ําหนักไมมาก กระดูกกลวงหรือเปนโพรง


ทําใหมีน้ําหนักนอยหรือเบามาก
• มีถุงลม (air sac) เจริญดีมากอยูติดกับปอด และแทรกตัวอยูใน
ชองวางภายในโครงกระดูก ถุงลมชวยใหตัวเบา และเก็บอากาศ
หายใจเมื่อลอยนานๆ
• ปกของนกมีพื้นที่กวางเมื่อเทียบกับลําตัว ความกดดันของอากาศ
ดานลาง สูงกวาดานบน เมื่อเคลื่อนที่ผานกระแสอากาศชวยใหพยุง
ตัวลอยอยูในอากาศได
• ขนของนกมีลักษณะบางและเบาชวยในการอุมอากาศ และมีการ
เรียงตัวชี้ไปทางดานหลัง เพื่อลดแรงเสียดทานของอากาศ
• มีหางชวยในการทรงตัว
ขณะที่นกยกปกขึ้น
กลามเนื้อยกปกจะหดตัว
กลามเนื้อกดปกจะคลายตัว

ขณะที่นกกดปกลง
กลามเนื้อกดปกจะหดตัว
สวนกลามเนื้อยกปกจะคลายตัว
Ant
การเคลื่อนที่ของมนุษย

• การเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวของคนอาศัยโครงสรางสําคัญ ไดแก กระดูก กลามเนื้อ และเอ็น


ซึ่งทําหนาที่ประสานกอใหเกิดการเคลื่อนไหวของรางกายได
การเคลื่อนที่ของมนุษย

• ในทารกแรกเกิดจะมีกระดูกออน 350 ชิ้น ซึ่งมากกวาผูใหญถึง 150


กระดูกในรางกายมนุษย ชิ้น กระดูกของทารก เหลานี้ไมไดหายไปไหน แตกระดูกจะเชื่อมกัน
สมบูรณเมื่ออายุประมาณ 20-25 ป ทําใหกระดูก เหลืออยูทั้งหมด
206 ชิ้น เปนกระดูกที่แข็งและอยูอยางถาวร แบงออกเปน 2 ชนิด
ตามตําแหนงที่อยู
1. กระดูกแกน (axial skeleton)
2. กระดูกรยางค (appendicular skeleton)
กระดูกแกน axial skeleton

• มี 22 ชิ้น ลักษณะคลายถุง บรรจุเนื้อสมองเอาไว


1. กะโหลกศีรษะ (skull
• ทําหนาที่ หอหุมและปองกันมันสมองที่อยูภายใน
กระดูกแกน axial skeleton

2. กระดูกสันหลัง • มี 26 ชิ้น ชวยค้ําจุนและรองรับน้ําหนักของรางกาย เปนแนวกระดูก


ที่ทอดอยูทางดานหลังของรางกาย
(vertebrae)
• ประกอบดวยกระดูกที่เปนขอๆตอกัน กระดูกแตละขอเชื่อมตอกัน
4 หมอน รอง กระ ดวย กลามเนื้อและเอ็น
• ระหวางกระดูกสันหลังแตละขอจะมีแผนกระดูกออนหรือที่เรียกกัน
วา หมอนรองกระดูก (intervertebral disc) ทําหนาที่ รองและ
IS เชื่อมกระดูกสันหลังแตละขอ เพื่อปองกันการเสียดสี ถากระดูกออน
% นี้เสื่อม เราจะไมสามารถบิดหรือเอี้ยวได
• ชวงอกมีกระดูกซี่โครงมาเชื่อมตอ
·
บ้
ดู
กระดูกแกน axial skeleton

3. กระดูกซี่โครง (rib

• กระดูกซี่โครง (rib) มีทั้งหมด 12 คู ชวยปกปองอวัยวะ


ภายในชองอก
• แตละคูจะตอกับดานขางของกระดูกสันหลังสวนทรวงอก
• ดานหนาโคงมาตอเชื่อมกับกระดูกหนาอก ยกเวนคูที่ 11
และ 12 จะมีขนาดสั้น เรียกวากระดุกซี่โครงลอย
ไมเชื่อมตอกับกระดูกหนาอก
กระดูกแกน axial skeleton

4. กระดูกหนาอก (sternum)

• อยูทางดานหนาของชวงอกเปนที่ยึดของกระดูก
ซี่โครงตั้งแตคูที่ 1 ถึงคูที่10
กระดูกรยางค appendicular skeleton

• กระดูกรยางคมี 126 ชิ้น ไดแก กระดูกแขน


กระดูกขา กระดูกสะบัก กระดูกไหปลารา และ
กระดูกเชิงกราน
ขอตอ (joint)

• เปนตําแหนงที่มีกระดูก 2 ชิ้นมาตอกัน โดยมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมายึดใหติดกันเปนขอตอ แบงตามความสามารถ


ในการเคลื่อนไหวได 3 ประเภท
1. ขอตอที่เคลื่อนไหวไมได 2. ขอตอที่คลื่อนไหวไดนอย 3. ขอตอที่คลื่อนไหวไดมาก
ขอตอที่คลื่อนไหวไดมาก

1. ขอตอแบบบานพับ (hinge joint 2. ขอตอแบบลูกกลมในเบา (ball and socket joint


เคลื่อนไหวไดแคงอเหยียดเทานั้น คลายบานพับประตู อิสระในการเคลื่อนไหวสูงสุดทุกทิศทาง (หนา – หลัง /
เชน ขอตอบริเวณขอศอก ขอตอบริเวณขอเขา นิ้วมือ นิ้วเทา ขางๆ / หมุน เชน ขอตอบริเวณหัวไหล ขอตอสะโพก
ขอตอที่คลื่อนไหวไดมาก

3. ขอตอแบบอานมา (saddle joint 4. ขอตอแบบเดือย (pivot joint


เปนขอตอที่ประกบอยูในแนวที่แตกตางกัน ทําใหมี เปนขอตอที่ทําใหกระดูกชิ้นหนึ่ง เคลื่อนที่ไปรอบๆแกน
การจํากัดการหมุน (หนา - หลัง / ขางๆ ไดแก ของกระดูกอีกชิ้นหนึ่ง ไดแก ขอตอที่ตนคอ กับฐานของ
ขอตอโคนนิ้วหัวแมมือ กะโหลกศีรษะ
ขอตอที่คลื่อนไหวไดมาก

5. ขอตอแบบไกลดิง (gliding joint) เปนขอตอที่มีลักษณะแบนราบ ไดแก ขอตอของขอมือ ขอเทา


กลามเนื้อ (muscle) ของสัตวมีกระดูกสันหลัง

• กลามเนื้อหัวใจ

• กลามเนื้อโครงราง

• กลามเนื้อเรียบ
กลามเนื้อ (muscle) ของสัตวมีกระดูกสันหลัง

กลามเนื้อโครงราง / กลามเนื้อลาย (skeletal muscle

ลักษณะรูปราง ทรงกระบอกยาว แถบลาย (striation) สีออนสลับสีเขม


นิวเคลียส แตละเซลลมีหลายนิวเคลียส
ระบบการทํางาน อยูภายใตอํานาจจิตใจ (somatic system )
เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวรางกาย
ตัวอยาง เชน กลามเนื้อแขน กลามเนื้อขา
กลามเนื้อ (muscle) ของสัตวมีกระดูกสันหลัง

กลามเนื้อเรียบ (smooth muscle

ลักษณะรูปราง ยาวหัวทายแหลม ไมมีลายพาดขวาง


นิวเคลียส แตละเซลลมี 1 นิวเคลียส
ระบบการทํางาน นอกเหนืออานาจจิตใจ (automatic system)
พบตามอวัยวะภายใน
ตัวอยาง เชน ผนังกระเพาะอาหาร ผนังลําไส ผนังหลอดเลือด และมานตา
กลามเนื้อ (muscle) ของสัตวมีกระดูกสันหลัง

กลามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle

ลักษณะรูปราง ทรงกระบอกยาว มีปลายแตกแขนง แถบลายสีออน


นิวเคลียส แตละเซลลมี 1 นิวเคลียส
ระบบการทํางาน นอกเหนืออํานาจจิตใจ (automatic system)
หนาที่ ควบคุมการเตนของหัวใจ
ตัวอยาง เชน กลามเนื้อหัวใจ
ขอตอ (joint)
บริเวณขอตอจะมีโพรงของขอตอ (joint cavity) ภายในโพรงมีเยื่อบุซิลโนเวียล (sylnovialmembrane) อยู
เยื่อบุนี้จะสรางของเหลวเปนเมือกคลายไขขาว เรียกวา น้ําไขขอ (sylnovial fluid ) หลอลื่นอยู เพื่อไมใหกระดูกเสียดสี
กันและทําใหเคลื่อนไหวไดสะดวก นอกจากนี้บริเวณขอตอยังมีเสนเอ็น (Tendon)หรือลิกาเมนต (Ligament)
ซึ่งเปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เหนียวแนนและทนทานชวยยึดกระดูกไวอีกดวย
ลิกาเมนต (ligament) หรือ เอ็นยึดขอ เทนดอน (tendon) หรือ เอ็นยึดกระดูก
คือ เอ็นที่ยึดกระดูกกับกระดูก คือ เอ็นที่ยึดระหวางกระดูกกับกลามเนื้อ
ขอตอ (joint)
บริเวณขอตอจะมีโพรงของขอตอ (joint cavity) ภายในโพรงมีเยื่อบุซิลโนเวียล (sylnovialmembrane) อยู
เยื่อบุนี้จะสรางของเหลวเปนเมือกคลายไขขาว เรียกวา น้ําไขขอ (sylnovial fluid ) หลอลื่นอยู เพื่อไมใหกระดูกเสียดสี
กันและทําใหเคลื่อนไหวไดสะดวก นอกจากนี้บริเวณขอตอยังมีเสนเอ็น (Tendon) หรือลิกาเมนต (Ligament)
ซึ่งเปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เหนียวแนนและทนทานชวยยึดกระดูกไวอีกดวย
ขอตอ (joint)

ลิกาเมนต (ligament) หรือ เอ็นยึดขอ เทนดอน (tendon) หรือ เอ็นยึดกระดูก


คือ เอ็นที่ยึดกระดูกกับกระดูก คือ เอ็นที่ยึดระหวางกระดูกกับกลามเนื้อ
เพราะเหตุใดคนชราจึงเคลื่อนไหวไดไมคลองแคลว และมีอาการกระดูกลั่นขณะที่มี
การเคลื่อนไหว

ตอบ เนื่องจากการสึกกรอนหรือเสื่อมของกระดูก หมอนรองกระดูกและขอตอ รวมทั้งปริมาณของ


น้ําไขขอในขอตอลดลง จึงเกิดการเสียดสีของกระดูกบริเวณขอตอในขณะที่มีการเคลื่อนไหวทําให
เกิดเสียงลั่น
กลไกการทํางานของกลามเนื้อลาย

งอแขน เหยียดแขน
biceps หดตัว , triceps คลายตัว biceps คลายตัว , triceps หดตัว
กลไกการทํางานของกลามเนื้อลาย


คลา ด

&

2 com
กลไกการทํางานของกลามเนื้อลาย

เ นใ ยก ามเ
นื
น้
ส้
ล้
~
ac tin

my osive
ปิ
S
@เ ①ca

·
ไ ป เกาะ APPEP
ปิ
↓myos: n
·trepair Troponyosin
กระแสประสาทสั่งการใหกลามเนื้อหดตัว
Sarcoplasmic reticulum หลั่ง Ca2+
Ca2+ จับกับ troponin ทําให tropomyosin เลื่อนออก
Myosin head สลาย ATP กลายเปน ADP + Pi เพื่อจับกับ actin
Myosin head ดัน actin ใหเคลื่อนที่เขาหากัน ADP + Pi หลุดออก
กลามเนื้อหดตัว
ATP จับที่ Myosin head ทําให Myosin head หลุดออกจาก actin
กลามเนื้อคลายตัว
/

You might also like