You are on page 1of 56

สมดลนํ

ุ า้ และเกลือแร่ :
ไต และการสร้ างปัสสาวะ

สภร
ุ กตเวทิน
ระบบขับถ่ ายปัสสาวะ
Urinary System

„ VCD title “Adam’s story on


urinary system”
THE URINARY SYSTEM

ระบบขับถ่ ายปั สสาวะ


• ไต (kidney) 1 คู่
• ท่ อไต (ureter) 1 ค่ ู
• กระเพาะปั สสาวะ
(urinary bladder)
• ท่ อปั สสาวะ (urethra)
ไต (kidney) Adrenal
gland
โครงสร้ างภายนอกของไต Renal hilus

Renal vein
ureter
โครงสร้ างภายในของไต

ไตแบ่ งเป็ น 2 ชั้น


„ ไตชั้นนอก
(Renal cortex)

„ ไตชั้นใน
(Renal
medulla)
หน่ วยไต (Nephron)
เป็ นหน่ วยที่เล็กที่สุดที่ทาํ หน้ าที่ของไต
มี 2 แบบ
… Cortical nephron

… Juxtamedullary nephron
หน่ วยไต (Nephron)
ประกอบด้ วย
„ โกลเมอรลั
ู ส (glomerulus) กลุ่มเส้ นเลือดฝอย
„ Bowman’s capsule (RENAL CORPUSCLE)
CORPUSCLE
„ หลอดไตส่ วนต้ น (Proximal convoluted tubule : PCT)
„ Loop of Henle : ท่ อขาลง, ท่ อขาขึน

„ หลอดไตส่ วนปลาย (Distal convoluted tubule : DCT)
„ หลอดไตรวม (Collecting duct)
ระบบไหลเวียนเลือดทีไ่ ตและหน่ วยไต
„ dorsal aorta
„ renal artery
„ afferent arteriole
„ glomerulus
„ efferent arteriole
„ peritubular capillaries / vasa recta
„ renal vein
„ posterior vena cava
การบ้ าน
„ วาดรปแสดงและชี
ู ้แสดงกายวิภาคภายนอกและ
ภายในของไต
„ วาดไดอะแกรมหน่ วยไตทั้ง 2 แบบพร้ อมชี้แสดง
การทํางานของไต
1. การกรอง (Filtration)
2. การดดซึ
ู มกลับ (Reabsorption)
3. การขับออก (Secretion)

GF P3
การกรอง (Filtration)
„ เกิดขึน
้ ที่ Renal
corpuscle
„ กรองเลือดในโกลเมอรลั
ู ส
ผ่ านมาที่ Bowman’s
capsule
„ นํา้ กรอง(Filtrate)

GF p5
ความดันทีท่ าํ ให้ เกิดการกรองมี 3 ชนิด
1. Hydrostatic pressure
ของเลือดในโกลเมอรลัู ส
2. Osmotic pressure ของ
เลือดในโกลเมอรลัู ส
3. Hydrostatic pressure
ของของเหลวใน
Bowman’s capsule

การกรอง = ความดันที่ 1 (ความดันที่ 2 + ความดันที่3) GF p8-9


ความดันทีท่ าํ ให้ เกิดการกรอง
อัตราการกรอง Glomerular filtration rate (GFR)
„ คือ ปริมาณนํา้ กรอง มีหน่ วยเป็ น ลกบาศก์
ู เซนติเมตรต่ อนาที
„ คํานวณค่ า GFR ได้ จากการวัดค่ า renal clearance ของ
inulin
„ มีคุณสมบัติ
… กรองผ่ านโกลเมอรลัู สได้ อย่ างอิสระ
… ไม่ ถูกเมแทบอไลซ์
… ไม่ คดั หลัง่ จากเซลล์ บุท่ อไต
Renal clearance ของ inulin
UXV ÷ PX

„ UX คือ ปริมาณของ inulin ในปัสสาวะ 1 ลบ.ซม.


„ V คือ ปริ มาตรของปัสสาวะที่ขบ
ั ออกมาใน 1 นาที
„ PX คือ ปริ มาณของ inulin ในพลาสมา 1 ลบ.ซม.
องค์ ประกอบในนํา้ กรอง
ประกอบด้ วย 4 กล่ ุมหลัก
• สารอินทรีย์ กลโคส
ู กรดอมิโน
• สารไนโตรเจน ยูเรีย กรดยูริค ครีเอทินีน
• ประจุ Na+, K+, Cl-

• นํา้
การบ้ าน
„ จงอธิบายสรปว่
ุ า
… นํา้ กรอง คืออะไร
… ได้ มาอย่ างไร
… วัดอัตราการกรองได้ อย่ างไร
การดดซึ
ู มกลับ (Reabsorption)
ƒ เซลล์ บุท่ อไต ดดกลั
ู บสารทีเ่ ป็ นทีต่ ้ องการของ
ร่ างกาย เช่ น กลโคส

ƒ สารทีพ่ บในปัสสาวะน้ อยกว่ าทีพ่ บในนํา้ กรอง


แสดงว่ าถกดดซึ
ู ู มกลับ
การคัดหลัง่ ออก (Secretion)
„ สารใดพบในปัสสาวะมากกว่ าในนํา้ กรอง แสดงว่ ามีการคัดหลัง่ จาก
เซลล์ บุท่ อ เช่ น ยูเรีย
„ การคัดหลัง่ ออกเป็ นการกําจัดสารออกจากร่ างกาย
„ ความสามารถของไตในการกําจัดสาร บอกได้ ด้วยค่ า clearance
ratio ของสารนั้นๆ กับ inulin

= Ux V UI V
÷
Px PI
ดังนั้น
„ สารใดไม่ ถูกดดซึ
ู มกลับ หรือไม่ มกี ารคัดหลัง่ ออก จะมีค่า
clearance ratio เท่ ากับ 1
„ Para-amino hippuric acid (PAH) กรองได้ อสิ ระ
ไม่ ถูกดดซึ
ู มกลับ แต่ มกี ารคัดหลัง่ ออกจากเซลล์ บุท่ อไต จะมีค่า
CR เท่ าไร
„ ความเข้ มข้ นของสารในปัสสาวะระบเป็ ุ น อัตราส่ วนของสารใน
ปัสสาวะต่ อในนํา้ เลือด (Urea/Plasma ratio)
การสร้ างปัสสาวะ
การสร้ างปัสสาวะ (Urine formation)
„ ปัสสาวะสามารถเป็น hypertonic
„ ความเข้มข้นเกิดจากล ักษณะเฉพาะต ัวของท่อไต โดย
เฉพาะที่ loop of Henle
„ ้ อยูก
ขึน ึ
่ ับการดูดซมกล ับ และการค ัดหลง่ ั ออก Na+, Cl-
นํา้ และยูเรีย
„ กลไกการเข้าออกของสารเหล่านีเ้ กิดขึน
้ ที่

… หลอดไตสวนต้
น (PCT)
… loop of Henle
… Vasa recta
การกรอง การดดซึ
ู มกลับ และการคัดหลัง่ ออก เกิดจาก
ลักษณะของเซลล์ บุท่ อไต ทีแ่ ตกต่ างกัน
5
1

4 2

3
6
ทีห่ ลอดไตส่ วนต้ น (PCT)
„ Na+ ถกดดซึ
ู ู มกลับโดย active transport

„ นํา้ ถกดดกลั
ู ู บตามโซเดียม
„ H+ ถกคั
ู ดหลัง่ ออกไปในนํา้ กรองเพือ่ รักษาสมดลกรดด่
ุ าง
„ ผลลัพท์ คอื ประมาณ 65 % ของสารต่ างๆ ถกดดซึ
ู ู มกลับคืน
จากนํา้ กรอง รวมถึงกลโคส
ู และกรดอมิโนดดซึ
ู มกลับหมด
„ นํา้ กรองมีสภาพเป็ น iso-osmotic
EF p8,15
Proximal Convoluted Tubule
ที่ loop of Henle
„ ท่ อขาลง ผนังบาง
… ยอมให้ นํา้ ผ่ านได้ ดี นํา้ ถกดดซึ
ู ู มกลับ
… แต่ ประจตุ่ างๆ และยเรี
ู ยผ่ านได้ น้อย
… hyperosmotic
Descending loop of Henle
ที่ loop of Henle

„ ท่ อขาขึน

… Na+, Cl- ถกดดซึ
ู ู มกลับ
… แต่ ไม่ ยอมให้ นํา้ ผ่ าน
… ความเข้ มข้ นของของเหลว
เจือจางมากกว่ าท่ อขาลง
… ของเหลวในท่ อทีอ่ ย่ ูลกึ ใน
ชั้นในของไตเข้ มข้ นกว่ าทีอ่ ยู่
ส่ วนชั้นนอก EF p 16-17
Ascending loop & DCT
ทีห่ ลอดไตส่ วนปลาย (DCT)
„ hypo-osmotic เล็กน้ อย แต่ มปี ริมาตรลดลง
„ Na+ ถกดดซึ
ู ู มกลับด้ วย active
transport
„ Cl+, HCO3- และนํา้ ตามโซเดียม ด้ วย
passive transport
„ K+, H+, NH4+ ถกขั
ู บออก
„ iso-osmotic
Late DCt & Cortical Collecting Duct
ทีห่ ลอดไตรวม และท่ อไตรวม
(collecting tubule & collecting duct)

„ ึ
Na+ ถูกดูดซมกล ับ
„ Cl-, K+ ถูกข ับออก
„ ความเข้มข้นสุดท้ายของปัสสาวะอยูภ
่ ายใต้
อิทธิพลของฮอร์โมน ADH
… ถ้ามี ADH ปัสสาวะเป็น hyperosmotic
… ถ้าไม่ม ี ADH ปัสสาวะเป็น hypo-osmotic
… ่
ADH ชวยร ักษาสมดุลนํา้ ของร่างกาย
„ ฮอร์โมน aldosterone LF p6
Medulla Collecting Duct
การบ้ าน
„ จงสรปการผ่
ุ านเข้ าออกของสารและลักษณะความเข้ มข้ น
ของของเหลวทีบ่ ริเวณ
… หลอดไตส่ วนต้ น
… loop of Henle
… ท่ อไตรวม และหลอดไตรวม
Counter current mechanism
„ เป็นกลไกทําให้ปส
ั สาวะมีความเข้มข้น โดยอาศย ั
ความแตกต่างของความเข้มข้น ของเนือ ้ เยือ
่ ทีไ่ ต
ั้
ชนนอก และ ไตชนในั้
„ เป็นการไหลเวียนย้อนของของเหลวและประจุตา่ งๆ
้ ท่อขาลง ของ loop of Henle และ
ระหว่างท่อขาขึน

เสนเลือด vasa recta ทีห
่ น่วยไตแบบ
juxtamedullary nephron
„ ึ
ศกษาเพิ ม ื
่ เติมจาก หน ังสอสรี
รวิทยา และคูม
่ อ
ื เรือ
่ ง
early filtrate processing
EF p20
ไต : การรักษาสมดลนํ
ุ า้
ไต : การรักษาสมดลนํ
ุ า้ ในร่ างกาย

ไต ร ักษาสมดุลของนํา้ โดยการควบคุมอ ัตราการกรอง

„ การเปลีย ้
่ นแปลงขนาดของเสนเลื
อด afferent

arteriole ทําให้มผ
ี ลต่อปริมาณเลือดในโกลเมอรูล ัส

ึ่ ่
ซงสงผลถึ
งอ ัตราการกรอง
GF p11
I. Myogenic mechanism
การเปลีย่ นแปลงขนาดเส้ นเลือด
afferent arteriole เพือ ่ ควบคมอั
ุ ตรา
การกรอง เป็ นกลไกเนื่องจากคณสมบั ุ ติ
ของกล้ ามเนือ้ เรียบทีบ่ ุผนังเส้ นเลือด
(Myogenic mechanism)

คือ เมือ่ มีแรงผลักดันภายในเส้ นเลือด


กล้ ามเนือ้ ทีผ่ นังเส้ นเลือดจะหดตัวสู้ กบั
แรงดัน ทําให้ เส้ นเลือดมีขนาดเล็กลง
GF p12
II. Tubuloglomerular mechanism
เป็นกลไกควบคุมอ ัตราการกรอง โดยมีกลุม ่ เซลล์พเิ ศษ Juxtaglomerular
apparatus ทีต ่ อบสนองต่อการเปลีย
่ นแปลงความเข้มข้นของนํา้ กรองโ ดย
การหลง่ ั สารเคมีออกมาเปลีย ้
่ นแปลงขนาดของเสนเลื อดแดงย่อย
arteriole

Juxtaglomerular apparatus
„ Macula densa cells เป็นเซลล์พเิ ศษของท่อไต สร้างสาร

vasoconstrictor มีผลให้เสนเลื
อดหดต ัว
„ ้
Juxtaglomerular cells เป็นเซลล์พเิ ศษของผน ังเสนเลื
อด

afferent arteriole สร้าง renin มีผลให้เสนเลื
อดขยายต ัว
GF p11
เมื่อนํา้ กรองมีความเข้ มข้ นสงู (high osmolarity)
„ macula densa หลง่ ั สาร vasoconstrictor มีผลให้

… ้
เสนเลื
อด afferent arteriole หดต ัว

… ปริมาณเลือดไหลเข้าโกลเมอรูล ัสลดลง

… อ ัตราการกรองลดลง

… ้
อ ัตราการไหลของของเหลวผ่านท่อไตชาลง ทําให้ม ี

การดูดซมโซเดี ้
ยมกล ับคืนมากขึน

… ความเข้มข้นของนํา้ กรองลดลง
เมือ่ นํา้ กรองมีความเข้ มข้ นตํา่ (low osmolarity)

„ maculadensa cells หลง่ ั สาร


vasoconstrictor ลดลง, ความด ันเลือด
ลดลง และ
„ กระตุน
้ juxtaglomerular cells หลง่ ั สาร
renin มีผลให้เสนเลื
้ อดขยายต ัว
ผลของ renin
„ กระตุน ึ่
้ การสร้าง angiotensin II ซงไปมี
ผลทําให้

… ้
ขนาดเสนเลื
อด efferent arteriole เล็กลง

… ปริมาณเลือดไหลออกจากโกลเมอรูล ัสลดลง

… ความด ันเลือดในโกลเมอรูล ัสเพิม ้


่ ขึน

… อ ัตราการกรองเพิม ้
่ ขึน

… กระตุน
้ การหลง่ ั aldosterone ทําให้เพิม ึ
่ การดูดซม

กล ับโซเดียม และนํา้ ทีท


่ อ
่ ไตรวม
III. Sympathetic control

ในภาวะทีร่ า ี
่ งกายสูญเสยเลื
อดมากๆ เป็นภาวะฉุกเฉินทีถ
่ งึ ตาย

ระบบประสาทซมพาธี
ตกิ จะมีบทบาทเหนือการทํางานตามปกติ
ของไต ทําให้กจ
ิ กรรมของไตลดลง คือไปมีผลทําให้


• เลือดจากไตถูกสงไปเลี
ย ้ งอว ัยวะทีส ํ ัญ
่ าค

• อ ัตราการกรองลดลง เพือ ี
่ ลดการสูญเสยของเหลวจากเลื
อด

• แต่ไม่สามารถปล่อยให้เกิดเหตุการณ์อย่างต่อเนือ
่ ง เพราะ

เกิดการสะสมของเสยในเลื
อด จึงต้องแก้ปญ
ั หา
GF p11
„ การให้ เลือดจะช่ วยให้ ความดันเลือดเป็ นปกติ
„ การทํางานประสาทซิมพาธีตกิ ลดลง
„ เส้ นเลือดแดงย่ อยมีขนาดตามปกติ
„ อัตราการกรอง และการไหลของของเหลวในท่ อไตเป็ นปกติ
การบ้ าน

„ จงสรปกลไกที
ุ ไ่ ตใช้ ในการรักษาสมดลนํ
ุ า้
ไต: การรักษาสมดลกรดด่
ุ าง
ในภาวะปกติ

„ ึ
CO2 + H2O จากการเมแทบอลิซมของเซลล์
บทุ อ
่ ไต

ึ่
ได้กรดอ่อน HCO3 ซงแตกต ัวเป็น HCO3- และ H+

„ H+ ข ับออกทีท
่ อ ่
่ ไตสวนต้
น แลกก ับการดูดกล ับ Na+

„ H+ ถูกกําจ ัดออกไปก ับนํา้ กรอง เพือ


่ ไม่สะสมเป็น

กรด
ในภาวะ acidosis
„ มี HCO3- น้อย H+ มาก ในเลือด ร่างกายมีความเป็นกรด

„ เพือ
่ ร ักษาสมดุล

่ ระแสเลือด
… HCO3- แพร่เข้าสูก

… H+ ถูกค ัดหลง
่ ั ออกไปในนํา้ กรองแลกเปลีย ึ
่ นก ับการดูดซม
กล ับ Na+

„ ผลทีไ่ ด้คอ
ื เลือดมี HCO3- เพิม ้ มี CO2 ลดลง ค่า pH ของ
่ ขึน
่ กติ
ของร่างกายกล ับสูป
ในภาวะ alkalosis

„ เป็นภาวะทีม
่ ี HCO3- ในเลือดสูง

„ ไตร ักษาสมดุลโดย

… กรองเอา HCO3- ออกไปก ับนํา้ กรอง มากกว่า

การค ัดหลง่ ั H+ เข้านํา้ กรอง

You might also like