You are on page 1of 55

หน่ วยการเรียนรู้ ที่

๑ ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา

พระพุ ท ธศาสนาสอนว่า มนุ ษ ย์


ทุ กคนมี ศ ักยภาพในตนเอง สามารถฝึ กฝน
พัฒนาไปจนถึ งจุ ดสู งสุ ดได้ด้วยความเพี ยร
และสติปัญญา โดยไม่ตอ้ งพึ่งพาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์
มาบัน ดาล ในการพัฒ นาตนนั้น บุ ค คลพึ ง
ปฏิ บั ติ ตามหลั ก ไตรสิ ก ขา โดยอาศั ย
กัลยาณมิ ตร ผูท้ ี่ มีความรู ้ และประสบการณ์
คอยชี้ แนะแนวทางให้คิ ดเป็ น หรื อรู ้ จ ักคิ ด
วินิจ ฉัย แก้ปัญหาด้วยเหตุ ผล ตามขั้น ตอน
แห่งอริ ยสัจ
๑. พระพุทธศาสนาเป็ นศาสตร์ แห่ งการศึกษา

๑.๑ พระพุทธศาสนาเป็ นศาสตร์ แห่ งการศึกษา


การศึกษาตรงกับคาศัพท์ภาษาบาลีวา่ “สิ กขา” หมายความว่า การฝึ กอบรมตนให้งอกงาม
หรื อการพัฒนาตนให้งอกงาม ตามหลักพระพุทธศาสนาได้แบ่งการพัฒนาตนให้งอกงามออกเป็ น ๔ ด้าน
ดังนี้

๑.) การพัฒนาทางกาย

๒.) การพัฒนาศีล

๓.) การพัฒนาจิตใจ

๔.) การพัฒนาปัญญา
๑.) การพัฒนาทางกาย
คือ การรักษาสุ ขภาพร่ างกายให้แข็งแรง มีสุขภาพดี
มีความเป็ นอยูท่ ี่ถูกสุ ขลักษณะ รวมไปถึงการรู ้จกั ปรับตัวให้เข้า
กับสิ่ งแวดล้อมทางวัตถุได้อย่างถูกต้องและเกิ ดประโยชน์ดว้ ย
เช่น กินอาหารเพื่อมุ่งให้ร่างกายมีกาลัง มีสุขภาพดี มิใช่กินเพื่อ
ความเอร็ ดอร่ อย หรื อเพื่อความหรู หราฟุ่ มเฟื อย
๒.) การพัฒนาศีล
คื อ การควบคุ มกาย วาจา ไม่ ใ ห้มี พฤติ ก รรม
ออกมาในทางเบียดเบียนตนเองและคนอื่น เช่น ทางกาย ก็
ไม่ทาร้ ายข่มเหงรังแกคนอื่น ทางวาจา ก็ไม่พูดเท็จไม่พูด
คาหยาบ ไม่พูดส่ อเสี ยด ที่ จะทาให้คนอื่นเสี ยหายและเสี ย
ประโยชน์ คือ ให้อยูร่ ่ วมกันด้วยดีในสังคม
๓.) การพัฒนาจิตใจ
คือ การทาจิตใจให้มีคุณสมบัติที่ดีงามพรั่งพร้อมใน ๓ ด้านดังนี้

ด้ านความดีงาม คือ เป็ นผูท้ ี่มีเมตตา มีความเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ มี


ความเป็ นมิตรไมตรี ต่อคนรอบข้าง มีความกตัญญู เป็ นต้น

ด้ านความแข็งแกร่ ง คือ เป็ นผูท้ ี่มีจิตใจที่เด็ดเดี่ยว รู ้จกั ยับยั้งชัง่ ใจ


มีความอดทน ความพากเพียร ความตั้งมัน่ แห่งจิต เป็ นต้น

ด้ านความสุ ข คือ เป็ นผูท้ ี่มีความสดชื่น ร่ าเริ ง เบิกบาน มีปีติ


ปราโมทย์ ไม่กระวนกระวาย ไม่ข่นุ มัวหมองเศร้า เป็ นต้น
๓.) การพัฒนาปัญญา
คื อ การรู ้ จ ัก เพิ่ ม ความรู ้ ค วามเข้า ใจให้แ ก่ ต วั เอง เริ่ ม ตั้ง แต่ รู้ จ ัก เรี ยนรู ้ ศิ ลปวิท ยาที่ ดี มี
ประโยชน์สาหรั บการดารงชี วิต เป็ นผูข้ วนขวายใคร่ เรี ยนรู ้ สิ่งต่างๆ อยู่เสมอเพื่ อก้าวให้ทนั ความ
เปลี่ยนแปลงของโลก ตลอดจนรู ้จกั คิด รู ้จกั วินิจฉัย รู ้จกั ใช้ปัญญาในการแก้ไขปั ญหาชี วิตด้านต่างๆ
เป็ นต้น

Think Good
Feel Good
Do Good
Live Good
ทดสอบความเข้ าใจ
..... 1.ในทางพระพุทธศาสนาการพัฒนากาย คือ การรักษาสุ ขภาพร่ างกายให้แข็งแรงและ
รู ้จกั ปรับตนเองให้เข้ากับสิ่ งแวดล้อม
….. 2.การฝึ กอบรมตนให้งอกงามหรื อการพัฒนาตนให้งอกงาม ตรงกับคาศัพท์ภาษาบาลีวา่
“สิ กขา”
….. 3. การกินเพื่อความอร่ อยและเพื่อความหรู หรา ถือเป็ นการพัฒนากายที่ดีอีกทางหนึ่ง
….. 4. การจะพัฒนาศีลต้องรู ้จกั ควบคุมกาย วาจา ไม่ให้มีพฤติกรรมเบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น
….. 5. การพัฒนากายจะช่วยให้ผคู ้ นในสังคมอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข
…..6. การที่ทุกคนในสังคมมีความเมตตากรุ ณาเอื้ออาทรต่อกันก็ถือเป็ นการพัฒนาจิตใจด้านความดีงาม
แล้ว
….. 7. การพัฒนาด้านปั ญญา คือ การรู ้จกั ขวนขวายใฝ่ หาความรู ้อยูเ่ สมอและรู ้จกั ใช้ปัญญาในการแก้ไข
ปั ญหาชีวติ ด้านต่าง ๆ
….. 8. การพัฒนาจิตใจด้านความแข็งแกร่ ง คือ ต้องรู ้จกั การต่อสู ้กบั บุคคลอื่นเพื่อให้ได้มาซึ่ ง
ชัยชนะของตนเอง
โจทย์ คาถามข้ อที่ 1 (O-Net 2562)

1. ใครควรได้รับการพัฒนาด้วยกระบวนการศึกษาตามหลักสี ลสิ กขามากที่สุด


ก. แดงเป็ นคนเจ้าอารมณ์ มักหงุดหงิดโกรธง่ายจนเพื่อน ๆ ไม่อยากอยูใ่ กล้
ข. ดาคิดว่าการดื่มสุ ราเป็ นสิ่ งจาเป็ นในการเข้าสังคมกับเพื่อนฝูง
ค. ขาวมองว่าพ่อแม่ไม่มีพระคุณ เพราะพ่อแม่ทิ้งตนเองให้ปู่ย่าเลี้ยงดูจนเติบโต
ง. เขียวรู ้สึกโกรธแค้นนายดาอย่างมากที่ลอ้ เลียนชื่อพ่อแม่ตวั เอง
จ. ฟ้ามักพูดกับพ่อแม่ ครู และเพื่อน ๆ ด้วยคาไม่สุภาพจนครู ตอ้ งตักเตือนบ่อย ๆ
๑.๒ บุรพภาคของการศึกษา
ในกระบวนการพัฒนาตนเองนั้น จะต้องอาศัยองค์ประกอบต่างๆ เป็ นตัวสนับสนุนใน
เบื้องต้น องค์ประกอบนี้เรี ยกว่า “บุรพภาคแห่ งการศึกษา” มีอยู่ ๒ ประการ ดังนี้

พิจารณา เหตุผล
องค์ประกอบภายใน

ผูศ้ ึ กษาจะต้องเป็ นคนรู ้ จกั คิ ด รู ้ จกั พิ จารณา


รู ้ จ ัก ใช้ เ หตุ ผ ลในการด าเนิ น ชี วิ ต และใช้ ดีงาม
ความคิดอย่างถูกวิธี องค์ประกอบนี้ เรี ยกว่า
“โยนิโสมนสิ การ”
องค์ประกอบภายนอก

หมายถึง การได้รับการอบรมสั่งสอนที่ดีจาก
พ่อแม่ ครู บาอาจารย์ รวมจนไปถึ ง หนังสื อ
หรื อสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ ใ ห้ ข่ า วสารและความรู ้ ที่
ถูก ต้อ งและดี งาม องค์ป ระกอบภายนอกนี้
เรี ยกว่า “ปรโตโฆสะ”

องค์ประกอบทั้งสองเกี่ ยวข้องสัมพันธ์กนั และเกื้ อหนุนกัน โดยอาศัยกระบวนการศึกษา


ต่างๆ สภาพแวดล้อม และอิทธิ พลภายนอกเป็ นแรงผลักดัน ถ้าได้รับการถ่ายทอด แนะนาจากแหล่ง
ความรู ้ ที่ถูกต้อง ก็จะนาไปสู่ การคิดที่ถูกต้อง เกิ ดสัมมาทิฏฐิ อนั จะเป็ นบันไดก้าวขึ้นสู่ กระบวนการ
ศึกษาที่แท้จริ ง
ในทางตรงกันข้าม ถ้าได้รับการ
แนะนาอย่างไม่ถูกต้อง ก็จะนาไปสู่ การคิดที่
ผิดเป็ นมิจฉาทิฏฐิ ดังกรณี อหิงสกกุมาร
เบื้องต้นได้รับการแนะนาที่ผิดๆ จากครู ผไู ้ ม่
ทาตนเป็ นกัลยาณมิตรจนกลายเป็ นมหาโจร
ปล้นฆ่าชีวติ คนเป็ นจานวนมาก ต่อมาได้รับ
คาสัง่ สอนที่ถูกต้องจากพระพุทธเจ้า จึงเกิด
สัมมาทิฏฐิ ซึ่ งเป็ นความเห็นที่ถูกต้อง
จนกระทัง่ ละเว้นจากบาปอกุศลทั้งปวงได้ใน
ที่สุด
๑.๓ กระบวนการศึกษา
กระบวนการศึกษาทางพระพุทธศาสนาเน้นไปที่สมั มาทิฏฐิ คือ ความคิดเห็นที่ถกู ต้องรวม
ไปถึงความเชื่ อถือ ความนิ ยม ค่านิ ยม เจตคติต่างๆ ที่เป็ นไปในทางถูกต้องดีงาม กระบวนการศึกษานี้
สามารถแบ่งรายละเอียดออกเป็ นอริ ยมรรคมีองค์ ๘ และสรุ ปลงเป็ นขั้นตอนใหญ่เรี ยกว่า “ไตรสิ กขา”

ศีล

ไตรสิ กขา
ปัญญา สมาธิ
ในแง่ อริยมรรคมีองค์ ๘ สรุ ปได้ ดังนี้

คื อ การฝึ กปรื อให้ เ กิ ด มี สั ม มาวาจา สั ม มากัม มัน ตะ


อธิศีลสิ กขา และสัมมาอาชี วะ จนมี ความพร้ อมทางด้านความประพฤติ
และความมีระเบียบวินยั ที่ดีงาม

อธิจิตตสิ กขา คื อ การฝึ กปรื อให้ เ กิ ดมี สั ม มาวายามะ สั ม มาสติ


และสั ม มาสมาธิ จนมี ค วามพร้ อ มทางด้ า นคุ ณ ธรรมมี
สมรรถภาพจิต และสุ ขภาพจิตที่ดี

อธิปัญญา
คือ การฝึ กปรื อให้เกิดมีสมั มาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ จนมี
สิ กขา
ความพร้อมทางด้านปั ญญารู ้จกั คิดและแก้ปัญหาเป็ น
๒. พระพุทธศาสนาเน้ นความสั มพันธ์ ของเหตุปัจจัยและวิธีการแก้ ปัญหา

๒.๑ พระพุทธศาสนา เน้ นความสั มพันธ์ ของเหตุปัจจัย

พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาแห่งเหตุผล คือ เน้นว่าสรรพสิ่ งที่เกิดขึ้นมาในโลกนี้เกิดขึ้นมา


เพราะมีเหตุปัจจัยและเสื่ อมสลายไปเมื่อหมดเหตุปัจจัย

“เหตุ” “ปัจจัย”
คื อ การที่ ปั จ จัย ใด ปั จ จัย หนึ่ งมี ค วาม คื อ เงื่ อ นไข หรื อองค์ ป ระกอบต่ า งๆ
เด่นชัดกว่า หรื อเป็ นตัวนาในกรณี หรื อ ที่ รวมตัวกันขึ้น ต่างก็มีความสาคัญเท่ า
เป็ นที่มาของเรื่ องราวนั้นๆ เทียมกันและต่างก็อาศัยซึ่ งกันและกัน
ถ้าพูดในแง่ “ปัจจัย”
ถ้าพูดในแง่ “เหตุ” ก็ จ ะได้ว่ า “ต้น ไม้เ กิ ด และงอกงามได้
ก็จะได้วา่ “เมล็ดเป็ นเหตุให้ตน้ ไม้น้ นั เกิ ด เพราะมี ปัจจัยหลายๆ อย่างประกอบกัน
ปละงอกงาม” เช่น ดิน น้ า อุณหภูมิ ปุ๋ ย เป็ นต้น”
ทดสอบความเข้ าใจ

ต้ นทําร้ ายตาล เพราะตาล


มาหยิบขนมไปกินโดยไม่ ขออนญ
ุ าตจากต้ น
สุดท้ าย ทั้งสองคนก็ต้องไปทําแผล ที่ห้องพยาบาล
ทดสอบความเข้ าใจ

กรยังหางานทําไม่ ได้ จึง ไม่ มีเงินมาใช้ จ่าย วันหนึ่ง


เดินผ่ านร้ านทอง เขาจึง วางแผนปล้ น แต่ ไม่ สําเร็ จ
ทดสอบความเข้ าใจ

ข้ าวในนาของชาวนา
เจริ ญงอกงาม ออกรวงดี
ให้ ผลผลิตเต็มที่
ทดสอบความเข้ าใจ

สุทธิเป็ นคนที่เมื่อพูดว่ าจะ


ทําอะไร มักทําได้ จริ งเสมอ
เขาบอกว่ าจะเข้ าเรี ยนหมอ
เขาก็สอบเข้ าได้ จริ งๆ
ทดสอบความเข้ าใจ

แหม่ มไม่ ชอบอ่ านหนังสือ


ไม่ สนใจเรี ยน และไม่ ยอม
ทําการบ้ านตามที่คณ
ุ ครู
มอบหมาย แหม่ มจึงสอบ
ตกอย่ เู สมอ
ฉะนั้น คาสอนที่เน้นปั จจัยนั้น พระพุทธเจ้าก็ทรงยกหลักปฏิจจสมุปบาทขึ้นมาแสดง ซึ่ งมี
รายละเอียดยากแก่การจะเข้าใจ จึงยกเฉพาะหลักการกว้างๆ ของปฏิจจสมุปบาทมากล่าว ดังนี้

เมื่อสิ่ งนี้มี สิ่ งนี้จึงมี


เพราะสิ่ งนี้เกิดขึ้น สิ่ งนี้จึงเกิดขึ้น
เมื่อสิ่ งนี้ไม่มี สิ่ งนี้ก็ไม่มี
เพราะสิ่ งนี้ดบั สิ่ งนี้ก็ดบั
ส่ วนคาสอนที่เน้นเหตุน้ นั พระพุทธเจ้าทรงยกอริ ยสัจ ๔ ประการ ขึ้นมาแสดง คือ

ทุกข์ (ปั ญหาทุกรู ปแบบของชีวติ )


สมุทัย (สาเหตุของปั ญหา)
นิโรธ (ความดับปั ญหา ภาวะหมดปั ญหา)
มรรค (ทางแก้ปัญหา)

โดยแยกเป็ นเหตุเป็ นผล ดังนี้

สมุทยั มรรค ทุกข์ นิโรธ

เป็ นเหตุ เป็ นผล


การที่ พระพุทธศาสนาสอนโดยเน้นทั้งเหตุท้ งั ปั จจัยก็เพื่อให้พุทธศาสนิ กชนไม่ยึดติดใน
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งและเข้าใจเหตุปัจจัยของสิ่ งทั้งหลายตามที่ เป็ นจริ ง ทาให้พุทธศาสนิ กชนมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้

๑.) ทาให้ เป็ นคนมีเหตุผล

คือ มีความเชื่ อมัน่ ว่าสรรพสิ่ งจะเกิ ดหรื อดับ


เพราะเหตุ ปั จ จัย ไม่ มีสิ่ ง ใดเกิ ด ขึ้ น ลอยๆ โดยไร้ เ หตุ
มีเหตุผล
ปั จจัย เมื่อมีความเชื่ อมัน่ อย่างนี้ ก็จะเป็ นคนที่ใช้เหตุผล
ก่อนที่จะตัดสิ นใจอะไรลงไป
๒) ทาให้ เป็ นคนสายตากว้างไกล
มองอะไรก็เข้าใจกว้างขวางและลึกซึ้ ง เช่น มโหสถกุมารในมโหสถชาดก

“เมื่อเหยีย่ วโฉบเอาเนือ้ ที่ชาวบ้ านตากไว้ ไป เด็กๆ ในหมู่บ้านพากันวิ่งไล่ เหยี่ยว ต่ างก็สะดุด


ตอไม้ บ้างก้ อนหิ นบ้ าง ล้ มลุกคลุกคลาน บาดเจ็บไปตามกัน มโหสถกุมารคิ ดว่ าการที่วิ่งไล่
เหยีย่ วไปด้ วยและแหงนขึน้ มองเหยีย่ วไปพร้ อมกันนั้น ไม่ มีทางวิ่งทันเหยี่ยวได้ จึ งมิได้ ทาดัง
เด็กคนอื่ นๆ แต่ ก้มมองดูเงาเหยี่ยวและวิ่งตามไปจนทั น แล้ วแหงนหน้ าขึ น้ ปรบมือ และร้ อง
เสี ยงดังจนเหยี่ยวตกใจและปล่ อยชิ ้นเนื อ้ ตกลงมา มโหสถกุมารได้ รับคาชมเชยจากชาวบ้ าน
เป็ นอันมาก”

ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า
“ผูท้ ี่เข้าใจเหตุปัจจัยก็ยอ่ มสามารถมองอะไร
ได้กว้างไกลและลึกซึ้ งกว่าคนอื่น”
๓) ทาให้ เป็ นคนมีใจกว้ าง

ยอมรับความคิดเห็นของคนอื่นและเห็นความสาคัญของคนอื่น เข้าใจว่าสิ่ งต่างๆ ที่เกิ ดขึ้น


นั้น มิได้เกิดขึ้นด้วยเหตุเดียว แต่เกิดขึ้นเพราะหลายเหตุปัจจัยมารวมกัน ซึ่ งแต่ละเหตุแต่ละปั จจัยต่างก็
มีความสาคัญเท่าเทียมกัน ทาให้เป็ นคนใจกว้าง มองเห็นคุณค่าและความสาคัญของคนอื่น
๔) ทาให้ เป็ นคนไม่ ยึดมัน่ ถือมั่น

คนที่มองสรรพสิ่ งตามเหตุปัจจัย คือ สรรพสิ่ งเกิ ดขึ้นเพราะมีเหตุปัจจัย ดับไป


เพราะหมดเหตุปัจจัย ไม่ยึดติ ด ไม่โต้เถียงเพราะความหลงผิดกับใครๆ พระพุทธศาสนา
สอนว่าความจริ งแท้น้ นั ถึงจะมีอย่างเดียว แต่ผยู ้ งั เข้าไม่ถึง ย่อมมองเห็นต่างแง่มุมกัน จึงไม่
ควรยึดมัน่ ว่า “อย่ างนีอ้ ย่ างนั้นถูกต้ อง อย่ างอื่นผิดหมด”
๕) ทาให้ แก้ ปัญหาได้

การมองที่ไม่เข้าใจถึงเหตุปัจจัยอันเป็ นตัวผลักดันให้เกิ ดสิ่ งต่างๆ นั้นทาให้ดวงตาพร่ ามัว


ไม่เข้าใจสภาพที่เป็ นจริ ง เกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน แม้จะมีเจตนาดีในการที่จะแก้ปัญหาที่เกิ ดขึ้น
แต่กลับกลายเป็ นการเพิ่มปั ญหาให้มากขึ้นจนยากเกิ นที่จะแก้ไขได้ ต่อเมื่อเข้าใจเหตุปัจจัยก็ยอ่ มจะ
สามารถแก้ปัญหาได้ ยกตัวอย่างเรื่ องของนางกีสาโคตมี
ยกตัวอย่ างเรื่ องของนางกีสาโคตมี
กล่าวคือ “เมื่อลูกของนางตาย นางก็ไม่สามารถยอมรับความจริ งได้วา่ ลูกของนางได้
ตายไปแล้ว กลับอุม้ ร่ างที่ไร้วญ
ิ ญาณของลูกไปขอยาเพื่อให้ลูกของตนฟื้ น จนในที่สุดได้ไปพบ
กับพระพุทธเจ้า พระองค์ได้ตรัสให้นางไปหาเมล็ดพันธุ์ผกั กาดมาฝ่ ามือหนึ่ ง และพระองค์จะ
ทรงปรุ งยาให้แต่ให้นางไปเอาจากบ้านที่ไม่มีใครตายเลยนางก็เที่ ยวถามทั้งหมู่บา้ น ปรากฏว่า
ไม่มีบา้ นใดที่ไม่มีคนตายมาก่อน

ในที่ สุ ด นางก็ เ ข้า ใจเหตุ


ปั จ จัย ของชี วิต ว่าทุ ก คนเกิ ด มาแล้ว
ต้ อ งตาย มิ ใ ช่ เ ฉพาะลู ก ของนาง
เท่ า นั้น เมื่ อ นึ ก ได้เ ช่ น นี้ ความเศร้ า
โศกเสี ยใจที่ลูกตายก็หายไป
๒.๒ วิธีแก้ ปัญหาตามแนวพระพุทธศาสนา
พระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักอริ ยสัจ ๔ ว่าเป็ นหลักแห่งการแก้ปัญหาชีวติ โดยทรงยกการแก้
ปั ญหาของพระองค์ข้ ึนเป็ นตัวอย่าง หลักอริ ยสัจ ๔ ประกอบด้วย

ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

คือ คือ คือ คือ


ความทุกข์ ทุกข์ใจ สาเหตุของปั ญหาที่เกิด ภาวะหมดปั ญหา แนวทางแก้ปัญหา
หรื อการที่ปัญหาหมด
ไปโดยสิ้ นเชิง
จากหลักอริ ยสัจ ๔ นี้ มีองค์ประกอบของการแก้ปัญหาสรุ ปได้ ๓ ประการ คือ

๑) ปัญญา (ความรู้ ความเข้ าใจ)


การแก้ปัญหาอะไร ไม่วา่ ใหญ่หรื อเล็ก ไม่วา่ ปั ญหาส่ วนตัวหรื อปั ญหาส่ วนรวม ปั ญญา
เป็ นองค์ประกอบแรกที่จาเป็ น โดยจะต้อง

๑. เข้าใจว่าปั ญหาคืออะไร ปั ญหา


อยู่ต รงไหน ปั ญ หาเป็ นอย่า งไร
ต้องเข้าใจสภาพปั ญหาให้ชดั เจน
เสี ยก่ อน จึ งจะแก้ปัญหาได้ ถ้ายัง
ไม่ รู้ ว่ า ปั ญ หาคื อ อะไร อยู่ ต รง
ไหน เป็ นอย่างไร ย่อมไม่สามารถ
ที่จะแก้ปัญหาได้
๒. เข้าใจสาเหตุและปั จจัยของปั ญหา
นั้นว่ามาจากอะไร

๓. เข้าใจเป้ าหมายและแก้ปั ญหาได้


ถูกต้องตามระดับความสาคัญ

๔. เข้าใจขั้นตอนในการแก้ไขปั ญหา
ต่างๆ ว่าควรปฏิบตั ิอย่างไรจึงถูกต้อง
สมบูรณ์

การที่ จะรู ้ ทุ กขั้นตอนอย่า งทะลุ ปรุ โปร่ ง ได้ย่อมอาศัย ปั ญ ญาเป็ นตัว ชี้ บ อก ถ้าไม่ มี
ปั ญญา หรื อปั ญญาไม่ชดั แจ้งแล้ว จะทาให้กระบวนการแก้ปัญหาบกพร่ องได้
๒) กรรม (การลงมือกระทา)

อย่างไรก็ตามหากเพียงแต่รู้สาเหตุ รู ้เป้ าหมาย และรู ้วิธีการแก้ปัญหา แต่ไม่ลงมือกระทา


ปั ญหาก็ยงั คงไม่สามารถแก้ไขได้ หลักคาสอนของพระพุทธเจ้าจึงระบุหลักกรรมไว้ในอริ ยสัจ ๔ ซึ่ ง
มีบทบาทที่เด่นชัด คือ ปัญญา แต่ขณะเดียวกันก็มีหลักกรรมแฝงอยูด่ ว้ ย นัน่ ก็คือ มีปัญญาอย่างเดียว
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ต้องมีการ “ลงมือทา” ด้วย ซึ่ งการลงมือทานี้เอง เรี ยกว่า “หลักกรรม”
๓) วิริยะ (ความพากเพียร)

การลงมื อ ท าหรื อปฏิ บ ัติ ก ารนั้ น


ต้องเน้นว่าต้องทาด้วยจิตใจที่เข้มแข็ง แน่วแน่
หมัน่ เพียร และที่ สาคัญต้องต่อเนื่องด้วย เพียง
ลงมื อ ท าครั้ งสองครั้ ง ปั ญ หาบางอย่ า งไม่
สามารถแก้ได้ ต้องพากเพียรและกระทาต่อไป
อย่างมุ่งมัน่ ตั้งใจ
สรุ ปได้วา่ พระพุทธศาสนาได้สอนหลักอริ ยสัจว่าเป็ นหลักแห่งการแก้ปัญหา ผูท้ ี่มีความ
พากเพียร ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคย่อมทางานได้ประสบความสาเร็ จโดยการใช้ปัญญาเป็ นเงื่ อนไข
สาคัญ และมีคุณธรรมข้ออื่นๆ ช่วยสนับสนุนให้การแก้ปัญหานั้นสาเร็ จด้วยดี คือ

I Know I Can Do

กรรม วิริยะ
(การกระทา) (ความพากเพียรและความต่ อเนื่องแห่ งการกระทา)
โจทย์ คาถามข้ อที่ 2 (O-Net 2562)

ข้อใดเป็ นเหตุของ “น้ าแข็ง” ตามหลักปฏิจจสมุปบาท


ก. น้ า
ข. ตูเ้ ย็น
ค. ไฟฟ้า
ง. ช่องแช่แข็งในตูเ้ ย็น
จ. อุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็ง
๓. ความสาคัญของพระพุทธศาสนา
๓.๑ พระพุทธศาสนาฝึ กคนไม่ ให้ ประมาท
ความไม่ประมาทเป็ นหลักธรรมสาคัญอย่างยิ่งของพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าถึ งกับ
ตรัสย้าไว้เป็ นปั จฉิ มวาจาก่อนเสด็จดับขันธ์ปริ นิพพานว่า

“ภิ กษุทั้งหลาย เราขอเตื อนเธอทั้ ง หลาย


สั ง ขารทั้ ง หลายมี ก ารเสื่ อ มสิ ้ น ไปเป็ น
ธรรมดา เธอทั้งหลายพึ งยังประโยชน์ ตน
และประโยชน์ ท่านให้ ถึงพร้ อมด้ วยความ
ไม่ ประมาทเถิด”
พุทธธรรมคาสอนที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ถูกบันทึกไว้ในคัมภีร์พระไตรปิ ฎกมีอยูม่ ากมาย
ถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แต่ถา้ ไม่มีใครศึกษาและนาไปปฏิบตั ิตาม พระธรรมคาสอนนั้นอยูใ่ น
คัมภีร์ก็ไม่เกิดประโยชน์แต่อย่างใด เท่ากับว่าทุกคนยังดารงชีพอยูบ่ นพื้นฐานแห่งความประมาท
พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “อัปปมาทธรรม” คือ ความไม่ประมาท ซึ่ งหมายถึงว่าธรรมะ
ทุกข้อ ไม่มีขอ้ ไหนสาคัญเท่ากับความไม่ประมาทได้
กล่ า วได้ว่ า คนที่ ไ ม่ ป ระมาทเป็ นคนที่ มี ค วามกระตื อ รื อร้ น ในการท าหน้ า ที่ และ
โดยเฉพาะการมีสติและรู ้ เท่าทัน แล้วเร่ งแก้ไขเหตุแห่ งความเสื่ อมและสร้ างเสริ มเหตุแห่ งความ
เจริ ญงอกงาม
ซึ่ งลักษณะของคนไม่ประมาทอย่างหนึ่งก็คือ ผูท้ ี่ไม่นิ่งนอนใจ ไม่ปล่อยให้เวลาผ่านไป
โดยเปล่าประโยชน์ ซึ่ งมีความคิดที่ต่างจากคนที่ประมาท ดังนี้
๑) ในกรณีมีกิจการงานจะต้ องทา
คนที่ประมาทจะคิดพักผ่อนเสมอและไม่ทางาน เพราะให้เหตุผลเข้าข้างตนเองว่าร่ างกาย
เราต้องการการพักผ่อน ส่ วนคนที่ไม่ประมาทจะคิดว่าเรามีงานที่ตอ้ งทามาก และรี บทางานให้สาเร็ จ
โดยไม่ผดั วันประกันพรุ่ ง

๒) ในกรณีที่ทางานเสร็จแล้ ว
คนที่ ประมาทจะคิดหาเวลาพักผ่อนหลังจากทางานเสร็ จ โดยยังไม่นึกถึงงานที่ตอ้ งทาใน
ส่ วนต่อไป ส่ วนคนที่ไม่ประมาทจะคิดถึงงานที่ยงั มีอยูอ่ ีกมาก ไม่ควรเกียจคร้านและรี บเร่ งทางานต่อ
ดังนั้น คนไม่ประมาทจึงมักจะมีบุคลิกเป็ นคนขยัน มีฉนั ทะในการทางานหนักเอาเบาสู ้และในที่สุดเขา
จะฟันฝ่ าอุปสรรคจนประสบความสาเร็ จได้
ในชาดกเรื่ องหนึ่ ง พระพุทธเจ้าตรัสเล่าว่า มีพระราชาสองเมืองทาสงครามกัน ไม่มี
ใครแพ้ใครชนะ เมื่ อถึงฤดู ฝนก็พกั รบชั่วคราว หมดฤดู ฝนก็มารบกันใหม่ วันหนึ่ งพระอิ นทร์
กล่าวกับฤๅษีตนหนึ่งว่า ในที่สุดพระราชาเมือง ก. จะชนะ

คาทานายของพระอินทร์ ถูกถ่ายทอดแก่ศิษย์ฤๅษี ศิษย์ฤๅษีก็บอกต่อๆ กัน จนในที่สุดรู ้


ถึงพระราชาทั้งสองเมือง พระราชาเมือง ก. รู ้วา่ ตนจะชนะก็เริ่ มประมาท เพราะคิดว่าตนชนะแน่
แล้วตามคาทานาย ส่ วนพระราชาเมือง ข. ได้รับคาทานายนั้น ก็ทอ้ ใจอยูพ่ กั หนึ่ง แต่ฮึดสู ้วา่ ไหนๆ
ก็ล่วงเลยมาจนป่ านนี้แล้ว จะถอยก็ใช่ที่ ลองสู ้กบั โชคชะตาดูสักครั้ง เมื่อพยายามเต็มที่แล้วจะแพ้
ก็ยอมรับและจะไม่เสี ยใจเพราะได้สู้จนถึงที่สุดแล้ว
พระราชาเมือง ข. ตระเตรี ยมกองทัพของตนให้พร้อม ฝึ กฝนทหารให้เชี่ ยวชาญ ทั้ง
แผนรุ กแผนรับพร้ อมสรรพ ถึงเวลารบจริ งก็ต่อสู ้เต็มที่ จนสามารถเอาชนะอีกฝ่ ายได้ในที่ สุด
พระราชาเมือง ก. พ่ายแพ้ยบั เยิน ไปต่อว่าฤๅษีหาว่าโกหกหลอกลวงบอกว่าจะชนะทั้งๆ ที่ ต้อง
แพ้ ฤๅษีก็ไปต่อว่าพระอินทร์ ว่าทานายผิดพลาด ทาเอาตนซึ่ งถ่ายทอดคาทานายอีกทอดหนึ่ ง
ต้องถูกต่อว่า พระอินทร์ ตอบว่า

“ทานายไม่ ผิดดอก ถ้ าปล่ อยให้ ทุกอย่ างเป็ นไปตามทางของมันพระราชาเมือง ก. จะ


ชนะแน่ นอน แต่ บังเอิญพระราชาเมือง ก. ประมาท ในขณะที่พระราชา เมือง ข. มิได้ ประมาท
หมั่นฝึ กฝนตนเองและกองทัพเตรี ยมพร้ อมทุกประการ คนที่ มีความพยายามถึงที่สุ ดเช่ นนี ้ แม้
เทวดาก็กีดกันไม่ ได้ ”
พระพุ ท ธเจ้า ทรงเป็ นตัวอย่า งของคนที่ ไ ม่ ป ระมาทขณะทรงเป็ นพระโพธิ สัต ว์
บาเพ็ญบารมีอยูก่ ็ทรงมีความพากเพียร พยายามสะสมความดีเพื่อตรัสรู ้เป็ นพระพุทธเจ้า ไม่ว่า
จะบาเพ็ญบารมีขอ้ ใดก็ตาม จะเห็นบทบาทของความไม่ประมาท และความพากเพียรแฝงอยู่
ด้วยเสมอ
ขณะที่เป็ นเจ้าชายสิ ทธัตถะได้รับการปรนเปรอความสุ ขสารพัดจากพระราชบิดา ก็
มิได้ประมาทมัวเมา ทรงเห็นว่าชี วิตนี้ เต็มไปด้วยความทุกข์และทุกข์ที่สาคัญคือการเวียนว่าย
ตายเกิดในสังสารวัฏพระองค์จึงเสด็จออกผนวชและบาเพ็ญเพียรตลอดระยะเวลา ๖ ปี จนตรัสรู ้
พระสัมมาสัมโพธิ ญาณทั้งหลายทั้งปวงนี้ เพราะพระพุทธองค์ทรงตั้งอยูใ่ นความไม่ประมาท
ลักษณะของคนไม่ประมาทอีกอย่างก็คือ เป็ นคนเสี ยสละ ไม่เห็นเพียงประโยชน์สุข
ส่ วนตัว จึงได้ชื่อว่าได้ทาประโยชน์ท้ งั ๓ ประการสมบรู ณ์พร้อม คือ ประโยชน์ตน (อัตตัตถะ)
ประโยชน์คนอื่น(ปรัตถะ) และประโยชน์ส่วนรวมร่ วมกัน (อุภยัตถะ)
๓.๒ พระพุทธศาสนามุ่งประโยชน์ สุขและสั นติภาพแก่ บุคคล สั งคม และโลก
พระพุทธเจ้าตรัสไว้ตอนส่ งพระสาวกจานวน ๖๐ รู ป ไปประกาศพระพุทธศาสนาครั้ง
แรกว่า
“ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงจาริ กไป เพื่ อประโยชน์ แก่ คนจานวนมาก เพื่ อความสุ ขแก่ คน
จานวนมาก เพื่ ออนุเคราะห์ โลก เพื่ อประโยชน์ เกื อ้ กูลแก่ เทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย จงแสดงธรรม
อันงามในเบือ้ งต้ น งามในท่ ามกลาง งามในที่ สุด จงประกาศพรหมจรรย์ (แนวทางดาเนิ นชี วิต อัน
ประเสริ ฐ) ให้ บริ สุทธิ์ บริ บูรณ์ อย่ างสิ ้นเชิ ง พร้ อมทั้งอรรถ (เนือ้ ความ) และพยัญชนะ (ถ้ อยคา)”

พุทธวจนะข้างต้นเท่ากับเป็ นอุดมการณ์ ของพระพุทธศาสนาเพราะพระพุทธศาสนามุ่ง


สร้างประโยชน์สุขและสันติภาพแก่ชาวโลก มี หลักธรรมที่ ตรั สสอนมากมายที่ สนับสนุ นแนวทาง
เพื่อสร้างประโยชน์สุขและสันติภาพทั้งส่ วนปั จเจกบุคคลและสังคม ตลอดจนชาวโลกทั้งมวลดังนี้
๑) หลักการสร้ างความสุ ข

๑.๑) ความสุ ขของผูค้ รองเรื อน (คิหิสุข) ประกอบด้วย


(๑) สุ ขเพราะการมีทรัพย์ (อัตถิสุข) พระพุทธศาสนาสอนให้รู้จกั แสวงหาทรัพย์
เพื่อให้มีเพียงพอที่จะเลี้ยงตัวเอง ครอบครัว และจุนเจือสังคม
(๒) สุ ขเพราะการใช้ทรัพย์ รู ้จกั จับจ่ายใช้สอยให้ถูกต้องเหมาะสม
(๓) สุ ขเพราะไม่มีหนี้ คือ มีความภูมิใจว่าตนไม่มีหนี้สินติดค้างใคร
(๔) สุ ขเพราะความประพฤติไม่มีโทษ คือ ความภูมิใจในความประพฤติท้ งั ทางกาย วาจา
และใจ
๑.๒) ความสุ ขเกิดจากฌานระดับต่างๆ พระพุทธศาสนาสอนให้ฝึกฝนจิตให้เป็ นสมาธิ
ตั้งมัน่ บริ สุทธิ์ พร้อมที่จะทางานทางปั ญญา เมื่อสมาธิ แน่วแน่ยอ่ มละนิวรณ์ ๕ ได้ อันได้แก่

กามฉันทะ (ความพอใจในกาม)
พยาบาท (ปองร้าย ผูอ้ ื่น)
ถีนมิทธะ (ความหดหู่และความง่วง)
อุทธัจจกุกกุจจะ (ความคิดฟุ้งซ่านและราคาญ)
วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัย)
๑.๓) ความสุ ขเกิดจากพระนิพพาน ความสุ ขระดับคิหิสุขไม่ใช่ความสุ ขที่แท้จริ ง เ พ ร า ะ
เป็ นสุ ขของผูบ้ ริ โภคกาม เป็ นความสุ ขเล็กน้อยเมื่อเทียบกับความสุ ขที่เกิดจากการได้รู้แจ้งเห็นจริ ง จน
ลดละกิเลสอาสวะได้โดยสิ้ นเชิง อันเรี ยกว่า “พระนิพพาน” มิได้

พระพุ ท ธศาสนาได้ส อนวิ ธี ก ารสร้ า งความสุ ข ทั้ง สุ ข ทางกาย และสุ ข ทางใจตั้ง แต่
ระดับพื้นฐานจนถึงระดับสู งสุ ด
๒.) หลักการสร้ างสั นติภาพ
หลักคาสอนที่เป็ นไปเพื่อสันติภาพของบคุคล สังคม และโลกมีมากมาย ในที่ น้ ี ขอยกมา
เพียงบางประการ ดังต่อไปนี้

๒.๑) พระพุทธศาสนาสอนไม่ให้เบี ยดเบี ยนทั้งตนและผูอ้ ื่ น เช่ น คาสอนเรื่ องหลัก


เบญจศีลและหลักเบญจธรรม
- หลักเบญจศีล เน้นงดเว้นการเบี ยดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น ไม่ละเมิดสิ ทธิ และ
ของรักของหวงของผูอ้ ื่น คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลกั ทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม
ไม่โกหกหลอกลวง ไม่เสพสุ ราเมรัย และ ของมึนเมา

- เบญจธรรม คื อ เน้นคุ ณธรรมที่ สนับสนุ นประคับประคองให้ศีลเป็ นไป


ด้วยดี ได้แก่ เมตตา กรุ ณา สัม มาอาชี วะ รู ้ จ ักระวังเรื่ อ งกามารมณ์ ความ
ซื่ อสัตย์สุจริ ตและสติสมั ปชัญญะ ไม่ประมาท
๒.๒) พระพุ ท ธศาสนาสอนให้ มีเ มตตาต่ อ กัน ทั้ง ต่ อ หน้า และลับ หลัง หลัก ธรรมที่
พระพุทธเจ้าทรงเน้น คือ สาราณี ยธรรม ๖ และพรหมวิหาร ๔
๑. เมตตามโนกรรม
การคิดดี การมองในแง่ดี มีความหวังดีและปรารถนาดีต่อกัน
๒. เมตตาวจีกรรม
การพูดแต่สิ่งที่ดีงาม พูดกันด้วยความรักความปรารถนาดี
๓. เมตตากายกรรม
การทาความดีต่อกัน สนับสนุนช่วยเหลือกันทางด้านกาลังกาย
๔. สาธารณโภคี
การรู ้จกั แบ่งปั นผลประโยชน์กนั ด้วยความยุติธรรม
๕. สีลสามัญญตา
การปฏิบตั ิตามกฏระเบียบข้อบังคับหรื อวินยั ต่างๆ
๖. ทิฏฐิสามัญญตา
มีความคิดเห็นเป็ นอย่างเดียวกัน คิดในสิ่ งที่ตรงกัน
๒.๒) พระพุ ท ธศาสนาสอนให้ มีเ มตตาต่ อ กัน ทั้ง ต่ อ หน้า และลับ หลัง หลัก ธรรมที่
พระพุทธเจ้าทรงเน้น คือ สาราณี ยธรรม ๖
๒.๓) พระพุทธศาสนาสอนให้เรามีความเสี ยสละ ซึ่ งมีความหมาย ๒ นัย คือ
เสี ยสละภายใน คือ ละโลภ โกรธ หลง ความหวงแหนความยึดติดความเห็นแก่ตวั ออก
จากใจ เป็ นต้น
เสียสละภายนอก คือ การเฉลี่ยเจือจานสิ่ งที่ตนมี สงเคราะห์แก่คนอื่นบ้าง คนเรา จะอยู่
ร่ วมกันได้อย่างมีความสุ ขควรเริ่ มจากการเสี ยสละ ความไม่เห็นแก่ ตวั ไม่เอารัดเอาเปรี ยบคนอื่น
ตลอดจนยอมเสี ยสละประโยชน์และความสุ ขที่ตนมีแก่คนอื่น

พระพุทธศาสนาได้สอนขั้นตอนแห่งการเสี ยสละตั้งแต่ข้นั ต้นจนกระทัง่ ขั้นสู งสุ ด คือ การ


เสี ยสละแม้กระทัง่ ชีวติ เพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งความ ถูกต้องดีงามของสังคม
๒.๔) พระพุทธศาสนาสอนให้เรามีความอดทน (ขันติ) และไม่ยดึ มัน่ ในตัวตน เ กิ น ไ ป
(อนัตตา) ธรรมะ ๒ ข้อนี้สมั พันธ์กนั คือ คนจะมีความอดทนได้น้ นั ต้องเป็ นคนยึดมัน่ ใน
ตัวตนน้อยหรื อมีอตั ตาเบาบาง ไม่เห็นว่าตนสาคัญมากจนเห็นคนอื่นต่าต้อยหรื อเป็ นคนไม่ดี และคน
เช่นนี้ยอ่ มสามารถอดทนต่อการด่าว่าเสี ยดสี หรื อการล่วงเกินของคนอื่นได้ดี

๒.๕) พระพุทธศาสนาสอนให้เป็ นคน ใจกว้างยอมรั บความแตกต่างได้ คื อ สอนให้รู้


ความจริ งว่าในโลกที่มีคนอยูเ่ ป็ นจานวนมากนั้น ย่อมมีความแตกต่างกันในเรื่ องต่างๆ มากมายเราต้อง
หัดเป็ นคนใจกว้างยอมรับความแตกต่าง นั้นได้ ดังนี้
(๑) ยอมรับความแตกต่างทางด้านความคิดเห็น คือ หัดเป็ นคนใจกว้างยอมรับ ความเห็นที่
แตกต่าง พยายามปรับความเห็นที่แตกต่างกันให้ลงรอยกันในหลักการสาคัญ พร้อมกับแสดงแนวทาง
ที่ดีกว่าให้เขาเห็นและยอมรับ ด้วยวิธีการที่นุ่มนวลและสร้างสรรค์

(๒) ยอมรับลัทธิ ความเชื่อถือที่แตกต่างกันในสังคมโลกมนุษย์ของเรานี้ มีระบบความเชื่ อ


และศาสนาที่แตกต่างกัน มีความจาเป็ นเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องให้เกียรติและเคารพกัน ไม่ล่วงล้ าเสรี ภาพ
ทางศาสนา
๒.๖) พระพุทธศาสนาสอนให้เอาชนะความชัว่ ร้ายด้วยความดี

ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงทรงสอนว่า พึ ง เอาชนะความชั่ ว ร้ า ยด้ ว ยความดี เช่ น เอาชนะ


คนโกรธด้วยการไม่โกรธตอบ เอาชนะคนตระหนี่ ดว้ ยการให้ เอาชนะคนพูดเหลวไหลด้วยการพูด
ความจริ ง เอาชนะเวรด้วยการไม่จองเวร
เมื่ อ นั ก เรี ยนได้ ศึ กษาประวัติ ความเป็ นมาของพระพุ ท ธศาสนา จะเห็ น ว่ า
พระพุทธศาสนานั้นเป็ นศาสตร์ แห่ งการศึกษา มุ่งสอนให้พฒั นาตนเองตามหลักศีล สมาธิ ปั ญญา
เพื่อผลในการพัฒนาทั้งทางกาย ศีล จิตและปั ญญา ฝึ กให้เป็ นคนรู ้จกั คิดวินิจฉัย เข้าใจเหตุปัจจัยของ
สิ่ งทั้งหลายอย่างถูกต้องตามความเป็ นจริ ง รู ้จกั ใช้ปัญญาในการแก้ไขปั ญหา สอนให้พฒั นาตนเอง
ด้วยความไม่ประมาท เมื่อพัฒนาตนได้สมบูรณ์ หรื อในระดับหนึ่ งแล้ว ก็ให้ทาประโยชน์แก่ ผอู ้ ื่น
ด้วยความเสี ยสละ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขและสันติภาพที่แท้จริ งแก่โลก
ทุกฺโข พาเลหิ สวาโส
การอยูร่ ่ วมกับคนพาลเป็ นทุกข์
โจทย์ คาถามข้ อที่ 3 (O-Net 2559)

เมื่อต้องการให้เกิดความระลึกถึงกัน มีความสามัคคีและอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติสุข


สังคมควรเลือกใช้หลักธรรมข้อใดในการดาเนินชีวติ
ก. อธิปไตย 3
ข. อิทธิบาท 4
ค. อินทรี ย ์ 5
ง. อริ ยวัฑวุฒิ 5
จ. สาราณี ยธรรม 6

You might also like