You are on page 1of 19

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

. การแบ่ งชันโครงสร้ างโลก


. . การแบ่งชันโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี

องค์ ประกอบทางเคมีของโลก
โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา
บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

ธาตุเหล่านีเกิดเป็ นสารประกอบแล้วแยกตัวกันอยูเ่ ป็ นชันๆตามความหนาแน่นทีแตกต่างกัน


นักวิทยาศาสตร์จึงแบ่งโครงสร้างโลกออกเป็ น ชัน ตามองค์ประกอบทางเคมี

เปลือกโลก

, กิโลเมตร เนือโลก

แก่ นโลก

การแบ่ งชันโครงสร้ างโลกตามองค์ ประกอบทางเคมี

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

เปลือกโลก (crust) มีความหนา - กิโลเมตร

เปลือกโลกทวีปมีความหนาแน่ นน้ อยกว่ า


เปลือกโลกมหาสมุทร แต่ เปลือกโลกทวีป
มีความหนามากกว่ าเปลือกโลกมหาสมุทร

เปลือกโลกทวีป เปลือกโลกมหาสมุทร
- พืนทวีป ไหล่ทวีป
- ส่วนทีรองรับทะเลหรื อมหาสมุทร
- ประกอบด้วยหิ นแกรนิต ซึ งมีองค์ประกอบ
- หิ นบะซอลต์ ซึ งมีองค์ประกอบของซิลิกอน
ของซิลิกอนและอะลูมิเนียม
และแมกนีเซียม
โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา
บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

เนือโลก (mantle) มีระดับความลึกประมาณ , กิโลเมตร

นักวิทยาศาสตร์ศึกษาจาก (หิ นแปลกปลอม) พบว่ามีองค์ประกอบหลักเป็ นซิลิกอน แมกนีเซียม


และเหล็กเป็ นส่ วนใหญ่ ดังนันนักวิทยาศาสตร์จึงสรุ ปว่าเนือโลกมีองค์ประกอบหลักเป็ นสารประกอบ
ของซิลิกอน แมกนีเซียมและเหล็ก

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

แก่ นโลก (core) เป็ นโครงสร้ างโลกชันในสุ ดอยู่ทระดั


ี บความลึกตังแต่ , กิโลเมตร
จากผิวโลก จนถึงใจกลางโลก ประกอบด้ วยธาตุเหล็กเป็ นส่ วนใหญ่ และธาตุอนๆได้
ื แก่ นิกเกิล
ออกซิเจน ซิลกิ อน และซัลเฟอร์

แก่ นโลกชันนอก

- แก่ นโลกชันใน (Inner Core) หนาประมาณ


, กิโลเมตร สถานะเป็ นของแข็ง

- แก่ นโลกชันนอก (Outer Core) หนาประมาณ


, กิโลเมตร สถานะคล้ายของเหลว
แก่ นโลกชันใน

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

. . การแบ่ งชันโครงสร้ างโลกตามสมบัตเิ ชิงกล


» นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาคลืนไหวสะเทือนทีเคลือนทีจาก
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
» พบว่าบางบริ เวณสามารถตรวจวัดได้ทงคลื
ั นปฐมภูมิและทุติยภูมิ
» บางบริ เวรไม่สามารถตรวจวัดคลืนปฐมภูมิได้
» บางบริ เวรไม่สามารถตรวจวัดคลืนทุติยภูมิได้
» บางบริ เวรไม่สามารถตรวจวัดทังคลืนทุติยภูมิและทุติยภูมิได้
» เรี ยกบริ เวณเหล่านีว่า เขตอับคลืน (shadow zone) ซึงเป็ นผล
มาจากการสะท้อนและ/หรื อหักเหของคลืน
» จากการตรวจพบเขตอับคลืนทําให้นกั วิทยาศาสตร์ คาดว่ าภาย
ในโลกไม่ ได้ เป็ นเนือเดียวกัน
» พบว่าการเคลือนทีของคลืนไหวสะเทือนมีการเปลียนแปลง
ความเร็ วทีระดับลึกต่างๆ
» จากข้ อมูลข้ างต้ นนักวิทยาศาสตร์ จงึ ใช้ ในการแบ่ งชันโครง
สร้ างโลก
โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา
บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)
ปี พ.ศ. แอนดริจา โมโฮโรวิซิก (Andrija Mohorovicic) นักวิทยาศาสตร์ชาวโครเอเชีย ศึกษาการเคลือนทีของ
คลืนไหวสะเทือนเมือเกิดแผ่นดินไหว พบว่าความเร็ วของคลืนเมือเคลือนทีผ่านตัวกลางต่างชนิดกันมีการหักเห สะท้อนและ
เคลือนทีผ่านด้วยความเร็ วทีแตกต่างกัน จึงสรุ ปว่าโครงสร้างภายในโลกมีการแบ่งชัน

แนวไม่ ต่อเนืองโมโฮโรวิซิก (Mohorovicic discontinuity) เรี ยกสันๆว่า โมโฮ ถูกค้นพบโดย


แอนดริ จา โมโฮโรวิซิก ซึงอยูร่ ะหว่างเปลือกโลกกับเนือโลก โดยความลึกของโมโฮขึนอยู ่
กับความหนาของเปลือกโลกทีวางตัวอยูด่ า้ นบน ซึงโมโฮจะมีความหนาประมาณ . – .
กิโลเมตร

แนวไม่ ต่อเนืองโมโฮโรวิซิก (Mohorovicic discontinuity)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)
จากการศึกษาความเร็ วของคลืนไหวสะเทือนทีเปลียนแปลงไปแต่ละระดับความลึก
จึงได้แบ่งโครงสร้างโลกออกเป็ น ชันคือ
- ธรณี ภาค (lithosphere)
- ฐานธรณี ภาค (asthenosphere)
- มัชฌิมภาค (mesosphere)
- แก่นโลกชันนอก (outer core)
- แก่นโลกชันใน (inner core)

การแบ่ งโครงสร้ างโลกตามสมบัตเิ ชิงกลทีได้ จากการศึกษาการเคลือนทีของคลืนไหวสะเทือนผ่ านชันต่ างๆ ของดครงสร้ างโลกตามระดับความลึก


โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา
บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)
ธรณีภาค (lithosphere)
- เปลือกโลก
- เนือโลกตอนบนสุ ด (uppermost mantle)

» มีสถานะเป็ นของแข็งทีมีสภาพแข็งเกร็ ง (rigidity)


» มีความหนาแน่นเฉลีย . กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
» คลืนปฐมภูมิและคลืนทุติยภูมิเคลือนทีผ่านด้วยความเร็ วทีเพิมขึนอย่างรวดเร็ ว

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

ฐานธรณีภาค (asthenosphere)
-โครงสร้างทีอยูถ่ ดั ลงมาจากธรณี ภาค เป็ นสัดส่ วนของเนือโลกตอนบน (upper mantle)
-มีสถานะเป็ นของแข็งทีมีสภาพพลาสติก (plasticity)
-มีความหนาแน่นเฉลีย . กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
-โครงสร้างโลกชันนีพบลักษณะการเคลือนทีของคลืนไหวสะเทือนทีมีการเปลียนแปลงความเร็ ว
ไม่สม่าเสมออยู่ เขต ดังนี
.เขตความเร็วต่ า (low velocity zone)
- เป็ นเขตทีคลืนปฐมภูมิและทุติยภูมิมีความเร็ วลดลง
- เป็ นบริ เวณทีมีความดันสูงไม่พอทีจะทําให้แร่คงสภาพเป็ นของแข็งจึงทําให้สสารบางส่วน
ในเขตนีหลอมตัวได้
- เป็ นแหล่งกําเนิดลาวา
. เขตเปลียนแปลง (transition zone)
- เป็ นเขตทีคลืนไหวสะเทือนมีความเร็ วเพิมขึนในอัตราทีไม่สม่าเสมอ เนืองจากบริ เวณนีมีการเปลียน
แปลงโครงสร้างของแร่

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

ฐานธรณีภาค (asthenosphere)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

มัชฌิมภาค (mesosphere)

- เป็ นชันทีอยูใ่ ต้ฐานธรณี ภาค


- เป็ นส่ วนของเนือโลกตอนล่าง (lower mantle)
- มีความหนาแน่นเฉลีย . กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
- มีสถานะเป็ นของแข็ง
- คลืนไหวสะเทือนเคลือนทีด้วยความเร็ วเพิมขึนสม่าเสมอ

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

แก่ นโลกชันนอก (outer core)

- ประกอบด้วยสสารทีมีสถานะเป็ นของเหลว
- มีความหนาแน่นเฉลีย กรัมต่อลุกบาศก์เซนติเมตร
- เป็ นเขตทีคลืนปฐมภูมิมีความเร็ วลดลงอย่างฉับพลัน แล้วเพิมขึนอย่างรวดเร็ ว
- คลืนทุติยภูมิไม่สามารถเคลือนทีผ่านได้เพราะองค์ประกอบส่ วนใหญ่มีสถานะเป็ นของเหลว

แก่ นโลกชันนอก

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

แก่ นโลกชันใน (inner core)


- อยูใ่ จกลางของโลก
- มีสถานะเป็ นของแข็ง
- มีความหนาแน่นเฉลีย กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
- มีเพียงคลืนปฐมภูมิจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเท่านันทีเดินทางมาถึงได้ แต่ในทางทฤษฏีเชือว่าเมือคลืน
ปฐมภูมิเคลือนทีผ่านรอยต่อระหว่างแก่โลกชันนอกและแก่นโลกชันใน สามารถทําให้เกิดคลืนทุติยภูมิขึนใหม่ได้
- คลืนทังสองเคลือนทีด้วยความเร็ วค่อนข้างคงที

แก่ นโลกชันใน

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

เพิมเติม : การค้ นพบแนวไม่ ต่อเนือง


เบโน กูเทนเบิร์ก (Beno Gutenberg) นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้คน้ พบแนว
ไม่ ต่อเนืองกูเทนเบิร์ก(Gutenberg discontinuity) ซึงเป็ นรอยต่อระหว่างชันเนือโลกกับแก่นโลก
ชันนอกคลืนปฐมภูมิ มีความเร็ วลดลงอย่างฉับพลัน ขณะทีคลืนทุติยภูมิไม่สามารถเคลือนทีผ่านได้
อิงเง เลห์ มนั น์ (Inge Lehmann) นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ได้คน้ พบรอยต่อระหว่าง
แก่นโลกชันนอกและแก่นโลกชันในเรี ยกว่าแนวไม่ ต่อเนืองเลห์ มนั น์ (Lehmann discontinuity)
โดยคลืนปฐมภูมมีความเร็ วเพิมขึน

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

ความไม่ ต่อเนืองของกูเทนเบิร์ก (Gutenberg Discontinuity) และ ความไม่ ต่อเนืองของเลห์ แมนน์ -บัลเลน


(Lehmann–Bullen discontinuity)
. เปลือกทวีป
. เปลือกมหาสมุทร
. แมนเทิลด้านบน
. แมนเทิลด้านล่าง
. แกนชันนอก
. แกนชันใน
A: ความไม่ต่อเนืองของโมโฮโลวิคซิค
(Mohorovicic discontinuity)
B: ความไม่ต่อเนืองของกูเทนเบิร์ก
(Gutenberg Discontinuity)
C: ความไม่ต่อเนืองของเลห์แมนน์-บัลเลน
(Lehmann–Bullen discontinuity)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา

You might also like