You are on page 1of 33

การรักษา

ดุลยภาพของ การทางานของไต
ร่างกายมนุษย์
คลิป MU [by Mahidol]
รับมือ ภัยร้ายหน้าร้อน Heat Stroke
สังเกต ประเด็น ดังนี้
1. โรคลมแดด เกิดจากอะไร
2. อวัยวะใดที่เกี่ยวข้องกับการกรองของเสีย
3. โรคลมแดด ต่างจากการเป็นลมอย่างไร
4. กลุ่มเสี่ยงโรคลมแดดคือใคร

https://www.youtube.com/watch?v=I_79FVrju7w
โรคลมแดด เกิดจากอะไร
✓(ความร้อน)
อวัยวะใดที่เกี่ยวข้องกับการกรองของเสีย
✓(ไต)
โรคลมแดด ต่างจากการเป็นลมอย่างไร
✓(ตัวแห้ง ไม่มีเหงื่อ อุณหภูมิร่างกายร้อนมาก)
กลุ่มเสี่ยงโรคลมแดดคือใคร
✓(ผู้สูงอายุ เด็ก มีโรคประจาตัว)
ของเสียที่เกิดขึ้นในร่างกายที่ต้องถูกกาจัดออกจากร่างกาย
ได้แก่อะไรบ้าง
ของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึม
• ได้แก่
• 1. ของเสียที่มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ (Nitrogenous
wastes) เกิดจากการสลายสารโปรตีนและกรดนิวคลีอิก
• 2. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
• 3. ไฮโดรเจน (Hydrogen) เกลือแร่ (Mineral) และ น้า (H2O) ที่
มากเกินความต้องการของร่างกาย
ของเสียจะต้องถูกขับออกโดยระบบใด
• - ระบบขับถ่าย
คาถามก่อนทากิจกรรม
• การขับถ่าย (Excretion) หมายถึงอะไร
✓หมายถึง การกาจัดของเสียที่เกิดจาก
เมแทบอลิซึม โดยการกาจัดออกจาก
ร่างกาย
รวมปริมาณ รวมปริมาณ
น้าที่ร่างกาย น้าที่ร่างกาย
ได้รับ สูญเสีย
2,500 2,500
มิลลิลิตร มิลลิลิตร
อวัยวะใดในร่างกายที่ทาหน้าที่รักษาสมดุลของปริมาณน้าและสารต่างๆ ใน
ร่างกาย

หัวใจ ตับ

ไต ปอด

กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก
อวัยวะและหลอดเลือดที่เกี่ยวข้องกับระบบขับถ่าย
• 1. ไต(kidney) ทาหน้าที่ กรองของ ไต(kidney)
เสียในเลือด
• 2. ท่อไต(ureter) อยู่ต่อจากไตทั้ง
ท่อไต(ureter)
2 ข้าง ทาหน้าที่ลาเลียงปัสสาวะจาก
ไตไปเก็บที่กระเพาะปัสสาวะ
อวัยวะและหลอดเลือดที่เกี่ยวข้องกับระบบขับถ่าย
• 3. กระเพาะปัสสาวะ(urinary
bladder) ทาหน้าที่เก็บปัสสาวะ

• 4. ท่อปัสสาวะ(urethra) ทา
หน้าที่เป็นทางผ่านของปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ
ออกสู่นอกร่างกาย (urinary bladder)
ท่อปัสสาวะ(urethra)
อวัยวะและหลอดเลือดที่เกี่ยวข้องกับระบบขับถ่าย หลอดเลือดรีนัลอาร์เตอรี
• 5. หลอดเลือดรีนัลอาร์เตอรี
(Renal artery) คือ หลอดเลือด
ทีน่ าเลือดเข้าสู่ไต
• 6. หลอดเลือดรีนัลเวน (Renal หลอดเลือดรีนัลเวน
vein) คือ หลอดเลือดที่นา
เลือดออกจากไต
ไต(kidney) หลอดเลือดรีนัลอาร์เตอรี

ท่อไต(ureter)
หลอดเลือดรีนัลเวน
กระเพาะปัสสาวะ
(urinary bladder)
ท่อปัสสาวะ(urethra)
หน่วยไต (nephron)
โบว์แมนแคปซูล
โกลเมอรูลัส (Bowman's capsule)
(Glomerulus)

ท่อหน่วยไต ท่อรวม
(Renal tubule) (Collecting duct)
หน้าที่ของหน่วยไต
• หน่วยไตมีหน้าที่สาคัญ คือ กรองของเสียในเลือดที่รับมาจากส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกาย และขับออกจากร่างกาย โดยมีกระบวนการดังนี้

1. การกรองสาร (Filtration)
เกิดขึ้นที่
“โกลเมอรูลัส(Glomerulus)”
ซึ่งทาหน้าที่เป็นเยื่อกรองสารก่อนให้
เลือดผ่านไปยังหน่วยไตส่วนอื่นๆ
หน้าที่ของหน่วยไต
2. การดูดกลับสาร (Reabsorption)
เกิดขึ้นที่บริเวณ
ท่อหน่วยไต
ท่อรวม
เป็นกระบวนการดูดกลับสารที่มี
ประโยชน์เข้ากระแสเลือด
หน้าที่ของหน่วยไต
3. การหลั่งสาร (Secretion)
เกิดขึ้นที่บริเวณ
ท่อหน่วยไต
เป็นกระบวนการหลั่งสารจากเลือด
เข้าสู่ท่อของหน่วยไต
ตารางบันทึกผลการทากิจกรรมที่ 1 การกรองสารบริเวณหน่วยไต
สาร การกรองสารที่โกลเมอรูลัส (ผ่านได้/ผ่านไม่ได้)
เม็ดเลือดแดง
โปรตีน
กลูโคส ✓
ยูเรีย ✓
น้า ✓
ไอออนต่าง ๆ ✓
ตารางบันทึกผลการทากิจกรรมที่ 2 การดูดกลับและการหลั่งสารบริเวณหน่วยไต
สาร ท่อหน่วยไต ท่อรวม
การดูดกลับ การหลั่งสาร การดูดกลับ การหลั่งสาร
โปรตีน
กลูโคส ✓
ยูเรีย
น้า ✓ ✓
ไอออนต่าง ๆ ✓ ✓
1 Questions
• เมื่อผ่านการกรองที่โกลเมอรูลัสและ
โบว์แมนส์แคปซูล สารใดกรองผ่านได้
และสารใดกรองผ่านไม่ได้
✓กรองผ่านได้หมดยกเว้นโปรตีนและเม็ด
เลือด
2 Questions
• บริเวณท่อหน่วยไต สารใดถูกดูดกลับเข้าสู่
กระแสเลือด
✓กลูโคส น้า และไอออนต่าง ๆ
3 • สารชนิดใดไม่ถูกดูดกลับเข้ากระแสเลือด
✓ยูเรีย

4 • สารชนิดใดถูกหลั่งจากเลือดเข้าสู่ท่อหน่วยไต
✓ไอออนต่าง ๆ
5 Questions
• ส่วนใดของหน่วยไตที่ทาหน้าที่กรองสารจากเลือด และเพราะ
เหตุใดสารที่กรองได้จึงสามารถเข้าไปในโบว์แมนส์แคปซูลได้
✓“โกลเมอรูลัส”ทาหน้าที่กรองสารจากเลือดโดยอาศัย
“ความดันเลือด”
6 Questions
• เลือดที่เข้ามาที่หน่วยไตแตกต่างจากเลือดที่ออกจากหน่วยไต
อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น
✓เลือดที่เข้ามาที่หน่วยไตจะมีของเสียจากกระบวนการเผา
ผลาญอาหารของร่างกายมากกว่า
7 Questions
• ในคนสุขภาพดี เมื่อตรวจปัสสาวะจะไม่พบสารชนิดใด เพราะ
เหตุใด
✓โปรตีน เม็ดเลือด และกลูโคส เพราะ โปรตีนและเม็ดเลือดมี
ขนาดโมเลกุลใหญ่ ไม่สามารถผ่านเข้ามาที่ท่อหน่วยไตได้
✓ส่วนกลูโคสเป็นสารที่ให้พลังงาน จะถูกดูดกลับหมด
ฉี่ม่วง
• สารเสพติดบางชนิด เช่น ยาบ้า (methamphetamine) กัญชา (marijuana)
ยาอี (ecstasy) มอร์ฟีน (morphine) เฮโรอีน (heroin) เมื่อผ่านไตและไม่
ถูกดูดกลับจะทาให้มีความเข้มข้นสูง และตรวจพบในปัสสาวะได้
• จึงสามารถใช้ตรวจคัดกรองเบื้องต้น (screening test) สาหรับผู้ต้องสงสัยที่
อาจเสพสารเสพติด
• สารเสพติดบางชนิด เช่น ยาบ้า (methamphetamine) กัญชา (marijuana)
ยาอี (ecstasy) มอร์ฟีน (morphine) เฮโรอีน (heroin) เมื่อผ่านไตและไม่
ถูกดูดกลับจะทาให้มีความเข้มข้นสูง และตรวจพบในปัสสาวะได้
• จึงสามารถใช้ตรวจคัดกรองเบื้องต้น (screening test) สาหรับผู้ต้องสงสัยที่
อาจเสพสารเสพติด

You might also like