You are on page 1of 29

8

หน่วยการเรียนรู้ที่

ระบบขับถ่าย

ผลการเรียนรู้
• สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกายของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง 
และสัตว์มีกระดูกสันหลังได้
• อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต และโครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจากร่างกายได้
• อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยไตในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียนแผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของเสียออกจากร่างกายโดยหน่วยไตได้
• สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับความผิดปกติของไตอันเนื่องมาจากโรคต่าง ๆ ได้
8
หน่วยการเรียนรู้ที่

ระบบขับถ่าย

ผลการเรียนรู้
• สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกายของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง 
และสัตว์มีกระดูกสันหลังได้
• อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต และโครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจากร่างกายได้
• อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยไตในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียนแผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของเสียออกจากร่างกายโดยหน่วยไตได้
• สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับความผิดปกติของไตอันเนื่องมาจากโรคต่าง ๆ ได้
ระบบขับถ่ าย
• สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลภาพของสารต่างๆในร่างกาย
• ของเสียจากกระบวนการเมแทบอลิซมึ มีไนโตรเจน
เป็ นองค์ประกอบ
• สารที่ไม่มีประโยชน์จะต้องกาจัดออกโดยเปลี่ยนให้
เป็ นสารที่มีพิษน้อยลง
การขับถ่ายของสัตว์
ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจน

แอมโมเนีย ยูเรีย กรดยูริก

• มีความเป็นพิษ • มีความเป็นพิษน้อยกว่าแอมโมเนีย • ละลายน้ำได้น้อย


• ละลายน้ำได้มาก • ละลายน้ำได้ • ถูกกำจัดออกในลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว
• ถูกกำจัดออกในรูป • ถูกกำจัดออกในรูปของสารละลาย เนื่องจากดูดน้ำกลับคืนได้เกือบหมด
แอมโมเนียมไอออน (NH4 +) • พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม • พบในแมลง นก สัตว์เลื้อยคลานบางชนิด
• พบในสัตว์น้ำส่วนใหญ่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ฉลาม หอยที่อาศัยบนบก
ปลากระดูกแข็งบางชนิด
การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

พารามีเซียม
กำจัดน้ำส่วนเกินและของเสียผ่านทางคอนแทร็กไทล์แวคิวโอล
(contractilevacuole) ซึ่งทำหน้าที่รวบรวมน้ำส่วนเกินและ
ของเสียต่าง ๆ ไว้ภายใน แล้วขับออกจากเซลล์
การขับถ่ายของสัตว์

ฟองน้ำและไฮดรา
เซลล์ ส ั ม ผั ส กั บ น้ ำ โดยตรง แอมโมเนี ย มและแก็ ส
คาร์ บ อนไดออกไซด์ จ ึ ง แพร่ ผ ่ า นเยื ่ อ หุ ้ ม เซลล์ ส ู่ CO 2
สิ่งแวดล้อม CO 2
NH 3
NH 3

ซิเลีย
พลานาเรีย
ขับถ่ายของเสียผ่านเฟลมเซลล์ (flame cell) มีลักษณะเป็น
โพรงที่มีซิเลีย ของเสียจะถูกซิเลียพัดเข้าสู่เฟลมเซลล์ แล้วขับ
ออกทางช่องขับถ่ายที่อยู่ด้านข้างของลำตัว
ช่องขับถ่าย
เฟลมเซลล์
°
0
0

0

°
° /
ก อ
.
การขับถ่ายของสัตว์
ไส้เดือนดิน
ขับถ่ายของเสียผ่านเนฟริเดียม (nephridium) ลักษณะเป็นท่อขดไปมา
ด้านหนึ่งอยู่ในลำตัว เรียกว่า เนโฟรสโตม (nephrostome) ซึ่งมีซิเลีย
ล้ อ มรอบ และ อี ก ด้ า นเปิ ด ออกสู ่ น อกลำตั ว เรี ย กว่ า เนฟริ ด ิ โ อพอร์ เนฟริเดียม
(nephridiopore) โดยซิเลียจะพัดแอมโมเนียและยูเรียเข้าสูท่ อ่ เนฟริเดียม เนฟริดิโอพอร์
แล้วขับออกนอกร่างกาย ส่วนน้ำและแร่ธาตุบางส่วนถูกดูดกลับบริเวณผนัง เนโฟรสโตม
ของเนฟริเดียมเข้าสู่กระแสเลือด

แมลง
ขับถ่ายของเสียผ่านท่อมัลพิเกียน (malpighian tubule) มีลักษณะ
คล้ายถุงยื่นออกมาจากทางเดินอาหาร ของเสีย น้ำ และสารต่าง ๆ จะถูก
ลำเลียงเข้าสู่ท่อมัลพิเกียนและส่งผ่านไปยังลำไส้ซึ่งมีกลุ่มเซลล์บริเวณ
ไส้ตรงดูดน้ำและสารที่มีประโยชน์กลับ ส่วนของเสียพวกสารประกอบ
ไนโตรเจนจะถูกเปลี่ยนเป็นผลึกกรดยูริกขับออกพร้อมกับกากอาหาร
E.io
แมลง
• ท่อมัลพิเกียน (malpighian tubule)
การขับถ่ายของสัตว์
ปลา
ขับถ่ายของเสียผ่านไต (kidney) มี 1 คู่ ในช่องท้อง
ติดกับกระดูกสันหลัง ทำหน้าที่กำจัดของเสียออก
จากเลือด ของเสียจะผ่านท่อไตไปยังกระเพาะอาหาร ไต
และเปิดออกทางทวารหนัก

ไต
สัตว์เลื้อยคลายและสัตว์ปีก
ขับถ่ายของเสียผ่านไต (kidney) มี 1 คู่ ซึ่งสามารถ
เปลี่ยนแอมโมเนียให้เป็นกรดยูริกได้ ทำให้ปัสสาวะมี
ลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว กรดยูริกจะตกตะกอนเป็นผลึก
สีขาวรวมตัวกับอุจจาระ
สั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
• ไต (Kidney)
• เช่น ปลา สัตว์สะเทินนา้ สะเทินบก สัตว์เลือ้ ยคลาน
สัตว์ปีก สัตว์เลีย้ งลูกด้วยนา้ นม
ไตและอวัยวะในระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ไต (kidney)
- มี 1 คู่ ลักษณะคล้ายเมล็ดถั่ว
ท่อไต (uterus) - ไตแต่ละข้างมีหน่วยไตประมาณ 1 ล้านหน่วย
- ท่อขนาดเล็กและยาวที่ต่อมาจากไต
- โครงสร้างประกอบด้วย 2 ชั้น ได้แก่
- ทำหน้าที่ลำเลียงปัสสาวะจากไต
เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ - คอร์เทกซ์ (cortex) เป็นเนื้อไตส่วนนอก
เป็นที่อยู่ของโกลเมอรูลัส โบว์แมนส์แคปซูล
ท่อขดส่วนต้น และท่อขดส่วนปลาย
กระเพาะปัสสาวะ - เมดัลลา (medulla) เป็นเนื้อไตส่วนใน
(urinary bladder) เป็นที่อยู่ของห่วงเฮนเลและท่อรวม

- ลักษณะเป็นถุงกลวงที่ยืดหยุ่นได้
- ทำหน้าที่เก็บปัสสาวะที่ส่งมาจากไต
สามารถเก็บปัสสาวะได้ 700 – 800 กรวยไต (renal pelvis)
ลบ.ซม. - ลักษณะเป็นกรวยที่ต่อมาจากไต
- กักเก็บหรือพักน้ำปัสสาวะที่ปล่อยมาจากไต
หน่วยไต โครงสร้างของหน่วยไต
โบว์แมนส์แคปซูล (Bowman’s capsule)
ท่อขดส่วนต้น
ลักษณะเป็นทรงกลมห่อหุ้มโกลเมอรูลัส
โกลเมอรูลัส (glomerulus) ท่อขดส่วนปลาย
กลุ่มหลอดเลือดฝอยที่แนบชิดกับโบว์แมนส์แคปซูล
ซึ่งผนังโกลเมอรูลัสทำหน้าที่เป็นเยื่อกรองพลาสมา
ผ่านเข้าสู่โบว์แมนส์แคปซูล

ท่อหน่วยไต (convoluted tubule)


- ท่อขดส่วนต้น (proximal convoluted tubule) ท่อขดส่วนกลาง หรือเฮนเล
มีการดูดสารที่มีประโยชน์กลับมากที่สุด
- ท่อขดส่วนกลาง หรือห่วงเฮนเล (loop of Henle) ท่อรวม (collecting duct)
มีการดูดน้ำและ NaCl กลับได้มาก บริเวณที่รวมของเหลวจากการทำงานของหน่วยไต
- ท่อขดส่วนปลาย (distal convoluted tubule) ก่อนส่งไปยังกรวยไต ซึ่งของเหลวมีลักษณะคล้าย
มีการดูดน้ำและ NaCl กลับ ปัสสาวะ
อขด น น
ใน เมอ ป
อา นปลาย
โบ แมน แคป ล
อขด วนกลาง
/ วง เฮนเล

อรวม

:3
5
ต้
สั่
ท่
รู
ที่
ท่
ห่
ส่
ท่
สิ
ว์
ซู
การทางานของหน่วยไต
1. การกรอง (filtration) ที่โกลเมอรู ลส

2. การดูดกลับ (reabsorption) ท่อหน่วยไต

3. การหลั่ง (secretion) ท่อหน่วยไตส่วนต้นและ


ส่วนปลาย
l
i ÷
#

ฅึ๊✓ (ใ/
\
\ กลาง 1 เฮนเล
.. .
.
ณิ๊
ห้
ณู่
งู๋
อวัยวะในกำรรักษำสมดุลของมนุษย์
การทาให้นา้ ปั สสาวะเข้มข้น โดยการดูดกลับ NaCl และ นา้
300 mmOsm/L
100
กรอง H+
300 mmOsm/L K ร

I HCO-3 H+
NH3
NaCl NaCl
H2O 200 300
NaCl
K+ H2O
สารอาหาร NaCl
400 400
ดูดกลับ H2O H+
NaCl
400 mmOsm/L K
600 mmOsm/L H2O NaCl
700 H2O 600
900 mmOsm/L H2O NaCl
Urea
1200 mmOsm/L
H2O
1200 1200
Active trans.
NaCl
Passive trans.
แอลกอฮอ เช ""
AIHIVasopr
Cl
DH ⇐
4

. ด ลม

Hyptn Tgg
>
/

มาก
นอน
_

ADH มาก
=

มาก
/จาง
นะยะ
ADH

o
น้ำอั
พ่
ล์
โรคที่เกี่ยวข้องกับไต
.

โรคนิ่ว (kidney stone)


เกิดจากตะกอนของแร่ธาตุต่าง ๆ เช่น แคลเซียมออกซาเลต แคลเซียมฟอตเฟต กรด
ยูริก ในปัสสาวะไม่ละลาย จึงตกตะกอนรวมเป็นก้อนนิ่ว
อาการ
ปวดเอวค่อนไปทางด้านหลังข้างใดข้างหนึ่ง (ปวดแบบเสียดหรือปวดบิดเป็นพัก ๆ)
อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน และปัสสาวะมีลักษณะขุ่นแดงหรือมีเม็ดทราย
การรักษา
ก้อนนิ่ว
รักษาโดยการใช้ยา ผ่าตัด หรือสลายก้อนนิ่วโดยใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูง

การป้องกัน
รับประทานอาหารประเภทโปรตีน ซึ่งมีธาตุฟอสฟอรัสสูง
ดื่มน้ำสะอาดปริมาณมาก ๆ
โรคที่เกี่ยวข้องกับไต
โรคไตวาย (kidney failure/renal failure) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้
ไตวายเฉียบพลัน เกิดจากความผิดปกติของการหมุนเวียนเลือด เช่น การเสียเลือดจำนวนมาก การขาดน้ำอย่างรุนแรง ผู้ป่วยจะปัสสาวะน้อยหรือไม่ออกเลย
ไตวายเรื้อรัง เป็นภาวะที่สูญเสียการทำงานของไตอย่างช้า ๆ และถาวร ผู้ป่วยจะปัสสาวะบ่อยและปริมาณมาก

การรักษาโรคไตวายเรื้อรัง

1 การล้างไตทางหน้าท้อง 2 การล้างไตทางเลือด
การใส่น้ำยาที่ประกอบด้วยเกลือ การนำเลื อ ดของผู ้ ป ่ ว ยออกมา
แร่ที่เหมาะสมลงในช่องท้อง ทิ้งไว้ น้ำยาเข้า กรองของเสียผ่านเครื่องไตเทียม
เลือกกลับ
ประมาณ 4 – 6 ชั่วโมง ของเสีย เข้าสู่ร่างกาย แล้วเลือดที่ผ่านการกรองจะกลับ
จะแพร่จากเลือดมาอยู่ในน้ำยา เข้าสู่ร่างการอีกครั้ง
มาตรวัด ตัวกรอง
เลือกออก ข้อดี : ผู้ป่วยไม่มีสายติดหน้าท้อง
ข้อดี : ไม่เสียเวลามาโรงพยาบาล จากร่างกาย
ความดันเลือด น้ำยาออก

ถ่ายน้ำยาออก บ่อยครั้ง ข้อเสีย : เสียเวลามาล้างไตที่


เฮพารินต้านการ
จากช่องท้อง ข้อเสีย : มีสายทางหน้าท้อง แข็งตัวของเลือด
โรงพยาบาล
ตลอดเวลา (2 - 3 ครั้ง/สัปดาห์)
โรคที่เกี่ยวข้องกับไต
3 การปลูกถ่ายไต
การนำไตจากผู้ให้ไปใส่ให้กับผู้ป่วยไตวาย (ผู้รับ) โดยผู้ให้ไตแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
ผู้ให้ที่เสียชีวิต เป็นผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าสมองตาย แต่การทำงานของไตยังปกติ

ผู้ให้ที่ยังมีชีวิต ต้องมีความสัมพันธ์ทางสายเลือด ได้แก่ บิดาหรือมารดา พี่น้องร่วมบิดา-มารดาเดียวกัน


ญาติที่มีความสัมพันธ์ทางสายเลือดครึ่งหนึ่ง

ไตใหม่ที่ปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วยไตวาย วิธีการปลูกถ่ายไต
การผ่าตัดนำไตใหม่ไว้ในอุ้งเชิงกรานข้างใดข้างหนึ่งของผู้ป่วย โดยต่อ
หลอดเลือดของไตใหม่เข้ากับหลอดเลือดของผู้ป่วยและต่อท่อไตใหม่
หลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ เข้ากับกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งการปลูกถ่ายไตจะปลูกถ่ายเพียงข้างเดียว
ของไตใหม่ต่อกับหลอดเลือดแดงและ
หลอดเลือดดำของผู้ป่วยไตวาย ข้อดี : ไตใหม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสีย : ต้องรับประทานยากดภูมิคุ้มกัน

ท่อไตใหม่ต่อกับกระเพาะปัสสาวะของผู้ป่วย

You might also like