You are on page 1of 14

Teacher: Upa Kukongviriyapan, Ph.D.

Date: 04th September 2018


Time: 15.00 – 16.00 am By: curacao-min & peakruji
Head: Milk & Maya

วัตถุประ งค์ Arterial and Venous System

นัก ึก า ามารถอธิบาย
1. The blood vessels and the cardiovascular system 3. The Venous system
2. The arterial system - General properties
- Arterial blood pressure - Factors affecting venous return
- Measurement - Central venous pressure
- Determinants of the mean arterial blood pressure

Overview

• Arteries นาเลือดออกจาก ั ใจ
• Veins นาเลือดกลับ ู่ ั ใจ
• ลาดับการไ ลเ ยี นเลือด Arteries arterioles capillaries venules vein

Pulmonary Circulation Systemic Circulation


เป็นการนาเลือดไปยังปอด เป็นการนาเลือดไปยัง ่ น
เพื่อแลกเปลี่ยนออกซิเจน ต่างๆ ของร่างกาย เกิดจาก
เกิดจากการบีบตั ของ Right การบีบตั ของ Left
Ventricle Ventricle

• Heart ทา น้าที่ pump เลือดไปยังอ ัย ะต่างๆ ของร่างกายผ่านระบบของ ลอดเลือด


• Blood pressure (ค ามดันโล ิต) ของ pulmonary circulation จะต่าก ่าของ systemic
circulation ประมาณ 3-4 เท่า ดังนั้น เ ลาเรา ัดค ามดันโล ิต คือเรา ัดค ามดันของ
systemic circulation
Overview (ต่อ)

Blood vessels ลอดเลือด

Blood vessels structure โครง ร้างของ ลอดเลือด

• Blood vessels แต่ละชนิดมี diameter รือเ ้นผ่าน ูนย์กลาง ( รืออีกนัยนึง ค ามก ้างของ
lumen) และค าม นาของผนังไม่เท่ากัน โดยที่ vein จะมี diameter มากก ่า (lumen ใ ญ่) และมี
ผนังบางก ่า artery เกิดจากการที่ vein มี elastic tissue และ smooth muscle ในชั้น tunica
media น้อยก ่า artery
• ภาพบน Capillaries มีผนังบางมาก เนื่องจากมี endothelial cells เรียงตั ชั้นเดีย ทาใ ้ ามารถ
เกิด diffusion และการแลกเปลี่ยน ารได้ง่าย อีกทั้งยังมี lumen เล็กมากขนาดที่เม็ดเลือดแดงต้อง
ผ่านทีละเซลล์ การไ ลเ ียนเลือดบริเ ณนีเ้ รียก ่า microcirculation
ผนัง ลอดเลือดประกอบด้ ย 3 ชั้น
1. Tunica intima เป็น single layer of
endothelium cells อยู่ติดกับ lumen
2. Tunica media มี elastic lamina
ประมาณ 20 ชั้นในมนุ ย์ เป็นการเรียง
ลับของ elastic tissue และ smooth
muscle
- ยิ่งชั้น lamina นา ลอดเลือดยิ่งมีค ามแข็งแรงมาก
- Elastic tissue เ ริมค ามยืด ยุ่น (elasticity) ใ ้แก่
ลอดเลือด
- การที่มี smooth muscle จะทาใ ้ ามารถค บคุมการ ดตั และคลายตั ของ ลอดเลือดได้ จะ
มาก รือน้อยก็ขึ้นอยู่กับชนิดของ ลอดเลือดนั้น
Conducting artery Muscular artery
• Blood vessels ขนาดใ ญ่(large artery)-กลาง • Small artery และ arterioles มี elastic tissue
• มี elastic and smooth muscle มาก ทา น้าที่ น้อย รือไม่มีเลย แต่ยังคงมี smooth muscle
ขน ่งเลือด (conduct) ออกจาก ั ใจ อยู่ ทาใ ้ ลอดเลือด ามารถ ดตั ได้รุนแรงมาก
• aorta และ ลอดเลือดที่ ามารถคลา pulse ได้ ค บคุมการไ ลเ ียนเลือดไป ู่ tissue ได้มาก
ทั้ง มด เช่น brachial a., radial a., femoral • ยาที่มีผลต่อการขยาย รือ ดตั ของ arteriole
a., carotid a. จะถือ ่าค บคุม resistance (การต้านทาน) ของ
• อาจเรียก ่า elastic a., conduit a. การไ ลเ ียนเลือด
3. Tunica adventitia ชั้นนอก ุด มี fibrous tissue และ fibroblast
Blood vessels (ต่อ) ลอดเลือด

Types of Blood vessels ชนิดของ ลอดเลือด

• Arteries: Blood from heart นาเลือดออกจาก ั ใจ


- Strong and Elastic: มีค ามแข็งแรงและยืด ยุ่นจากการที่มี elastic tissue มาก ทา
ใ ้เกิด elastic recoil (การบีบ ดตั ) ได้ดีแล้ เกิดคลื่นการไ ลเ ียนเลือดไปบริเ ณ ่ นปลาย
- Conduct blood to capillaries
- Sphincters: บริเ ณ ่ นปลายๆ artery คือพ ก metarteriole (เชื่อม artery-
capillary) จะมี sphincter คอยปล่อยเลือดเข้า ู่ ลอดเลือดฝอย
• Capillaries: exchange with cells
• Veins: Return blood to heart เช่น superior vena cava, inferior vena cava
- Valves เป็น one-way valve ทาใ ้เลือดดาไ ลเ ียนทางเดีย ไม่ย้อนกลับ และ
ามารถกลับเข้า ู่ ั ใจได้ รือเรียก ่า เพิ่ม venous return
- มี Elastic tissue และ smooth m. น้อยก ่า เพราะผนังบางก ่า

The Arterial System ัตถุประ งค์ที่ 2

Functions of Arteries น้าที่ของ ลอดเลือดแดง

Muscular a. • Conduits ขน ่งเลือดไป ลอดเลือด ่ นปลาย


- พ ก conducting artery เช่น femoral a., carotid a.
- มีการ expand (ขยายตั ) & recoil ( ดตั กลับ) ตาม
จัง ะบีบ-คลายตั ของ ั ใจ เพื่อค บคุมใ ้เลือดไม่ไ ลเร็ เกินไป
เดี๋ย จะพูดอีกที
• Elastic reservoirs or “buffers”
Conducting a. - ด้ ยค ามที่ ลอดเลือดไม่ได้ตรงตลอด เ ลาเลือดถูกขน ่ง
aorta ไปเรื่อยๆ อาจไปกระทบกับมุมแล้ เกิดคลื่น ะท้อนกลับได้ แต่ด้ ย
ค ามที่ ลอดเลือดพ กนี้มี elasticity ูง ก็พอจะชดเชยได้และถูก
ใ ้มองเป็นต้นไม้ จาก aorta แล้ ค่อยๆแตก
กลบด้ ยคลื่น diastole ก่อนที่จะไปกระแทก ั ใจ
แขนงออกไป
w to get steady flow
เป็นการช่ ยใ ้ ั ใจไม่ทางาน นักเกินไป (Minimise cardiac work) ถ้านึกภาพไม่ออก ไปดู น้า8
- การบีบตั และคลายตั ของ ั ใจ ัมพันธ์กับการ expand และ recoil ของ artery ช่ ยลดการทางานของ
ั ใจ และลด pulse pressure
Functions of Arteries (ต่อ) น้าที่ของ ลอดเลือดแดง

• Control flow according to demand ค บคุมปริมาณเลือดได้


- Resistance vessels คือ arteriole ทา น้าที่เป็น local control การไ ลเ ียนเลือดไป ู่
tissue
- มมติ ่า ไปออกกาลังกายมา เลือดก็ต้องไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมากๆ arteriole ก็จะคลายตั
เพื่อลด resistance ทาใ ้เลือด ามารถไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมากขึ้นได้
2

1• Heart ทา น้าที่ pump เลือดออกจาก ั ใจ ั ใจที่ดีต้อง ้าม งเลือด คือต้องเอาออกไปมากๆ


แต่ก็ต้องมีเ ลือบ้าง แ ้งไปเลยไม่ได้ โดย Cardiac output = HR (heart rate) x stroke
volume าก ั ใจไม่ทางาน เลือดจะคั่งใน ั ใจ ั ใจ าย (heart failure)
- Resting stage ั ใจทางานช้า
- Exercise ั ใจทางานมาก Cardiac output เพิ่ม
2• Conduit arteries (conducting artery) ขน ่งเลือดไปยัง ลอดเลือด ่ นปลาย มีคุณ มบัติ
ในการ expand & recoil อย่าง ัมพันธ์กับ cardiac cycle ลด cardiac work ลด pulse
pressure
- Pulse pressure = systolic pressure – diastolic pressure ซึ่งมี elasticity (ค าม
ยืด ยุ่น) , capacitor (ค ามจุ) เป็นตั กา นด โดย pulse pressure ยิ่งมีค่ามาก ค ามยืด ยุ่นและ
ค ามจุของ large arteries ก็ยิ่งน้อย
3• Peripheral arteries (muscular arteries) มี resistance โดย resistance นี้เองที่มีผลต่อ
Mean pressure ถ้า resistance มาก Mean pressure จะ ูง เพราะมีตั ต้านทานไม่ใ ้เลือด
flow ไป

ั ใจที่ดี ้าม งเลือด แต่ งเธอได้ รือเปล่า?


Blood Pressure

• ความดันเลือด (BP) รือ ค ามดันเลือดแดง เกิดจากการบีบตั ของ ั ใจ ้องล่าง (ventricular


contraction) ซึ่งเป็นแรงขับเคลื่อน (driving force) เลือดเข้า ู่ระบบ มุนเ ียนเลือด
• แบ่งเป็น 2 ฝั่ง
- Right ventricular contraction: pulmonary valve เปิด และ ่งไปปอด เรียก ่า
pulmonary circulation
- Left ventricular contraction: aortic valve เปิด และ ่งไป aorta และร่างกายต่อไป
เรียก ่า systemic circulation
• การที่เลือดจะไ ลไปได้ต้องมี pressure gradient (ค ามต่างของค ามดัน) เช่น ที่ ั ใจด้านซ้าย
ค ามดันที่ left ventricle จะต้องมากก ่า proximal aorta เลือดถึงจะถูก ่งไปได้
BP Generated by ventricular contraction

Ventricular contraction •1 Ventricle บีบตัว


•2 Semilunar valve เปิด (valveที่ไม่ได้
กั้นatrium & ventricle คือ aortic &
pulmonary valve)
•3 Aorta และ arteries ขยายตัว
(expand) เพื่อรองรับเลือดจากเ ้นประ
เมื่อรับเลือดแล้ ค ามดันบริเ ณนี้จะ
เพิ่มขึ้น (systolic P)
Ventricular relaxation
1• Ventricle คลายตัว
2• Semilunar valve ปิด
3• Artery recoil กลับ เลือดข้าง
ในก็จะ ่งต่อไปยัง ่ นต่างๆ
ของร่างกาย ค ามดันบริเ ณนี้
จะลดลง (diastolic P)

จะเ ็น ่า ั ใจและ ลอดเลือดจะทางาน ัมพันธ์กัน ถ้า ั ใจ ด ลอดเลือดคลาย ถ้า ั ใจคลาย


ลอดเลือด ด ลับกันแบบนี้ไปเรื่อยๆ เ มือนลูกคลื่น
เรียก ่า pulse supply flow
Blood Pressure (ต่อ)

Types of pressure ชนิดของความดัน


• Systolic blood pressure (SP)
- คือ ค ามดัน ูง ุดใน ลอดเลือดแดงขณะที่ ั ใจ ้องล่างบีบตั (ventricular systole รือ
ventricular contraction)
• Diastolic blood pressure (DP)
- คือ ค ามดันต่า ุดใน ลอดเลือดแดงขณะที่ ั ใจ อ้ งล่างคลายตั (ventricular diastole
รือ ventricular relaxation)
การรายงานผลค ามดันโล ิต จึงประกอบด้ ยตั เลข 2 ตั เ มอและมี น่ ยเป็น mmHg
โดยจะบันทึก Systolic pressure (SP) เป็นตั แรก ่ น Diastolic pressure (DP) จะบันทึกเป็นตั
ลัง
โดยปกติจะมีค่า BP=120/80 mmHg

• Pulse pressure (PP)


- คือ ผลต่างของ SP และ DP
Pulse pressure = SP –DP
- เป็นตั บ่งบอก ่า ลอดเลือด ามารถ expand & recoil ดีแค่ไ น (compliance) ปกติมีค่า
30-50 mmHg
ถ้ามากก ่า 50 ถือ ่าเป็น ลอดเลือดแข็ง (Atherosclerosis) ลอดเลือด ดตั คลายตั ไม่ดี
ถ้าน้อยก ่า 30 อาจอนุมานได้ ่าเกิดภา ะ shock รือ hypotension
• Mean arterial pressure (MAP)
- เป็นค ามดันเลือดเฉลี่ยใน 1 cardiac cycle
- มีค่าใกล้เคียงกับ DP มากก ่า เนื่องจากระยะของ DP ยา นานก ่า SP ดังนั้น เ ลาคิด ้าม
เอาบ กกัน าร องนะเออ

Mean arterial pressure (MAP)


MAP = DP + 1/3(SP -DP)

มมติ ่ามีค ามดัน 120/80 mmHg MAP = 80 + 1/3(120-80) = 93.33 mmHg


Types of pressure (ต่อ) ชนิดของความดัน

• ใน Resting stage ถ้า BP ≥140/90 mmHg ถือ ่าเป็น ค ามดันโล ิต ูง (Hypertension)


Factors effecting BP

• Age คน ูงอายุมีค ามดัน ูงก ่าคน นุ่ม า

• ช่ งอายุ 20-60 ปี DP เปลี่ยนแปลงน้อยมาก


SP เพิ่มขึ้นเล็กน้อยตามอายุ
• จะเ ็น ่า ยิ่งอายุมากขึ้น ค ามก ้างของ
pulse pressure ก็มากขึ้น
• SP ูงขึ้นเนื่องจาก elastic tissue ทางานไม่
ดี compliance ของ ลอดเลือดจึงลดลง

• เชื้อชาติ คนผิ ีจะมีค ามดัน ูงก ่าคนผิ ขา และผิ เ ลือง


• Sex ผู้ชายมีค ามดัน ูงก ่าผู้ ญิง
• Weight คนอ้ นมีค ามดัน ูงก ่าคนผอม
• Socioeconomic status พ กคนที่มีฐานะทาง ังคมดีมีค ามดัน ูง อาจเพราะ
ค ามเครียด
• Activity โดยเฉพาะตอนประชุม ค ามดันยิ่ง ูง
• Posture ตอนยืน บริเ ณต่าก ่า ั ใจมีค ามดัน ูงก ่าเ นือ ั ใจ เพราะแรงโน้มถ่ ง แต่
ท่านอน ค ามดันบริเ ณเ นือและต่าก ่า ั ใจจะพอๆกัน
• stress ยิ่งเครียดค ามดันยิ่ง ูง
Measurements of arterial BP

Direct method Arterial catheterization

• เป็น ิธี ัดโดยตรง โดยการ อด าย นเข้าไปใน ลอดเลือดที่ต้องการ ัด


• มีค ามแม่นยามากๆ แต่ค ามเ ี่ยง งู จึงนิยมใช้ในงาน ิจัย, Intensive care unit (ICU),
การผ่าตัด ั ใจ
Direct method (ต่อ) Arterial catheterization

ลุม incisura Dicrotic notch • Dicrotic notch เกิดจากการที่


aortic valve ปิด เลือดเลยไ ล
ไม่ smooth เพราะเลือดไป
กระแทกกับผนังของ valve เกิด
Systole Diastole reflected wave กลับเข้า ั ใจ
ถ้า อด าย น ่างจาก ั ใจ
มากๆ dicrotic notch ก็จะต่าลง
เรื่อยๆ

พื ้นที่ได้ กราฟ
Mean arterial pressure (MAP) =
‫ݐ‬2−‫ݐ‬1
• ช่ ง Diastole จะยา ก ่า Systole ทาใ ้ ั ใจได้รับเลือดอย่างเพียงพอในช่ งที่คลายตั โดย
- ในช่ ง systole: เ ลา aortic valve เปิด valve จะไปกดทับ coronary sinus เลือดไป
เลี้ยง ั ใจน้อยลง
- ในช่ ง diastole: aortic valve ปิด coronary sinus ไม่ถูกกดทับ เลือดไปเลี้ยง ั ใจได้
• คนที่มี ลอดเลือด ั ใจแข็ง (artherosclerosis)
จะเกิด reflected wave เร็ ก ่าปกติ (ปกติเกิดช่ ง
early diastole แต่ดันไปเกิดใน late systole)
forward wave จะไปทับกับ reflected wave
่งผลใ ้ systole ยา นานขึ้น, diastole ก็ ั้นลง ทา
ใ ้ ั ใจได้รับเลือดไม่เพียงพอ ทาใ ้มีโอกา เกิด
Ischemic heart disease, coronary heart
disease ได้มากขึน้ (มักพบในผู้ ูงอายุ)

ใกล้ ั ใจ
• จากภาพ จะพบ ่ายิ่ง ลอดเลือดอยู่ไกลจาก ั ใจมาก
มันจะยิ่งไม่ค่อยได้รับอิทธิพลจาก cardiac cycle
ดังนั้น จึงนิยม อด าย นเพื่อ ัด BP ใน
conducting artery ( ลอดเลือดที่คลา Pulse ได้)
ไกล ั ใจ
1 2
Indirect method Sphygmomanometry

อุปกรณ์ที่ใช้
•1 Stethoscope
•2 Sphygmomanometer
แขนต้องอยู่ระดับเดีย กับ
ั ใจ ัดที่ต้นแขน
โดยตรง ้ามผ่านเนื้อผ้า
Subject จะต้องผ่อนคลาย เด็กที่ ตอนปล่อยลมออกจาก
ัดค ามค ามดันได้ต้องอายุ cuff ต้องปล่อยในอัตรา
มากก ่า 5 ปี (ต่าก ่านั้นไม่ใ ้ 2-3 mm/sec เ ียงแรก
ค ามร่ มมือ ใช้ ultrasound เป็น systolic เ ียง
แทน) ุดท้ายเป็น diastolic

Cuff bladder (ถุงลม) ต้องมีค ามยา ≥ 80% ของรอบ งแขน


ค ามก ้าง ≥ 40% ของรอบ งแขน
ขั้นตอนละเอียดไปอ่านในแลปเอานะ
1. Palpatory method รือ การคลาชีพจร เ ลาคลา pulse ใ ้ใช้นิ้ ชี้และนิ้ กลาง
้ามใช้นิ้ โป้งเพราะจะ ับ นกับชีพจรของนิ้ โป้ง
› ัดได้เฉพาะ SP และไม่ค่อยแม่นยา
› มือ นึ่งคลาชีพจรที่ radial a. ที่ข้อมือข้างเดีย กันกับที่พัน pressure cuff
› มืออีกข้างบีบ rubber bulb ไปเรื่อยๆ จนไม่รู้ ึกถึง pulse แล้ บีบเพิ่มต่อไปอีก 20 mmHg
› จากนั้นค่อยๆ ปล่อยลม โดยปล่อยในอัตรา 2-3 mmHg/sec เพื่อค ามแม่นยา
› ค่าค ามดันที่คลา pulse ได้ครั้งแรก คือค่า SP
› SP ที่ได้ + 20 = MIL (Maximum inflation level) จะเอาไปใช้ในขั้นตอนต่อไป
2. Auscultatory method รือ การฟังเ ียงการไ ลปั่นป่วนของเลือด
› โดยปกติเลือดจะไ ลเป็น Laminar flow คือ ไ ลเป็นระเบียบ จะไม่ได้ยินอะไร แค่รู้ ึก ่าตุ๊บๆ จาก
การ ดตั ของ ั ใจ ถ้าได้ยินเ ียงแ ดง ่า ลอดเลือดนั้นผิดปกติ
› เราต้องการ ัดเลือดใ ้ได้ยนิ เ ียง เราจึงต้องทาใ ้มันเกิดการไ ล นของเลือดแบบไม่เป็นระเบียบที่
เรียก ่า Turbulent flow ทาใ ้เกิดเ ียงที่เรียก ่า Korotkoff sound
› ลักการ คือ เมื่อพัน pressure cuff รอบต้นแขนแล้ อัดลมไปจนถึง MIL (Maximum inflation
level) แล้ ค่อยๆ ปล่อยลมออกและฟัง Korotkoff sound ที่ brachial a.
- ถ้าไม่มีการ ัด MIL แล้ อัดลมไปมากๆ เลย เช่น อัดไปเล้ยยยย 200 mmHg อาจเกิด
pseudohypertension เนื่องจาก ลอดเลือดจะเกิด vasoconstriction อย่างรุนแรง
Indirect method Sphygmomanometry

ขอบล่างอยู่เ นือข้อ
พับอย่างน้อย 1 นิ้ มมติ ่า SP=120 อัดลมเข้า cuff จนถึง MIL (ใน
ที่นี้คือ 140 mmHg) ถ้าฟังเ ียงจะไม่ได้ยินอะไร

ค่อยๆ ปล่อยลมออกในอัตรา 2-3 mmHg/s จนได้


ยินเ ียงแรก นั่นคือ SP และเ ียง ุดท้ายคือ DP

เมื่อลมออกจนค ามดันต่าก ่าค่า DP ก็จะไม่ได้ยิน


Rubber bulb เ ียงอะไรอีก เพราะ ลอดเลือดคลายตั มบูรณ์แล้

• Korotkoff sound มี 5 เฟ
เฟ ที่ 1 : ได้ยินเ ียงตุบ้ ครั้งแรก แ ดง ่า ลอด
เลือดเริ่มเปิดแล้ เ ียงจะแ ลมและ ั้น ค่าที่ได้
คือ SP
เฟ ที่ 2,3 : เ ียงเริ่มทุ้มและดังขึ้น เพราะ ลอด
เลือดเปิดมากขึ้น
เฟ ที่ 4 : เ ียงแผ่ ลง
เฟ ที่ 5 : เ ียง ุดท้ายก่อน ายไป ค่าที่ได้คือ DP
** เราต้อง detect เ ียง phrase 1 และ 5 ใ ้ได้ **

Accurate and reliable Reading (การวัดใ ้แม่นยา)


• ไม่ค รกินชา, กาแฟ รือ ูบบุ รี่ (พ กที่กระตุ้น ANS) อย่างน้อย 30 นาทีก่อนการตร จ
• ใ ้พัก 5 นาที ก่อนการตร จ
• ขนาดของ cuff bladder ต้องเ มาะ ม
• ใ ่ cuff ใ ้ถูก ิธี
• ต้อง ัด MIL ก่อน (SP จากการคลาชีพจร + 20 mmHg)
• าง stethoscope ใ ้ถูกที่
• ค รตร จ ัดอย่างน้อย 2 ครั้ง ถ้า 2 ครั้งต่างกันมากก็ทาครั้งที่ 3
BP Measurements

In-office/In-hospital โรงพยาบาล/คลินิก

• ดั อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้ง า่ งกันอย่างน้อย 5 นาที ถ้า 2 ครั้งต่างกันมากก็ทา


ครั้งที่ 3
• ปกติแล้ ค ามดันที่แขนทั้ง 2 ข้างจะไม่เท่ากัน แต่ไม่ค รต่างกันเกิน 20 mmHg เ ลา
แพทย์ตร จ ัดผลคนเป็นค ามดัน ูงจะใช้ข้างที่มีค ามดันมากก ่า

Ambulatory BP Monitoring

• เป็นการ ัดค ามดันที่มีเครื่องมือติดกับตั คนไข้ตลอด 24


ชั่ โมง
• ลดปัญ า white-coat hypertension ได้ (คนไข้บางคน
กลั มอ กลั โรงพยาบาล ค ามดันเลือดที่ได้จึงมัก ูงก ่า
ค ามเป็นจริง)
• ใช้ตร จ ่าค ามดันตอนตื่นและ ลับเป็นอย่างไร ในคนที่เป็น
ค ามดัน ูง ตอนตื่นจะมีค ามดันมากก ่า 135/85 mmHg
่ นตอน ลับจะมีค ามดันมากก ่า 120/75 mmHg
• ปกติแล้ ค ามดันจะลดลงประมาณ 10-20% ตอน ลับ ถ้า
ไม่ลดแ ดง ่ามีอัตราเ ี่ยงต่อการเป็นโรค ั ใจ
Self-Measurement of BP

• คือการ ัดค ามดันเองที่บ้าน แต่ไม่ได้ ัดตลอดเ ลา แค่ ัดตามเ ลาที่แพทย์ ั่งก็พอ


ดังนั้น ถ้า ัดเองที่บ้าน ค่า BP จะน้อยก ่า ัดที่คลินิก เพราะคนไข้จะไม่มีค ามกลั รือตื่นเต้นใน
การเจอ มอ
ถ้า ัดได้ค่า BP≥135/85 mmHg ถือ ่ามีค ามเ ี่ยงเป็น Hypertension
ฮั๋
Arterial BP Regulation การควบคุมความดันเลือด

• Physiological factors
MAP = CO ×Rarteriole จากกฎของโอ ์ม V = IR
MAP = Mean arterial Pressure
CO = Cardiac Output (CO = HR x Stroke volume)
Rarteriole = peripheral resistance (ขึ้นกับ diameter ของ arteriole)

• Physical factors
- Arterial compliance: ค ามยืด ยุ่นของ ลอดเลือด (ถ้า compliance แย่ BP ูง)
- Total blood volume: ปริมาตรเลือดภายในระบบ

CO = heart rate x Peripheral resistance


stroke volume

ถ้าน้าคั่งในไต ค ามดันเลือดจะ
ูงขึ้น เนื่องจากปริมาตรเลือดมาก

“คนจาน นมากไปไม่ถึงค ามฝัน มิใช่เพราะพ กเขาอ่อน


ด้อยก ่าคนอื่น ากเพราะพ กเขาทิ้งค ามอดทนไ ้กลาง
ทางต่าง าก”
The Venous system

General properties ลักษณะทั่วไป

• Vein มีผนังบางมาก lumen เลยก ้าง ทาใ ้เก็บเลือดได้ดีก ่า artery


• Vein ถือ ่าเป็น capacitance vessel (กักเก็บเลือด) เลือดในระบบมากก ่าครึ่ง (54%) อยู่
ใน venous system

Venous Return การนาเลือดกลับสู่หวั ใจ

• นาเลือดกลับ ู่ ั ใจโดยลาเลียงโดย vein


• Venous pressure เป็นแรงที่ทาใ ้เลือด ามารถกลับ ู่ ั ใจได้

Factors ปัจจัยที่มีผลต่อ venous return

(1) The circulating blood volume: ถ้าปริมาตรเลือดในระบบมาก venous return ก็มาก


(2) Venomotor tone: ถ้า venoconstriction ดี เลือดก็กลับเข้า ู่ ั ใจได้ดีขึ้น
(3) Vis a tergo (‘force from behind’)
arteriolar dilatation (arterioleขยายตั ) capillary pressure เพิ่ม Venous
pressure เพิ่ม Venous return เพิ่ม
(4) The skeletal muscle pump กล้ามเนื้อลาย ดตั ช่ ยไล่เลือดกลับ ู่ ั ใจ โดยเฉพาะ
กล้ามเนื้อน่อง ถ้านั่งนานๆ ขาจะบ ม เพราะเลือด return กลับไม่ดี
(5) The action of the heart ถ้า ั ใจ ด-คลายตั ได้ดี เลือดก็จะถูกเอากลับได้ดี
(6) The myocardium and pericardial sac ากมีเลือดคั่งในเยื่อ ุ้ม ั ใจ รือfaggot
เยื่อ ุ้มปอด
จะทาใ ้ขนาด chamber ของ ั ใจเล็กลง ่งผลใ ้นาเลือดกลับไม่ดี (นากลับได้น้อยลง)
7) The cardiovascular effects of respiration
ขณะ ายใจเข้า: ค ามดันภายในช่องอกจะเป็นลบเมื่อเทียบกับช่องท้อง เลือดจึงไ ลเ ียน
ู่ช่องอกมากขึ้น venous return จึงมาก
ขณะ ายใจออก: ค ามดันภายในช่องอกจะเป็นบ กเมื่อเทียบกับช่องท้อง เลือดจึง
ไ ลเ ียนออกจากช่องอกมาก venous return จึงน้อย
ดังนั้น การ ายใจอย่าง ม่าเ มอ จะช่ ยค บคุม venous return ได้
ถ้ามีอาการ ายใจลาบาก รือ ายใจเร็ มากขึ้น venous return จะต่าลง
จากภาพ
› ในท่านอน ค ามดันของ ลอดเลือด
เ นือ ั ใจ ั ใจและใต้ ั ใจจะมีค่า
ใกล้เคียงกันทั้งใน artery & vein
เพราะไม่มีผลจาก gravity

› ในท่ายืน เนื่องจากแต่ละ ่ นอยู่คนละระดับกันจึงมีผลจาก gravity เข้ามาเกี่ย ข้อง


ค ามดันอ ัย ะเ นือ ั ใจจะเป็นลบ มากขึ้น เพราะต้าน gravity
ค ามดันของอ ัย ะใต้ ั ใจจะเป็นบ ก มากขึ้น เพราะไ ลตาม gravity
ไม่ต้องจา
M𝐴𝑃=∓0.77𝑚𝑚𝐻𝑔/𝑐m ถ้า ูงก า่ ั ใจ 1 cm. ค ามดันจะลดลง 0.77 mmHg
ถ้าต่าก า่ ั ใจ 1 cm. ค ามดันจะเพิ่มขึ้น 0.77 mmHg

Central Venous Pressure (CVP) มีค าม าคัญในการดูการทางานของ ั ใจ (โดยเฉพาะ ั ใจซีกข า)

• Central venous pressure รือ mean venous pressure คือ ค ามดันที่อยู่ตรง ั ใจ ้องบน
(atrium)
• ัดได้โดยการ อด าย น (catheter) ที่ peripheral vein แล้ เข้าไปใ ้ถึง great vein ใกล้กับ
right atrium
• ค่าปกติอยู่ที่ 0-4 mmHg (ใช้ปรอท ัด) รือ 0-6 cm saline (ใช้น้าเกลือ ัด)
• CVP มักจะ ัดในคนไข้ที่มี
- severe hemorrhage: ภา ะเ ียเลือดอย่างรุนแรง
- shock
- cardiac surgery: เข้ารับการผ่าตัด ั ใจ
CVP เพิ่มเมื่อ CVP ลดลง ลังจาก
Fluid overload Hemorrhage: ูญเ ียเลือด
Right heart failure: ั ใจด้านข า าย Secondary dehydration (loss of ECF):
Cardiac tamponade: ั ใจถูกกดเค้น ูญเ ียน้า และ extracellular fluid

Pulmonary hypertension: ค ามดันใน ลอด Septicemia (endotoxic shock): ภา ะช็อค


เลือด pulmonary เพิ่มขึ้น จากการติดเชื้อในกระแ เลือด
Pulmonary stenosis: pulmonary valve ตีบ

You might also like