You are on page 1of 4

ใบความรู้ ที่ 9

การลาเลียงสารในร่ างกายของสั ตว์


1. การลาเลียงสารในร่ างกายสั ตว์ ที่ไม่ มีระบบหมุนเวียนเลือด
ฟองน้า ( Sponges )
ฟองน้ ำมีกลุ่มเซลล์ทำหน้ำที่แตกต่ำงกัน แต่ยงั ไม่รวมกันเป็ นก้อนเนื้ อเยือ่ กำรลำเลียงของ
ฟองน้ ำอำศัยน้ ำที่ไหลผ่ำนเข้ำออกเซลล์ดว้ ยกำรพัดโบกของแฟลเจลลัมที่เซลล์ปอกคอ
( Choanocyte หรื อ collar cells ) พัดพำให้น้ ำไหลผ่ำนเข้ำพร้อมอำหำรและขับถ่ำยของเสี ยออกไป
พร้อมกับน้ ำที่ออกจำกตัวแก๊สออกซิ เจนและคำร์บอนไดออกไซด์ที่ผ่ำนออกล้วนปะปนไปกับน้ ำ
ทั้งสิ้น
ซีเลนเตอเรต ( Coelenterrates )
ในซีเลนเตอเรตซึ่งไฮดรำเป็ นตัวอย่ำง มีช่องแกสโทรวำสคิวลำร์ ทำหน้ำที่เป็ นทั้งทำงเดิน
อำหำรและท่อลำเลียงสำร กำรนำอำหำรเข้ำนั้นเกิดกับเซลล์เนื้ อเยือ่ ชั้นที่บุช่องแกสโทรวำสคิวลำร์
และแพร่ สู่เนื้อเยือ่ ชั้นนอก เช่นเดียวกับกำรแพร่ ของเสียจะแพร่ ออกจำกเซลล์สู่ภำยนอกโดยตรง
หนอนตัวแบน ( Flatworms )
ในพวกหนอนตัวแบน ตัวอย่ำงเช่น พลำนำเรี ย ซึ่งเป็ นสัตว์ขนำดเล็ก ถึงแม้จะมีเซลล์หลำย
ชั้นกว่ำไฮดรำก็ตำม แต่กำรแพร่ ของสำรก็ยงั ใช้กระบวนกำรเดียวกันกับไฮดรำ คือกำรแพร่ จำกเซลล์
หนึ่งไปสู่อีกเซลล์หนึ่งซึ่งอยูถ่ ดั ไป

2. การลาเลียงสารในร่ างกายของสั ตว์ ที่มีระบบหมุนเวียนเลือด แบ่ งเป็ น 2 ระบบ ดังนี้


2.1 ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิ ด ( Open circulartory system ) หมำยถึงกำรที่เลือดไม่ได้
ไหลเวียนอยู่ในหลอดเลื อ ดตลอดเวลำ แต่ปะปนกับน้ ำเหลื อ งได้ของเหลวเรี ยกว่ำ hemolymph
หรื อมี ช่อ งว่ำงสำหรับรับเลือ ดเรี ยกว่ำ hemocoel พบได้ในอำร์โทรพอด และมอลลัสก์ (ยกเว้น
หมึก หมึกยักษ์ หอยงวงช้ำง)
2.2 ระบบหมุนเวีย นเลื อดวงจรปิ ด ( Closed circulartory system ) หมำยถึงกำรที่เลื อ ด
ไหลเวียนอยูใ่ นหลอดเลือดตลอดเวลำ พบได้ในไส้เดือนดิน หมึก หมึกยักษ์ หอยงวงช้ำง และ
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
แอนเนลิด
สัตว์ช้ นั ต่ำพวกแรกที่มีกำรลำเลียงสำรโดยใช้กำรหมุนเวียนเลือด คือ ไส้เดือนดิน โดยอำศัย
หลอดเลื อดในกำรลำเลียง หลอดเลือ ดสำคัญของไส้เดื อนดิ นมีอ ยู่ 2 เส้น คือ หลอดเลือ ดด้ำนบน
( dorsal blood vessel ) และหลอดเลือดด้ำนล่ำง ( ventral blood vessel ) และมีห่วงเลือด 5 คู่ พอง
ออกรอบบริ เวณหลอดอำหำร เรี ยกห่วงเลือดเหล่ำนี้วำ่ หัวใจเทียม ( pseudoheart ) ซึ่ งสำมำรถหดตัว
ทำหน้ำที่สู บฉี ด เลื อ ดให้ไ หลเวีย นไปตำมหลอดเลื อ ดได้ และเป็ นตัวเชื่ อ มระหว่ำงหลอดเลื อ ด
2

ด้ำนบนและหลอดเลือดด้ำนล่ำง โดยหลอดเลือดทำงด้ำนบนนำเลือดจำกหำงไปทำงหัว และจะดัน


เลือดผ่ำนหัวใจเทียมลงมำสู่หลอดเลือดทำงด้ำนล่ำงซึ่งเป็ นเส้นยำวอยูใ่ ต้ทำงเดินอำหำรให้เลือดไหล
ผ่ำนไปทำงหำง จำกหลอดเลื อ ดใหญ่น้ ี มีหลอดเลื อดฝอย ( capillary ) แตกแขนงแทรกเข้ำไปสู่
เนื้อเยือ่ ในบริ เวณต่ำง ๆ ทัว่ ตัว เลือดจะไหลไปยังหลอดเลือดที่มีผนังบำงแล้วแพร่ สำรระหว่ำงเลือด
กับเซลล์หลอดเลือดฝอยต่ำง ๆ จะรวมกันจำกเนื้อเยือ่ เข้ำสู่หลอดเลือดที่มีขนำดใหญ่ข้ ึนเข้ำสู่ หลอด
เลือดทำงด้ำนบน ซึ่ งเป็ นเส้นยำวเหนื อทำงเดินอำหำร เมื่อหลอดเลือ ดทำงด้ำนบนบีบตัว เลือดจะ
ไหลไปทำงด้ำนหัวเมื่อถึงหัวใจเทียมเลือดจะไหลลงสู่หลอดเลือดด้ำนล่ำงต่อไป
อาร์ โทรพอด
เลือดของแมลงสำมำรถไหลออกนอกหลอดเลือดแทรกซึมเข้ำสู่เนื้อเยือ่ ได้เองโดยไม่ตอ้ งมี
หลอดเลือดฝอยนำไป เลือดที่เลี้ยงเนื้ อเยือ่ แล้วจะไหลกลับสู่ หัวใจ โดยกำรหดตัวและคลำยตัว
ของกล้ำมเนื้อลำตัว
กำรหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิ ดและแบบวงจรปิ ดต่ำงกันดังนี้
กำรหมุนเวียนเลือดแบบวงจรเปิ ด เลือดไหลผ่ำนจำกหัวใจไปตำมหลอดเลือดแล้วไหลออก
จำกหลอดเลื อดแทรกเข้ำช่ อ งว่ำ งสำหรับรับ เลื อ ดหรื อ ฮี โมซี ล (hemocoel) แล้ว ส่ งเข้ำสู่ เนื้ อ เยื่อ
โดยตรง เมื่อผ่ำนไปเลี้ ยงเนื้ อ เยือ่ ต่ำง ๆ ในลำตัวแล้วไหลกลับเข้ำหัวใจอี กครั้งด้วยกำรบีบตัวของ
กล้ำมเนื้อลำตัวและกำรคลำยตัวของหัวใจ ทั้งนี้อำจผ่ำนเหงือกเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส หรื อมีระบบนำ
แก๊สส่งไปแลกเปลี่ยนที่เนื้อเยือ่ โดยตรงก็ได้
ส่วนกำรหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิ ด หมำยถึง กำรหมุนเวียนของเลือด เมื่อออกจำกหัวใจ
มีหลอดเลื อดขนำดใหญ่รับออกไปแล้วส่ งไปตำมหลอดเลื อดขนำดเล็กลงจนถึงหลอดเลื อดฝอย
ส่งไปยังเนื้อเยือ่ แต่หลอดเลือดไม่ได้สัมผัสเนื้ อเยือ่ โดยตรง ใช้กำรแพร่ สำรเข้ำออกจำหลอดเลือด
ฝอย จำนั้นไหลกลับเข้ำหลอดเลือดขนำดใหญ่ข้ นึ จนกระทัง่ กลับเข้ำหัวใจอีกครั้ง กำรหมุนเวียนเกิด
โดยกำรบีบตัวของกล้ำมเนื้ อหัวใจ ส่ วนกำรแลกเปลี่ ยนแก๊สอำจเกิดก่ อนเลือดโดยกำรบีบตัวของ
กล้ำมเนื้ อหัวใจ ส่ วนกำรแลกเปลี่ยนแก๊สอำจเกิดก่อนเลื อดหมุนเวียนเข้ำหัวใจหรื อหลังจำกผ่ำน
หัวใจออกมำแล้ว แล้วแต่ชนิดของสัตว์น้ นั ๆ
สั ตว์ มีกระดูกสั นหลัง
ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีระบบหมุนเวียนเลือดเป็ นระบบปิ ด
ปลา
ปลำมี ระบบหมุ น เวีย นเลื อดระบบปิ ด โดยมี หัว ใจสองห้อ งคือ ห้อ งบน เรี ยก เอเตรี ย ม
(atrium) และห้องล่ำงเรี ยก เวนตริ เคิล (ventricle) เลือดที่ไหลผ่ำนหัวใจปลำมีแต่เลือดเสี ย หรื อเลือด
ที่มีอ อกซิ เจนน้อย เมื่ อเลื อดไหลจำกเอเตรี ยมเข้ำสู่ เวนตริ เคิล บีบตัว เลื อดจะส่ งไปยังหลอดเลือ ด
บริ เ วณเหงื อ ก เพื่อ ท ำกำรแลกเปลี่ ย นแก๊ ส กับ น้ ำ ที่ อ ยู่ร อบ ๆ เหงื อ ก จำกนั้น เลื อ ดที่ มี ป ริ ม ำณ
ออกซิเจนมำกจะถูกส่งไปเลี้ยงส่วนต่ำง ๆ ของร่ ำงกำย พร้อมกับปล่อยอำหำรและออกซิ เจนให้กบั
3

เนื้ อเยื่อต่ำง ๆ ที่หลอดเลื อดฝอยผ่ำน หลอดเลือดที่อ อกจำกเนื้ อเยือ่ ต่ำง ๆ จึงมีออกซิ เจนน้อยกว่ำ
และหมุนเวียนกลับสู่เอเตรี ยมอีกครั้งวนเวียนอยูเ่ ช่นนี้ตลอดไป
ระบบหมุนเวียนเลือดของปลำมีท้งั ที่เหมือนและแตกต่ำงจำกระบบหมุนเวียนเลือดของ
ไส้เดือนดิน คือ ส่วนที่เหมือนคือเป็ นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิ ด แต่ที่ต่ำงกันคือปลำมีหวั ใจที่
แท้จริ งแล้ว สำมำรถทำงำนด้วยกล้ำมเนื้อหัวใจ แตกต่ำงจำกหัวใจเทียมของไส้เดือนดินที่เป็ น
ทำงผ่ำนของเลือดเท่ำนั้น แต่กำรไหลเวียนของเลือดขึ้นกับกำรบีบตัวของกล้ำมเนื้ อทัว่ ตัว
สั ตว์ ครึ่งน้าครึ่งบก
สัตว์ครึ่ งน้ ำครึ่ งบกมีหวั ใจ 3 ห้อง หัวใจห้องบนหรื อเอเตรี ยมแบ่งออกเป็ น 2 ห้อง คือ ห้อง
ซ้ำยและห้องขวำ ส่ วนเวนตริ เคิลหรื อห้องล่ ำงมี เพียงห้องเดียวเลือ ดที่ไ หลกลับมำจำกส่ วนต่ำง ๆ
ของร่ ำงกำยเป็ นเลื อ ดที่มีอ อกซิ เจนน้อ ย เข้ำ สู่ ห้อ งบนขวำหรื อ เอเตรี ยมขวำ ส่ วนเลื อ ดที่ไ ด้รั บ
ออกซิเจนจำกกำรแลกเปลี่ยนแก๊สที่ปอดหรื อผิวหนังจะเข้ำสู่ หัวใจห้องเอเตรี ยมซ้ำย เมื่อเลือดไหล
ลงสู่เวนตริ เคิลบำงส่ วนของเลือดจะปะปนกัน เมื่อเวนตริ เคิลบีบตัวเลือดดีจะไหลไปเลี้ยงส่ วนหัว
เลื อ ดผสมจะไปเลี้ ยงส่ วนต่ำง ๆ ของร่ ำงกำย ส่ วนเลื อ ดเสี ยจะถู กส่ งไปยังปอดหรื อ ผิวหนังเพื่อ
แลกเปลี่ยนแก๊สให้กลำยเป็ นเลือดที่มีออกซิเจนมำกกลับเข้ำสู่หอ้ งเอเตรี ยมซ้ำยอีกครั้ง
กำรหมุนเวียนเลือ ดของสัตว์ครึ่ งน้ ำครึ่ งบกแตกต่ำงจำกสัตว์อื่นที่หัวใจมี 3 ห้อง เลือดที่มี
ออกซิเจนมำกและน้อยมีโอกำสปะปนกัน เพรำะเลือดจำกเอเตรี ยมซ้ำยและขวำไหลลงมำรวมกันที่
เวนตริ เคิล แต่เนื่องจำกลิ้นที่ก้ นั ระหว่ำงเอเตรี ยมซ้ำยและเวนตริ เคิลกับลิ้นที่ก้ นั ระหว่ำงเอเตรี ยมขวำ
กับเวนตริ เคิลปิ ด – เปิ ดไม่พร้อมกัน เมื่อเวนตริ เคิลบีบตัวเลือดที่มีออกซิ เจนน้อยถูกส่ งออกไปก่อน
และเข้ำไปในโคนัสอำร์เทอริ โอซัส ( conus arteriosus ) ซึ่ งมีลิ้นกั้นอยูช่ ่วยแยกเลือดให้ส่งไปปอด
และผิวหนังเพือ่ ไปรับออกซิเจน ส่วนเลือดที่มีออกซิเจนมำกจะเข้ำหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงส่วนหัวและ
เลือดผสมไปเลี้ยงร่ ำงกำย
สั ตว์ เลื้อยคลาน
สัตว์เลื้ อยคลำนมีหัวใจ 4 ห้องไม่ สมบูรณ์ คือมี เอเตรี ยม 2 ห้องและเวนตริ เคิล 2 ห้อง แต่
ผนังกั้นเวนตริ เคิลยังไม่สมบูรณ์ ยกเว้นจระเข้ที่มีผนังกั้นเวนตริ เคิลสมบูรณ์ เลือดดีจำกเอเตรี ยมซ้ำย
กับเลือดเสียจำกเอเตรี ยมขวำจะไหลปะปนกันในเวนตริ เคิลได้เล็กน้อย เลือดดีที่มีเลือดเสี ยผสมอยู่
บ้ำงจะไปเลี้ยงร่ ำงกำยแล้วกลับเข้ำสู่เอเตรี ยมขวำ ส่วนเลือดเสียจะออกจำกเวนตริ เคิลไปฟอกที่ปอด
นกและสั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยน้านม
นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ ำนมมีหวั ใจ 4 ห้องสมบูรณ์ คือ เอเตรี ยม 2 ห้อง และเวนตริ เคิล 2
ห้อง เลือดดีจะเข้ำเอเตรี ยมซ้ำยไปสู่เวนตริ เคิลซ้ำยออกไปเลี้ยงร่ ำงกำย ส่ วนเลือดเสี ยจะเข้ำเอเตรี ยม
ขวำลงสู่เวนตริ เคิลขวำไปฟอกที่ปอดให้เป็ นเลือดดีกลับเข้ำเอเตรี ยมซ้ำยอีก
4

You might also like