You are on page 1of 29

• เป็ นชัน้ นอกสุดของโลก

• S wave และ P wave จะเคลื่อนผ่านด้วย


ความเร็วเพิม่ ขึ้นอย่างรวดเร็ว
• ลึกประมาณ 100 กิโลเมตรจากผิวโลก
• ประกอบด้วยหินที่มีคณ ุ สมบัติเป็ นของแข็ง
แบ่งเป็ น 2 บริเวณ
1. เขตที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วลดลง
- ลึกประมาณ 75-250 กิโลเมตร
- หินที่มีสมบัติเป็ นพลาสติก (อุณหภูมิและความ
ดันทาให้แร่ในหินเกิดการหลอมตัว)
- อยู่สว่ นบนของฐานธรณี ภาค
2. เขตที่มีการเปลี่ยนแปลง
- ความเร็วเพิม่ ขึ้นไม่สมา่ เสมอ
- ลึกที่ 400-660 กิโลเมตร
- ส่วนล่างเป็ นของแข็งและมีการเปลีย่ นโครงสร้างแร่
• อยู่ใต้ฐานธรณี ภาค
• มีความเร็วของคลื่นไหวสะเทือนเพิม่ ขึ้นอย่าง
สมา่ เสมอ
• ส่วนล่างเป็ นของแข็ง
• ลึกประมาณ 660-2900 กิโลเมตร จากผิวโลก
• P wave ความเร็วเพิม่ ขึ้นช้าๆ
• S wave ไม่สามารถผ่านได้เพราะมีสถานะเป็ น
ของเหลว
• ลึก 2900 - 5140 กิโลเมตร จากผิวโลก
• P wave และ S wave มีอตั ราเร็วคงที่
• ลึกประมาณ 5140 กิโลเมตรจนถึง
ศูนย์กลางโลก (6370 กิโลเมตร)
• มีสถานะเป็ นของแข็ง
1. เปลือกโลก
2. เนื้ อโลก
3. แก่นโลก
แบ่งได้ 2 ส่วนคือ
1. เปลือกโลกทวีป (continental crust)
2. เปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic crust)

นักเรียนคิดว่ าบริเวณไหนมีความหนามากกว่ ากัน ?


• มีความหนาเฉลีย่ 35-40 กิโลเมตร
• บางบริเวณหนากว่า 70 กิโลเมตร เช่น เทือกเขาหิมาลัย
• ประกอบด้วยหินที่มีธาตุซิลคิ อนและอลูมิเนี ยม เรียกว่า หินไซอัล
• ส่วนใหญ่เป็ นหินแกรโนไดโอไรต์

หินแกรโนไดโอไรต์
• อยู่บริเวณใต้มหาสมุทร หนาประมาณ 5-10 กิโลเมตร
• ประกอบด้วยหินที่ประกอบด้วยธาตุซิลคิ อนและแมกนี เซียม
เรียก หินไซมา
• ส่วนมากเป็ นหินบะซอลต์
• ประกอบด้วยกลุม่ หินเมฟิ ก (หินบะซอลต์และแกบโบร) และ
หินอัลตราเมฟิ ก เช่น หินเพริโดไทต์

หินบะซอลต์ และหินอัลตราเมฟิ ก หินบะซอลต์ รูปหมอน


หินแกบโบร
• เป็ นรอยต่อระหว่างเปลือกโลกกับเนื้ อโลก
• ศึกษาจากกลุม่ หินส่วนล่างของกลุม่ หินโอฟิ
โอไลต์
• รอยต่อโมโฮที่เปลือกโลกมหาสมุทรจะแบ่ง
โดยหินอัลตราเมฟิ กที่แสดงชัน้ กับไม่แสดงชัน้
• มีความหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร
• บางส่วนของหินอยู่ในสถานะหลอมเหลวเรียกว่าหินหนื ด (Magma)
• ชัน้ แมนเทิลนี้ มีความร้อนสูงมาก อุณหภูมิประมาณ 800 – 4300°C
• ประกอบด้วยหินอัคนี เป็ นส่วนใหญ่ กลุม่ หินอัลตราเมฟิ ก
เช่น หินเพริโดไทต์ เป็ นหินต้นกาเนิ ดแมกมา
• ประกอบด้วยเหล็กและแมกนี เซียมซิลเิ กต
• แบ่งเป็ น 2 ชัน้
–แก่นโลกชัน้ นอก
–แก่นโลกชัน้ ใน
• แก่นโลกชัน้ นอก
–มีความลึกจากผิวโลกประมาณ 2,900 – 5,140 กิโลเมตร
–ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิ กเกิลในสภาพที่หลอมละลาย
–มีอณ
ุ หภูมิประมาณ 6200 – 6400 องศาเซลเซียส
–มีความหนาแน่ นสัมพัทธ์ 12.0 และส่วนนี้ มีสถานะเป็ น
ของเหลว
• แก่นโลกชัน้ ใน
–ส่วนที่อยูใ่ จกลางโลกพอดี
–มีความลึกจากผิวโลก 5,140 – 6,370 กิโลเมตร
–มีอณ
ุ หภูมิ 4,300 – 6,200 องศาเซลเซียส
–มีความดันมาก ทาให้สว่ นนี้ จงึ มีสถานะเป็ นของแข็ง
–ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิ กเกิล
–มีความหนาแน่ นสัมพัทธ์ 17.0
1. หินต้นกำเนิดแมกม่ำส่วนใหญ่อยู่บริเวณชั้นเนื้อ
โลกตอนบน ให้นักเรียนบอกประเภท และ
ส่วนประกอบของหินต้นกำเนิกแมกมำ
ตอบ หินอัลตรำเมฟิก มีซิลำกำน้อยกว่ำร้อยละ
45 ประกอบด้วยแมกนีเซียมและเหล็กซิลิเกต
2. คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิมีควำมแตกต่ำงกัน
หรือไม่

ตอบ คลื่นปฐมภูมิผ่ำนตัวกลำงได้ทุกสถำนะ มี
ควำมเร็วมำกกว่ำ
คลื่นทุติยภูมิผ่ำนตัวกลำงได้เฉพำะของแข็ง
3. เมื่อเกิดแผ่นดินไหว ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง จะเกิด
เขตอับทุติยภูมิ ให้นักเรียนใช้ควำมรู้ของคลื่นไหว
สะเทือนและโครงสร้ำงโลกอธิบำยปรำกฏกำรณ์
ดังกล่ำว
ตอบ S wave ไม่สำมำรถ
เคลื่อนที่ผ่ำนแก่นโลกชั้นนอก
ได้เพรำะเป็นของเหลว จึงทำให้
เกิดจุดอัพที่ 103 องศำ จำก
ศูนย์กลำงแผ่นดินไหว
โครงสร้ างโลก

ส่ วนประกอบทาง
คลื่นไหวสะเทือน กายภาพ

แก่ น เปลือก
เนือ้ โลก
โลก โลก
ฐาน แก่ น แก่ น
ธรณี มีโซส เปลือกโลก
ธรณี โลก โลก เปลือกโลกทวีป
ภาค เฟี ยร์ มหาสมุทร
ภาค ชัน้ นอก ชัน้ ใน

You might also like