You are on page 1of 74

เอกสารประกอบการสอนรายวิ ชา

วิ ทยาศาสตร์โลกทัง้ ระบบ / ธรณี วิทยาทัวไป


บทที่
โครงสร้างโลก Earth Structure
อาจารย์ ณัฐพล หนูจีนจิ ตร
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon V. 17.8.2563
โครงสร้างโลก
Earth Structure

หัวข้อบรรยาย
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1.2 การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลก

จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี และตามสมบัตเิ ชิงกล พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลทีส่ นับสนุน (สาระที่ 3 ว 3.2 ม. 2/1, ม.6/1, ม.4/1)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 2
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
ทบทวนความรู้เดิม Earth Structure

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 3
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure

“เหตุการณ์ ภเู ขาไฟระเบิด และมีลาวา


ไหลออกจากปากปล่องภูเขาไฟ”

 ลาวาที่ไหลออกมามีลกั ษณะ อย่างไร


 ภูเขาไฟเกิดจากอะไร
 ภายในโลกมีองค์ประกอบเป็ น อย่างไร https://www.youtube.com/watch?v=pfiekJnYHFI

แตกต่างจากหินที่พบบนผิวโลกหรือไม่ อย่างไร

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 4
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
 โครงสร้างภายในโลกมีลกั ษณะ อย่างไร แบ่งออกเป็ นกี่ชนั ้
 ทาไม นักวิทยาศาสตร์จึงสามารถแบ่งโครงสร้างโลกออกเป็ นชัน้ ๆ
 นักวิทยาศาสตร์ทราบได้อย่างไร ว่าแต่ละชัน้ ของโลกมีลกั ษณะและ
องค์ประกอบ อย่างไร

ข้อมูลที่ใช้สืบเสาะหาหลักฐานที่ใช้อธิบายโครงสร้างโลก ดังนี้
1) ข้อมูลกาเนิดโลก
2) ข้อมูลความหนาแน่ นของโลก
3) ข้อมูลการเจาะสารวจหิน
4) ข้อมูลหินภูเขาไฟและหินแปลกปลอม
5) ข้อมูลจากอุกกาบาต
6) ข้อมูลจากคลื่นแผ่นดินไหว

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 5
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1) ข้อมูลกาเนิดโลก

ทีม่ า : Marshak, 2016

ที่มา : fb-Star Hunters Club : ชมรมพรานดารา

• ดาวฤกษ์ต่าง ๆ ไม่ได้กระจัดกระจายอย่างสุ่มในทัวเอกภพ
่ แต่ถกู แรงดึงดูดเข้าไว้ด้วยกันใน ดาราจักร (galaxies)
• ดวงอาทิตย์ กับดาวฤกษ์อื่น ๆ มากกว่า 300 พันล้านดวง รวมเป็ น ดาราจักรทางช้างเผือก (Milky Way galaxy)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 6
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1) ข้อมูลกาเนิดโลก

 สสารของเอกภพเกิดขึน้ ได้อย่างไร
 เกิดครัง้ แรกตอนไหน

• เอ็ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) (1889-1953)


• ทฤษฎีการขยายตัวของเอกภพ (expanding Universe theory)
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 7
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1) ข้อมูลกาเนิดโลก

การสังเคราะห์นิวเคลียสบิกแบง
(Big Bang nucleosynthesis)
สร้างอะตอมทีม่ โี ปรตอนจานวนเล็กน้อย
เลขอะตอม (atomic number) น้อยกว่า 5

 องค์ประกอบส่วนใหญ่ของ
• อะตอม (atoms) อนุภาคย่อยของอะตอม (subatomic particles) เนบิวลาที่มีอายุมาก / น้ อย
นิวตรอน (neutrons) โปรตอน (protons) และอิเล็กตรอน (electrons) คือ ธาตุอะไร เกิดขึน้ ได้อย่างไร ?
• ไฮโดรเจน (H) 1p, 1n และ 1p, 2n → ฮีเลียม (He) 2p, 2n
การหลอมนิวเคลียส (nuclear fusion)
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 8
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1) ข้อมูลกาเนิดโลก

กาเนิดของดาวฤกษ์ดวงแรก ดาวฤกษ์เป็ น “โรงงานธาตุ” เราทุกคนเกิดมาจากดวงดาว


(Birth of the First Stars) (element factory) We are the Star !!

• H → He ดาวฤกษ์ก่อนเกิด (protostar) = ปฏิกิริยาการหลอม (fusion reactions) = อายุน้อย


• He → C, O, Si, Fe → Au, Ag, U (Supernova) = อายุมาก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 9
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1) ข้อมูลกาเนิดโลก

• ระบบสุริยะ (Solar System) มวลส่วนใหญ่ 99.8% คือ ดวงอาทิตย์ /


0.2% ประกอบด้วยสิง่ ต่าง ๆ หลากหลายชนิด สิง่ ทีใ่ หญ่ทส่ี ุดคือ ดาวเคราะห์ (Planet)
• ดาวเคราะห์ คือ วัตถุทโ่ี คจรรอบดาวฤกษ์ มีรปู ทรงเกือบกลม และได้ “กวาดวัตถุอื่น ๆ ออกจากวงโคจรของมัน”
• ดาวพุธ (Mercury) ดาวศุกร์ (Venus) โลก (Earth) ดาวอังคาร (Mars) ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) ดาวเสาร์ (Saturn)
ดาวยูเรนัส (Uranus) และดาวเนปจูน (Neptune) พลูโต (Pluto)
• ดวงจันทร์/ดาวบริวาร (satellite) ดาวเคราะห์น้อย (asteroids) ดาวเคราะห์แคระ (dwarf planets) ดาวหาง (comets

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 10
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1) ข้อมูลกาเนิดโลก

• ดาวเคราะห์ชนั ้ ใน (ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร)


ดาวเคราะห์คล้ายโลก (terrestrial planets)  ดาวเคราะห์วงใน/วงนอก ?
• ดาวเคราะห์ชนั ้ นอก (ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน)
ดาวเคราะห์ยกั ษ์ (giant planets) หรือดาวเคราะห์โจเวียน (Jovian planets)
• ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ ประกอบไปด้วย ไฮโดรเจนและฮีเลียม
ในสถานะแก๊สหรือของเหลว - ดาวแก๊สยักษ์ (gas giants)
• ดาวเนปจูนและดาวยูเรนัส ประกอบไปด้วย ไฮโดรเจนและฮีเลียม และ
น้าสถานะของแข็ง (solid water) แอมโมเนี ย (NH3) และมีเทน (CH4) - ดาวน้าแข็งยักษ์ (ice giants)
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 11
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
1) ข้อมูลกาเนิดโลก

ขัน้ แยกชัน้ (planetary differentiation stage)


• ธาตุทม่ี คี วามหนาแน่นมากจะจมลงสูใ่ จกลางโลก ส่วนธาตุทม่ี ี
ความหนาแน่นน้อยกว่าจะรวมตัวกันอยูด่ า้ นบน
• มีการอัดตัวของธาตุทท่ี าให้เกิดโครงสร้างภายในโลกทีแ่ บ่งเป็ น
3 ชัน้ ได้แก่ เปลือกโลก เนื้ อโลก และแก่นโลก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 12
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
2) ข้อมูลความหนาแน่ นของโลก

 นักวิทยาศาสตร์หาความหนาแน่ นของโลกได้อย่างไร

ความหนาแน่ น = M/V

เส้นรอบวง = 2πr
40 ,000 = 2πr
r  6,370 km
ปริมาตร V = (4/3)πR 3
 1.08 x 1027

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


13
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
2) ข้อมูลความหนาแน่ นของโลก

 นักวิทยาศาสตร์หาความหนาแน่ นของโลกได้อย่างไร
F = mg = GMm/R2
M = gR2/G
 5.97 x 1027
ดังนัน้ ความหนาแน่ น = M/V
= 5.53 g/cm3
• คานวณจาก : ค่าคงทีข่ องความโน้มถ่วง (G = 6.67 x 10 -11 Nm2 /kg 2 )  5.5 g/cm3
อัตราเร่งของความโน้มถ่วงบริเวณผิวโลก (g = 9.8 m/s 2 )

 ความหนาแน่ นโดยเฉลี่ยของโลก = 5.5 g/cm3


ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
14
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
3) ข้อมูลการเจาะสารวจพืน้ ผิวโลก
▪ ภายในโลกมีอุณหภูมแิ ละความดันเพิม่ ขึน้ ตาม
ระดับความลึก
▪ ภายในโลกพบสสารทัง้ ในสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส
▪ นักวิทยาศาสตร์ได้เจาะสารวจและศึกษา
องค์ประกอบทางเคมีของหินบนเปลือกโลก

 เปลือกโลกมีองค์ประกอบหลักเป็ น
สารประกอบของซิลิกอนและอะลูมิเนี ยม
 หินบนพืน้ ผิวโลก / เปลือกโลกทวีปมี
ความหนาแน่ นประมาณ 2.7 g/cm3
 แต่ ... ความหนาแน่ นโดยเฉลี่ยของโลก
= 5.5 g/cm3 !!!

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 15
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
3) ข้อมูลการเจาะสารวจพืน้ ผิวโลก

 ทาไม ความหนาแน่ นของโลกที่ได้จากการคานวณ


จึงมากกว่า หินที่พบบนพืน้ ผิวโลก ถึง 2 เท่า

• ดังนัน้ โลกไม่ได้เป็ นสสารเนื้อเดียวกันทัง้ หมด


ส่วนทีอ่ ยูล่ กึ ลงไปภายในโลกมีความหนาแน่นมากกว่าหินบนผิวโลก
• สันนิษฐานว่าอาจมีธาตุทม่ี มี วลอะตอม หรือ
ความถ่วงจาเพาะมากกว่า
• โลกต้องมีโลหะจานวนมาก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 16
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
4) ข้อมูลหินภูเขาไฟและหินแปลกปลอม

ภูเขาไฟคิลาเว (Kilauea) / หินบะซอลต์


• การเจาะสารวจ ทาให้ทราบว่า โลกมีอณุ หภูมิ
และความดันเพิ่มขึน้ ตามระดับความลึก
• การระเบิดของภูเขาไฟ ทาให้ทราบว่า
ภายใต้ผิวโลกลงไปบางส่วนมีหินหลอมเหลว

 มีหลักฐานใดอีกบ้างที่แสดงว่า
ภายในโลกมีอณ ุ หภูมิสงู
 องค์ประกอบทางเคมีของหินภูเขาไฟ
และหินแปลกปลอม มีลกั ษณะ
เหมือนกัน หรือแตกต่างกันอย่างไร
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 17
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
4) ข้อมูลหินภูเขาไฟและหินแปลกปลอม • นักวิทยาศาสตร์พบหินแปลกปลอม (xenolith) ทีถ่ กู ลาวานาขึน้ มา
จากภายในโลกและศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของหินดังกล่าว
• นักวิทยาศาสตร์จงึ สรุปได้วา่ องค์ประกอบทางเคมีของโลก
ชัน้ ทีอ่ ยูน่ อกสุดและชัน้ ทีอ่ ยูล่ กึ ลงไปแตกต่างกัน
 หินแปลกปลอมมีองค์ประกอบหลักเป็ น
สารประกอบของ ซิลิกอน แมกนี เซียม และเหล็ก
 หินภูเขาไฟ / เปลือกโลกมหาสมุทร มีความหนาแน่ น ประมาณ 3.0 g/cm3
 หินแปลกปลอม มีความหนาแน่ น ประมาณ 3.3 g/cm3
 แต่ ... ความหนาแน่ นโดยเฉลี่ยของโลก = 5.5 g/cm3 !!!

แร่เพอริโดไทต์สเี ขียวมะกอกซึง่ เป็ นหินแปลกปลอมทีต่ ดิ มากับแมกมา


ในระหว่างทีภ่ เู ขาไฟปะทุกลายเป็ นหินบะซอลต์ สีดา ซึง่ เป็ นส่วนประกอบ
สาคัญของแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 18
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
5) ข้อมูลอุกกาบาต

 อุกกาบาตมีความสาคัญเกี่ยวข้องกับการศึกษาส่วนประกอบภายในโลก หรือไม่ อย่างไร


• C-type (Carbonaceous chondrite) อุกกาบาตคาร์บอนมีสคี ล้าเนื่องจากมีองค์ประกอบเป็ นคาร์บอนจานวนมาก
นักวิทยาศาสตร์เชือ่ ว่า อุกกาบาตประเภทนี้เป็ นพาหะนาเชือ้ ชีวติ มาสูโ่ ลก
• S-type (Stone) อุกกาบาตหิน มีองค์ประกอบเป็ น ซิลิกา = crust
• M-type (Metal) อุกกาบาตโลหะ มีองค์ประกอบเป็ น เหล็กและนิเกิล = 90-95% iron = core
• Stony-Iron meteorite (pallasite) = metallic and rocky material = core-mantle boundary
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 19
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
5) ข้อมูลอุกกาบาต ▪ การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของอุกกาบาตทีพ่ บบนพืน้ โลก
พบส่วนประกอบของอุกกาบาตมีสว่ นประกอบคล้ายคลึงกับโลก

 หินบนพืน้ ผิวโลก / เปลือกโลกทวีป มีความหนาแน่ นประมาณ 2.7 g/cm3


 หินภูเขาไฟ / เปลือกโลกมหาสมุทร มีความหนาแน่ น ประมาณ 3.0 g/cm3
หินบนเปลือกโลกมีความหนาแน่ นเฉลี่ย 2.8 g/cm3
 หินแปลกปลอม มีความหนาแน่ น ประมาณ 3.3 g/cm3

แต่ ... โลก มีความหนาแน่ นประมาณ 5.5 g/cm3 !!!

 อุกกาบาตหิน มีความหนาแน่ น ประมาณ 2.1-3.8 g/cm3


 อุกกาบาตหินปนเหล็ก มีความหนาแน่ น ประมาณ 4.5 g/cm3
 อุกกาบาตเหล็ก มีความหนาแน่ น ประมาณ 7.5 g/cm3

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 20
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
5) ข้อมูลอุกกาบาต
 The hard-boiled egg analogy for the earth’s interior.

เปลือกโลก ศึกษาโดยตรง
• สารวจหินบนเปลือกโลก
• การเจาะสารวจใต้พภิ พ
เนื้ อโลก ศึกษาโดยตรง
• ศึกษาหินหินแปลกปลอม
แก่นโลก ศึกษาทางอ้อม
• ศึกษาองค์ประกอบของอุกกาบาตเหล็ก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 21
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

 นักวิทยาศาสตร์ใช้สมบัติใดของคลื่นไหวสะเทือนในการศึกษาโครงสร้างโลก

• นักวิทยาศาสตร์ใช้คลื่นไหวสะเทือน (seismic wave)


โดยใช้สมบัตกิ ารเคลื่อนทีข่ องคลื่นผ่านตัวกลางชนิดต่าง ๆ
มาศึกษาสมบัติเชิงกลของโครงสร้างโลก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 22
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

• คลื่นไหวสะเทือน แบ่งออก เป็ น 2 ประเภท คือ


คลื่นในตัวกลาง (body waves) และ
คลื่นพืน้ ผิว (Surface waves)

• การศึกษาโครงสร้างโลกนัน้ ใช้สมบัตขิ องคลื่นในตัวกลาง


เป็ นหลัก ซึง่ แบ่งออกเป็ น
• คลื่นปฐมภูมิ (Primary wave, P-wave) และ
คลื่นทุติยภูมิ (Secondary wave, S-wave

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 23
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร
คลื่นปฐมภูมิ คลื่นทุติยภูมิ
• เป็ นคลื่นตามยาว เคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางได้ทกุ สถานะ • เป็ นคลื่นตามขวาง เคลื่อนที่ผา่ นได้เฉพาะของแข็ง
• อนุภาคของตัวกลางเกิดการอัดและขยายในทิศทาง • อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ตงั ้ ฉากกับทิศทางการ
เดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น เคลื่อนที่ของคลื่น
• มีความเร็วมากที่สดุ และเดินทางมาถึงเครื่องตรวจวัด
เป็ นอันดับแรก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 24
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

 เมื่อคลื่นไหวสะเทือนเคลื่อนที่ผา่ นโครงสร้างภายในโลก
จะมีลกั ษณะเหมือนดังรูปใด เพราะเหตุใด ?
ตามทฤษฎี
• หากภายในโลกเป็ นเนื้ อเดียวกันโดยตลอด คลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่
ผ่านภายในโลก ความเร็วคงที่และเดินทางเป็ นเส้นตรง

• หากภายในโลกมีความหนาแน่ นและความดันเพิ่มขึน้ เรื่อย ๆ ตามระดับความลึก


คลื่นไหวสะเทือนจะเคลื่อนผ่านภายในโลกด้วย ความเร็วที่เพิ่มขึน้ ตามการเพิ่มขึน้ ของ
ความหนาแน่ นและความดัน และเส้นทางการเคลื่อนที่ของคลื่นจะเบน ไม่เป็ นเส้นตรง

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 25
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

• แต่เมื่อคลื่นไหวสะเทือนเคลื่อนที่ผา่ นภายในโลก
จะมีให้ทิศทางและความเร็วเปลี่ยนแปลงไป ดังภาพ
• พบการหักเห และ/หรือ สะท้อนของคลื่น และ
คลื่นมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว = บริเวณไม่ต่อเนื่ อง

 ภายในโลกแบ่งเป็ นชัน้ !! ที่มีสถานะและความหนาแน่ นของ


ตัวกลางแตกต่างกัน !!

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 26
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน
 ชัน้ ต่าง ๆ ภายในโลกเกิดขึน้ ได้อย่างไร

▪ นักวิทยาศาสตร์จงึ ใช้สมบัตขิ องคลื่นในตัวกลางทีเ่ ดินทางผ่านชัน้ ต่าง ๆ ของโลก


เพือ่ ศึกษาโครงสร้างโลก ทัง้ สถานะของตัวกลางและความลึกของรอยต่อของชัน้ ต่าง ๆ

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 27
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

 รอยต่อ Crust / Mantle


แนวไม่ต่อเนื่ อง
• แนวไม่ต่อเนื่ อง โมโฮโรวิซิก
(Mohorovicic's discontinuity)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 28
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

แผนที่โลกแสดงการกระจายตัวของความหนาเปลือกโลก (ที่มา : www.ucsd.edu)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 29
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

 รอยต่อ Mantle / Core


• คลื่นไหวสะเทือน มีการหักเหทีต่ าแหน่งทีค่ าดว่าเป็ นรอยต่อ
ระหว่างตัวกลางต่างชนิดกัน
• มีบางบริเวณคลื่นไม่สามารถเคลื่อนทีผ่ า่ นได้
• เรียกบริเวณเหล่านี้วา่ เขตอับคลื่น (Shadow Zone)
เป็ นผลมาจากการสะท้อนและ/หรือหักเหของคลื่น

แนวไม่ต่อเนื่ อง
• แนวไม่ต่อเนื่ อง กูเท็นเบิรก์ (Gutenberg discontinuity)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 30
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

 เพราะเหตุใด จึงมีบริเวณที่ไม่พบคลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิ

• การขาดหายไปของสัญญาณคลื่น สันนิษฐานว่า คลื่นคงต้อง


เดินทางไปกระทบกับ ผิวสัมผัสระหว่างชัน้ (interfaces) ทีม่ ี
ความหนาแน่นแตกต่างกัน แล้วเกิดการหักเหคลื่นไปปรากฏ
อีกครัง้ ที่ 140°
• บริเวณเขตอับคลื่นช่วง 104° - 140° นี้วา่ บริเวณ
เขตอับคลื่นปฐมภูมิ (P - Wave Shadow Zone)
• บริเวณหลัง 104° ทัง้ หมดนี้วา่ บริเวณเขตอับคลื่น ลักษณะเส้นทางของคลืน่ ปฐมภูมแิ ละ (ที่มา : Marshak. S., 2016)
ทุติยภูมิ (S - Wave Shadow Zone) คลืน่ ทุตยิ ภูมทิ เี ่ คลือ่ นทีผ่ า่ นโครงสร้างโลก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 31
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

 รอยต่อ Outer Core / Inner Core

▪ การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ และตรวจวัดเวลาเดินทางของคลื่นเพื่อ
คานวณความลึกของผิวสะท้อนคลื่น
▪ ตรวจพบผิวสะท้อน ระหว่างแก่นโลกชัน้ ในและแก่นโลกชัน้ นอก

แนวไม่ต่อเนื่ อง
• แนวไม่ต่อเนื่ อง เลอมาน (Lehmann discontinuity)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 32
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน

หนังสือแต่ละเล่ม
ไม่เหมือนกัน
ให้ยึดตาม สสวท. !!
(ที่มา : Marshak. S., 2016)
บริเวณเขตอับคลื่น
ช่วง 104° - 140°

(ทีม่ า : Tarbuck et al., 2017) (ทีม่ า : Plummer et al., 2017)


ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 33
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.1 ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้างโลก
6) ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือน
ดังนัน้ การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกจึงใช้เกณฑ์ ทัง้ 2 อย่าง
• องค์ประกอบทางเคมี
• หินบนผิวโลก – เปลือกโลกทวีป / เปลือกโลกมหาสมุทร
• หินแปลกปลอมในระดับลึกใต้เปลือกโลกที่ลาวานาขึน้ มา - เนื้ อโลก
• อุกกาบาตเหล็ก - แก่นโลก
• สมบัติเชิงกล หรือ ข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือน
• ความลึกของชัน้ ต่าง ๆ
• แนวไม่ต่อเนื่ อง ระหว่างชัน้ ต่าง ๆ
• สถานะของโลกแต่ละชัน้
• ธรณี ภาค, ฐานธรณี ภาค, มัชฌิมภาค, แก่นโลกชัน้ นอกและแก่นโลกชัน้ ใน

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 34
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี

• ธาตุองค์ประกอบหลัก ประมาณ 90 % คือ เหล็ก ออกซิเจน ซิลิกอน และแมกนี เซียม


• ธาตุทม่ี ปี ริมาณเกิน 1% ได้แก่ นิกเกิล แคลเซียม อลูมเิ นียมและกามะถัน
• ธาตุทเ่ี หลือมีปริมาณอยูร่ ะหว่าง 0.1-1.0% มีทงั ้ หมด 7 ธาตุ คือ
โซเดียม โพแทสเซียม โครเมียม โคบอลต์ ฟอสฟอรัส แมงกานี สและไทเทเนี ยม
• โลกของเราจึงประกอบขึน้ ด้วยธาตุประมาณ 14-15 ธาตุ เท่านัน้

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


35
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี

• ธาตุเหล่านี้เกิดเป็ นสารประกอบแล้วแยกตัวกันอยูเ่ ป็ นชัน้ ๆ


ตามความหนาแน่นทีแ่ ตกต่างกัน
• 99% เป็ นองค์ประกอบของชัน้ เนื้ อโลกกับชัน้ แก่นโลก
• สัดส่วนเปลือกโลกน้อยมากเมือ่ เทียบกับเนื้อโลกและแก่นโลกรวมกัน

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


36
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี

เปลือกโลก (crust)

• เป็ นชัน้ นอกสุดทีห่ อ่ หุม้ โลก


• มีความหนาระหว่าง 5-70 กิโลเมตร
• ประกอบด้วย เปลือกโลกทวีป และเปลือกโลกมหาสมุทร
• องค์ประกอบทางเคมีของ ส่วนเปลือกโลกทวีป กับ เปลือกโลก
มหาสมุทร เป็ น หินซิลิเกตทัวไป ่ (Normal Silicate Rocks)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


37
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี เปลือกโลกทวีป (continental crust)
• ความหนาระหว่าง 35-70 กิโลเมตร
• ความหนาแน่ นเฉลี่ย 2.7 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
• มีทงั ้ ทีเ่ ป็ นพืน้ ทวีปและไหล่ทวีป (continental shelf)
ประกอบด้วยหินแกรนิตเป็ นส่วนใหญ่
• องค์ประกอบหลักเป็ นสารประกอบของ
ซิลิกอนและอะลูมิเนี ยม (Si-Al)
• เรียกเปลือกโลกทวีปว่า “ไซอัล” (SIAL)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


38
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี เปลือกโลกมหาสมุทร (oceanic crust)
• หนาประมาณ 5-10 กิโลเมตร
• ความหนาแน่ นเฉลี่ย 3.0 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
• เป็ นส่วนทีร่ องรับทะเลหรือมหาสมุทร
ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินบะซอลต์
• องค์ประกอบหลักเป็ นสารประกอบของ
ซิลิกอนและแมกนี เซียม (Si-Ma)
• เรียกเปลือกโลกมหาสมุทรว่า “ไซมา” (SIMA)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


39
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี เนื้ อโลก (mantle)
• ซิลิกอน แมกนี เซียม และเหล็ก
• นักวิทยาศาสตร์จงึ สันนิษฐานว่าเนื้ อโลกมี
องค์ประกอบเช่นเดียวกับหินแปลกปลอม
• ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนทีเ่ คลื่อนทีผ่ า่ นในโลกทาให้
ทราบว่า เนื้ อโลกมีขอบเขตตัง้ แต่ใต้เปลือกโลก
จนถึงระดับความลึกประมาณ 2,900 กิโลเมตร

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


40
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี แก่นโลก (core)
• ความหนาแน่นของธาตุทเ่ี ป็ นองค์ประกอบของอุกกาบาต
เหล็ก มีคา่ ใกล้เคียงกับความหนาแน่นของโลกทีค่ านวณได้
จาก กฏแรงโน้ มถ่วงสากลของนิวตัน
• เหล็กและนิกเกิล
• ข้อมูลจากคลื่นไหวสะเทือนทีเ่ คลื่อนทีผ่ า่ นโลก สันนิษฐานว่า
แก่นโลกอยู่ที่ระดับความลึกตัง้ แต่ 2,900 กิโลเมตรจาก
ผิวโลก จนถึงใจกลางโลก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 41
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
1) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามข้อมูลองค์ประกอบทางเคมี
 เปลือกโลก เนื้ อโลก และแก่นโลก
มีองค์ประกอบทางเคมี
เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
โครงสร้าง ธาตุที่เป็ นองค์ประกอบเหมือนกัน ธาตุที่เป็ น
ภายในโลก องค์ประกอบ
ต่างกัน
เปลือกโลก ซิลคิ อน ออกซิเจน แมกนีเซียม เหล็ก อะลูมเิ นียม แคลเซียม
โซเดียม โพแทสเซียม
เนื้อโลก -
แก่นโลก - - - นิกเกิล

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 42
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก กิจกรรมสืบเสาะจากแบบจาลอง
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


43
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล กิจกรรมสืบเสาะจากแบบจาลอง

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


44
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล กิจกรรมสืบเสาะจากแบบจาลอง

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 45
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล กิจกรรมสืบเสาะจากแบบจาลอง

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


46
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

• การสารวจโดยวิธที างอ้อมด้วยคลื่นไหวสะเทือน
ทาให้ทราบช่วงความลึกต่าง ๆ (Depth
Regions) ภายในโลก
• องค์ประกอบต่าง ๆ ภายในโลกไม่ได้เป็ น
เนื้ อเดียวกัน และได้แบ่งโครงสร้าง โลก
ออกเป็ น 5 ชัน้ คือ
• ธรณี ภาค (lithosphere)
• ฐานธรณี ภาค (asthenosphere)
• มัชฌิมภาค (mesosphere)
แก่นโลกชัน้ นอก (outer core) และ
• แก่นโลกชัน้ ใน (inner core)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


47
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

1) ธรณี ภาค (Lithosphere) ความลึก 0-100 กิโลเมตร


• ประกอบด้วยเปลือกโลกและเนื้ อโลกตอนบนสุด (crust+upper mantle)
• มีสถานะเป็ น ของแข็งที่มีสภาพแข็งเกร็ง (rigidity)
• ความหนาแน่นเฉลีย่ 2.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ทาให้
คลื่นปฐมภูมิและคลื่นทุติยภูมิเคลื่อนที่ ผ่านด้วยความเร็วที่เพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ว

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


48
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล
2) ฐานธรณี ภาค (asthenosphere) ความลึก 100-660 กิโลเมตร
• เป็ นส่วนของ เนื้ อโลกตอนบน (upper mantle)
• มีสถานะเป็ น ของแข็งที่มีสภาพพลาสติก (plasticity) พร้อมที่จะไหลได้ มีบทบาทอย่างยิง่ ต่อ
การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี (Plate Tectonic)
• ความหนาแน่นเฉลีย่ 3.3 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
• พบลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นไหวสะเทือนที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วไม่สมา่ เสมออยู่ 2 เขต

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


49
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล
เขตความเร็วตา่ (low velocity zone) ที่ความลึก 100-250 กิโลเมตร
• เป็ นเขตที่คลื่น P และ S มีความเร็วลดลง
• แสดง ความไม่เป็ นเนื้ อเดียวกันอย่างกว้างขวาง (regional heterogeneous) ทัง้ ทางดิง่ และทางราบ สันนิษฐานว่า
หินในบริเวณนี้ มีอณ ุ หภูมิใกล้จดุ หลอมเหลวและมีค่าความยืดหยุ่นน้ อย ทาให้คลื่นแผ่นดินไหวมีความเร็วลดลง
• การหลอมตัวบางส่วน (Partially Melting) ประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ จากวัสดุที่มีองค์ประกอบซิลิเกตเข้มข้น
กลายเป็ นหินหนื ดเป็ นแหล่งกาเนิดของแมกมา

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


50
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

• เมือ่ หินหนืดรวมตัวกันมากขึน้ จะยกตัวแทรกตัดชัน้ หินเปลือกโลกขึน้ มา


เป็ นลาวาของหินบะซอลต์ วัสดุทห่ี ลอมตัวไม่หมดหรือหลอมไม่ได้อาจถูก
อุม้ ขึน้ มาด้วย กลายเป็ น หินแปลกปลอมทีพ่ บในหินบะซอลต์
• หินแปลกปลอมดังกล่าวจึงอาจเป็ นองค์ประกอบบางส่วนของ
ชัน้ เนื้อโลกส่วนบน

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 51
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล
เขตเปลี่ยนแปลง (transition zone) ที่ความลึก 400 – 660 กิโลเมตร
• เป็ นเขตที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วเพิ่มขึน้ ในอัตราที่ไม่สมา่ เสมอ พบความเบี่ยงเบนความเร็วคลื่นเพิ่มขึน้ ชัดเจน
• บริเวณนี้ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแร่ หรือองค์ประกอบทางเคมีมีความแตกต่างกัน
• ทีค่ วามลึก 660 กิโลเมตร มีการแตกตัวของแร่ต่าง ๆ ไปเป็ นออกไซต์ของเหล็ก ออกไซต์ของแมกนี เซียม
และซิลิกอนไดออกไซต์ ทาให้ความหนาแน่นเพิม่ ขึน้ ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 52
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

• แร่ โอลิวีน มีการเปลีย่ นแปลงลักษณะโครงสร้าง (Transform Structure


Zone) เกิดการอัดตัวกันแน่นขึน้ เป็ น สปิเนล
• เนื้อโลกส่วนบนบางส่วนขึน้ มาอยูบ่ นผิวโลกซึง่ ประกอบด้วย หินดันไนต์
(dunnite) หินเอโคไจต์ (eclogite) และหินเพริโดไทต์ (perodotite)

ความดันทีเ่ พิม่ ขึน้ ทาให้โครงสร้างของแร่เปลีย่ นไป

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


53
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

3) มัชฌิมภาค (mesosphere) ที่ความลึก 660-2,900 กิโลเมตร


• ส่วนของเนื้อโลกตอนล่าง (lower mantle)
• มีความหนาแน่นเฉลีย่ 5.5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
• มีสถานะเป็ นของแข็ง เป็ นบริเวณที่คลื่นไหวสะเทือนเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วเพิ่มขึน้ อย่างสมา่ เสมอ แสดงลักษณะ เนื้ อหนึ่ งเดียวกัน
(Uniform)
• ที่ความลึก 2,900 กิโลเมตร คลื่น P มีความเร็วลดลงชัดเจนมากที่สดุ
ผิวสะท้อน/หักเหคลื่นนี้ ใช้ในการกาหนดชัน้ รอยต่อระหว่างแก่นโลกกับ
เนื้ อโลก คลื่น S ไม่สามารถส่งผ่านตัวกลางที่มีสถานะของเหลวของ
ชัน้ แก่นโลกชัน้ นอก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 54
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

• ความดันทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามความลึก ทาให้โครงสร้างของผลึกแร่


หนาแน่นมากขึน้ ประกอบด้วยธาตุเหล็กในปริมาณทีม่ าก
ขึน้ กว่าชัน้ เนื้อโลกส่วนบน และเป็ นของผสมระหว่างแร่ทม่ี ี
องค์ประกอบเป็ น
• เหล็ก – แมกนี เซียม ซิลิเกต (Mg - Fe)SiO3 กับ
• เหล็ก - แมกนี เซียม ออกไซด์ (Mg - Fe)O

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 55
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

4) แก่นโลกชัน้ นอก (outer core)


ที่ความลึก 2,900-5,155 กิโลเมตร
• มีความหนาแน่นเฉลีย่ 10 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
• ส่วนประกอบเป็ น นิเกิลและเหล็กผสม และอาจมีธาตุทเ่ี บากว่า
เช่น กามะถัน ผสมอยูไ่ ด้เล็กน้อย
• คลื่น P มีความเร็วลดลงอย่างฉับพลัน จาก 13.6 กิโลเมตร เป็ น 8.1 กิโลเมตร
ต่อวินาที จากนัน้ ความเร็วจึงเพิม่ ขึน้ คลื่น S ไม่สามารถเคลื่อนที่ผา่ นชัน้
ดังกล่าวได้ ทาให้เชื่อว่าประกอบด้วยสารที่มีสถานะเป็ นของเหลว

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 56
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล
• มีสถานะเป็ นของเหลว (liquid) มีธรรมชาติเป็ นของไหล (fluid)
เป็ นส่วนทีท่ าให้เกิดสนามแม่เหล็กโลก (magnetic field)
• การทีว่ ตั ถุมสี ภาพเป็ นของเหลวในโลกได้ เนื่ องจากอุณหภูมิที่สงู
และมีอิทธิพลมากกว่าความกดดัน ทาให้เกิดการหลอมเหลว
ของวัตถุ

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 57
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
1.2 การแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก
2) การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกล

5) แก่นโลกชัน้ ใน (inner core) ที่ความลึก 5,155-6,137 กม


• มีสถานะเป็ นของแข็ง มีความหนาแน่นเฉลีย่ 12 g/cm3
• ความดันเพิ่มขึน้ และมีอิทธิพลมากกว่าอุณหภูมิ ทาให้วตั ถุ
กลายเป็ นของแข็งอีกครัง้ ในแก่นโลกชัน้ ใน
• ทีค่ วามลึกประมาณ 5,100 กิโลเมตร คลื่น P กลับมีความเร็วเพิม่ ขึน้
• มีเพียงคลื่น P จากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเท่านัน้ ที่เดินทางมาถึงได้
ทาให้เชื่อได้ว่า แก่นโลกส่วนใน ควรมีสภาพเป็ นของแข็ง
(solid outer core)
• แต่ในทางทฤษฎีเชือ่ ว่าเมือ่ คลื่น P ทีผ่ า่ นรอยต่อระหว่างแก่นโลก
ชัน้ นอกและแก่นโลกชัน้ ใน ทาให้เกิดคลื่นทุตยิ ภูมขิ น้ึ ใหม่ได้
• คลื่นทัง้ สองเคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วค่อนข้างคงที่
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
58
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
ความรู้เพิ่มเติม
การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน

การเปลี่ยนโหมดของคลื่นไหวสะเทือน (Mode conversion)


ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
59
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
ความรู้เพิ่มเติม
การเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิตามความลึกของโลก
• การเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิตามความลึกของโลก (geothermal gradient)
ที่มีค่าอยู่ในช่วงประมาณ 2.0-2.5 องศาเซลเซียส (°C) ต่อความลึก 100 เมตร
หรือประมาณ 20-25 °C ต่อ 1 กิโลเมตร

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 60
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
ความรู้เพิ่มเติม
ความร้อนภายในโลก

• ในระยะแรกเกิดจากกลุ่มดาววิง่ มาชนโลก และ


การแบ่งแยกนิวเคลียร์ ทาให้โลกส่วนลึกร้อนขึน้ เหล็ก
และโลหะอื่นจะหลอมแล้วจมตัวลงสูแ่ ก่นโลก
• ธาตุรศั มีอะตอมใหญ่ + สารระเหยต่าง ๆ +
ธาตุกมั มันตรังสี (K, U, Th) → การไหลของ
ความร้อนจากการแบ่งแยกนิวเคลียร์
• เมือ่ อุณหภูมขิ องโลกสูงขึน้ ความร้อนเคลื่อนสู่ผวิ โลกโดย
การแผ่รงั สี การพาและการนาความร้อน ก่อให้เกิด
การหลอมเหลวบางส่วนบริเวณเปลือกโลก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


61
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
ความรู้เพิ่มเติม
แนวไม่ต่อเนื่ อง

• แนวไม่ต่อเนื่ อง โมโฮโรวิซิก
• แนวไม่ต่อเนื่ อง กูเทนเบิรก์
• แนวไม่ต่อเนื่ อง เลห์มนั น์

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


62
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส.
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
ความรู้เพิ่มเติม
แก่นโลก

• แก่นโลกเป็ นโลหะผสมระหว่าง นิกเกิลกับเหล็ก (Ni-Fe Metallic Alloy)


• ถ้าเป็ นนิกเกิลและเหล็กล้วน ๆ ทัง้ หมด ความหนาแน่นรวมของโลกจะมีคา่ สูงมาก
เกินไป ดังนัน้ จึงควรจะมีธาตุเบากว่านี้มาประกอบกันอยูบ่ า้ ง โดยธาตุทน่ี ่าเป็ นไป
ได้มอี ยู่ 2 ตัว คือ กามะถัน กับ ออกซิเจน
• ปั จจุบนั พบมลทินของกามะถันในอุกกาบาตได้บอ่ ยกว่าออกซิเจน โดยพบใน
อุกกาบาต ซี-1 คอนไดรต์ (C1-chondrite meteorite)* เป็ นปริมาณถึงประมาณ
10 เปอร์เซ็นต์โดยน้าหนัก

*C1 chondrites are a group of rare stony meteorites belonging to


the carbonaceous chondrites.

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 63
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
สรุป
• ข้อมูลสาคัญในการสนับสนุนการแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกทัง้ การแบ่งตามองค์ประกอบทางเคมีและการแบ่งตามสมบัติเชิงกล เช่น
องค์ประกอบทางเคมีของหิน อุกกาบาตเหล็ก และข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ภายในโลก สามารถนามาใช้อธิบายสมบัติ
เชิงกลและองค์ประกอบทางเคมีของโครงสร้างโลกแต่ละชัน้
• การศึกษาโครงสร้างโลกจากข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนทีเ่ คลื่อนทีผ่ า่ นโลกนัน้ จะใช้สมบัตขิ องคลื่นในตัวกลางเป็ นหลัก ซึง่ แบ่งออกเป็ น
คลื่นปฐมภูมิที่เคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางได้ทกุ สถานะ และคลื่นทุติยภูมิไม่สามารถเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางที่มีสถานะเป็ นของเหลว
และแก๊สได้ โดยคลื่นทัง้ สองชนิดจะเปลี่ยนแปลงความเร็วเมื่อเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางต่างชนิดกัน
• การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกโดยใช้องค์ประกอบทางเคมีแบ่งได้เป็ น 3 ชัน้ ได้แก่ เปลือกโลก เนื้ อโลก และแก่นโลก
โดยเปลือกโลกมีองค์ประกอบหลักเป็ นซิลกิ อนและอะลูมเิ นียม เนื้อโลกมีองค์ประกอบหลักเป็ นสารประกอบของซิลกิ อน เหล็กและ
แมกนีเซียม แก่นโลกมีองค์ประกอบหลักเป็ นเหล็กและนิกเกิล
• การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกตามสมบัติเชิงกลแบ่งได้เป็ น 5 ชัน้ ได้แก่ ธรณี ภาค ฐานธรณี ภาค มัชฌิมภาค แก่นโลกชัน้ นอก
และแก่นโลกชัน้ ใน ซึง่ แต่ละชัน้ มีสมบัตแิ ตกต่างกัน โดยวิเคราะห์ได้จากความเร็วในการเคลื่อนทีข่ องคลื่นไหวสะเทือนทีเ่ ปลีย่ นไป
ในแต่ละระดับ ความลึกเมือ่ เคลื่อนทีผ่ า่ นชัน้ โครงสร้างโลก

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 64
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
สรุป

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 65
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
สรุป

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 66
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
สาระสาคัญ Earth Structure

• การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ขอ้ มูลสาคัญในการสนับสนุน
การแบ่งชัน้ โครงสร้างโลกทัง้ การแบ่งตาม
องค์ประกอบทางเคมี เช่น องค์ประกอบทางเคมีของ
หิน อุกกาบาตเหล็ก และการแบ่งตามสมบัติเชิงกล
เช่น ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนทีเ่ คลื่อนทีภ่ ายในโลก
• ข้อมูลดังกล่าวนามาใช้เป็ นเกณฑ์ในการแบ่งโครงสร้าง
โลกแต่ละชัน้

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 67
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ Earth Structure

เนื้ อหา ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้เพิ่ มเติ ม สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่ มเติ ม


โครงสร้างโลก
โครงสร้างภายในโลกตาม ม.2/4 สร้างแบบจาลองที่อธิ บายโครงสร้างภายในโลกตาม • โครงสร้างภายในโลกแบ่งออกเป็ นชัน้ ตามองค์ประกอบทางเคมี ได้แก่
องค์ประกอบทางเคมี องค์ประกอบทางเคมีจากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ เปลือกโลก ซึง่ อยูน่ อกสุด ประกอบด้วยสารประกอบของซิลกิ อนและอลูมเิ นียม
เป็ นหลัก เนื้อโลกคือส่วนทีอ่ ยูใ่ ต้เปลือกโลกลงไปจนถึงแก่นโลก มีองค์ประกอบ
หลักเป็ นสารประกอบของซิลกิ อน แมกนีเซียมและเหล็ก และแก่นโลกคือส่วนที่
อยูใ่ จกลางของโลก มีองค์ประกอบหลักเป็ นเหล็กและนิกเกิล ซึง่ แต่ละชัน้ มี
ลักษณะแตกต่างกัน
การแบ่งชัน้ และสมบัติ ม.6/1 อธิ บายการแบ่งชัน้ และสมบัติของโครงสร้างโลก • การศึกษาโครงสร้างโลกใช้ขอ้ มูลหลายด้าน เช่น องค์ประกอบทางเคมีของหิน
ของโครงสร้างโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลที่สนับสนุน และแร่ องค์ประกอบทางเคมีของอุกกาบาต ข้อมูลคลื่นไหวสะเทือนทีเ่ คลื่อนที่
*ม. 4/1 อธิบายการแบ่งชัน้ และสมบัตขิ องโครงสร้างโลก ผ่านโลก จึงสามารถแบ่งชัน้ โครงสร้างโลก ได้ 2 แบบ คือ โครงสร้างโลกตาม
พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลทีส่ นับสนุ น องค์ประกอบทางเคมี แบ่งได้เป็ น 3 ชัน้ ได้แก่ เปลือกโลก เนื้อโลก และ
แก่นโลก และโครงสร้างโลกตามสมบัตเิ ชิงกล แบ่งได้เป็ น 5 ชัน้ ได้แก่ ธรณี
ภาค ฐานธรณีภาค มัชฌิมภาค แก่นโลกชัน้ นอก และแก่นโลกชัน้ ใน
*นอกจากนี้ ยังมีการค้นพบรอยต่อระหว่างชัน้ โครงสร้างโลก เช่น แนวแบ่งเขต
โมโฮโรวิซกิ แนวแบ่งเขตกูเทนเบิรก์ แนวแบ่งเขตเลห์แมน
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 68
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
มโนทัศน์ ที่คลาดเคลื่อน
มโนทัศน์ ที่คลาดเคลื่อน มโนทัศน์ ที่ถกู ต้อง
• เนื้อโลกมีสถานะเป็ นของเหลวทัง้ หมด และภายในโลกมีสถานะ • มีบางส่วนของเนื้อโลกเท่านัน้ ทีม่ สี ถานะเป็ นของเหลว และภายในโลกมี
เป็ นของเหลว มีเพียงเปลือกโลกเท่านัน้ ทีม่ สี ถานะเป็ นของแข็ง สถานะทัง้ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer,
(King, 2010; Philips, 1991; SERC, 2019) McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012)

• บริเวณแก่นโลกมีลกั ษณะกลวง (Penny, 2013; SERC, 2019) • แก่นโลกเป็ นส่วนทีอ่ ยูล่ กึ ทีส่ ดุ ภายในโลก ประกอบไปด้วยโลหะผสมของธาตุ
เหล็กและนิกเกิล (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer, McGeary & Carlson,
2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012)
• เปลือกโลกและธรณีภาคเป็ นสิง่ เดียวกัน (King, 2010; SERC, 2019) • เปลือกโลกและธรณีภาคไม่ใช่สงิ่ เดียวกัน ธรณีภาคเป็ นบริเวณของเปลือกโลก
และส่วนบนสุดของเนื้อโลกรวมกัน มีความหนาตัง้ แต่ผวิ โลกลึกลงไปถึงที่
ระดับความลึกประมาณ 100 กิโลเมตร (Hamblin & Christiansen, 2001; Plummer,
McGeary & Carlson, 2001; Skinner & Porter, 1989; Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2012)

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 69
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
แบบฝึ กหัดท้ายบท
1. เติมอักษรจากข้อความด้านขวาที่มีความสัมพันธ์กนั กับคาศัพท์ที่กาหนดให้
1) เปลือกโลก ...................c, k a. ประกอบด้วยแร่ทเ่ี ป็ นสารประกอบของซิลกิ อน ออกซิเจน แมกนีเซียม และเหล็ก
2) เปลือกโลกทวีป ...................c b. ประกอบด้วยเหล็กและนิกเกิล
3) เปลือกโลกมหาสมุทร ...................- c. ประกอบด้วยหินแกรนิต หรือหินบะซอลต์เป็ นส่วนใหญ่
4) เนื้อโลก ................... a, i d. เป็ นของแข็ง อุณหภูมติ ่า ความหนาแน่นน้อยทีส่ ดุ หนาประมาณ 100 กิโลเมตร
5) แก่นโลก ...................b, j e. เป็ นของแข็ง อุณหภูมสิ งู ความหนาแน่นมาก หนาประมาณ 2,240 กิโลเมตร
6) ธรณีภาค ...................d f. เป็ นของแข็งอุณหภูมสิ งู มาก ความหนาแน่นมากทีส่ ดุ หนาประมาณ 1,230 กิโลเมตร
7) ฐานธรณีภาค ...................g g. เป็ นของแข็งทีม่ สี มบัตเิ ป็ นพลาสติก อุณหภูมสิ งู หนาประมาณ 600 กิโลเมตร
8) มัชฌิมภาค ...................e h. เป็ นของเหลว อุณหภูมสิ งู มาก ความหนาแน่นมาก หนาประมาณ 2,255 กิโลเมตร
9) แก่นโลกชัน้ นอก ..................h, m i. ความหนาแน่นเฉลีย่ 4.5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
10) แก่นโลกชัน้ ใน ...................f j. ความหนาแน่นเฉลีย่ 13 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
k. ความหนาแน่นเฉลีย่ 2.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
l. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของหินก้อนหนึ่งพบว่าเป็ นหินแกรนิต
m. คลืน่ ทุตยิ ภูมไิ ม่สามารถเคลือ่ นทีผ่ า่ นได้

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 70
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
แบบฝึ กหัดท้ายบท
2. ทาเครื่องหมาย √ หน้ าข้อความที่ถกู และทาเครื่องหมาย x หน้ าข้อความที่ผิด
คาตอบ ข้อความ
√ 1. การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของชัน้ เนื้อโลกส่วนหนึ่งได้ตวั อย่างมาจากหินแปลกปลอมในระดับลึกทีล่ าวาพาขึ้นมาบนผิวโลก
√ 2. ผลจากการศึกษาอุกกาบาตเหล็กทีต่ กลงมายังโลก เป็ นหลักฐานหนึ่งทีท่ าให้ทราบองค์ประกอบของแก่นโลก
√ 3. ถ้าแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี แก่นโลกเป็ นโครงสร้างชัน้ ทีม่ คี วามหนามากทีส่ ดุ
x 4. เปลือกโลกทวีปประกอบด้วยหินบะซอลต์เป็ นส่วนใหญ่
x 5. เปลือกโลกทวีปมีความหนาแน่นเฉลีย่ มากกว่าเปลือกโลกมหาสมุทร
√ 6. แหล่งกาเนิดคลืน่ ไหวสะเทือนมีทงั ้ ทีม่ าจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ และจากการกระทาของมนุ ษย์
x 7. คลืน่ ปฐมภูมมิ คี วามเร็วเพิม่ ขึน้ เมือ่ เคลือ่ นทีผ่ า่ นธรณีภาคและมัชฌิมภาคและมีความเร็วเป็ นศูนย์เมื่อเคลือ่ นทีผ่ า่ นแก่นโลกชัน้ นอก
√ 8. คลืน่ ทุตยิ ภูมไิ ม่สามารถเคลือ่ นทีผ่ า่ นโครงสร้างโลกทีม่ สี ถานะเป็ นของเหลวได้
x 9. คลืน่ ปฐมภูมมิ คี วามเร็วน้อยกว่าคลืน่ ทุตยิ ภูม ิ เมือ่ คลืน่ ทัง้ สองเคลือ่ นทีผ่ า่ นชัน้ ฐานธรณีภาค
x 10. เขตความเร็วต่าอยูใ่ นชัน้ ธรณีภาค และเขตเปลีย่ นแปลงอยูใ่ นชัน้ ฐานธรณีภาค

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 71
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
แบบฝึ กหัดท้ายบท

3. ตอบคาถาม ดังต่อไปนี้

1) หินหนื ดที่ปะทุขึน้ มาบนผิวโลก มีแหล่งกาเนิดมาจากชัน้ โครงสร้างใด


2) เขตความเร็วตา่ มีสมบัติแตกต่างจากชัน้ ธรณี ภาคอย่างไร
3) เพราะเหตุใดคลื่นไหวสะเทือนจึงเกิดการสะท้อนและหักเหเมื่อเคลื่อนที่ผา่ นโครงสร้างโลก
4) ชัน้ เนื้ อโลกประกอบด้วยสสารในสถานะใด เป็ นส่วนใหญ่
5) เพราะเหตุใดผลการศึกษาอุกกาบาตเหล็กจึงใช้เป็ นข้อมูลอธิบายองค์ประกอบของแก่นโลกได้
6) นอกจากผลการศึกษาอุกกาบาตเหล็กแล้ว หลักฐานใดช่วยสนับสนุนว่าแก่นโลกประกอบด้วยเหล็กเป็ น
ส่วนมาก
7) หลักฐานใดที่นามาใช้ยืนยันว่าแก่นโลกชัน้ นอกเป็ นของเหลว
8) คลื่นทุติยภูมิที่เกิดขึน้ ใหม่เมื่อคลื่นปฐมภูมิเคลื่อนที่ผา่ นแก่นโลกชัน้ นอกเข้าไปยังแก่นโลกชัน้ ใน สามารถ
เดินทางออกมาที่ผิวโลกได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”


สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 72
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
โครงสร้างโลก
Earth Structure
 สื่อการสอน
สื่อการสอน – กาเนิดระบบสุริยะ กาเนิดโลก สื่อการสอน – คลื่นปฐมภูมิ / คลื่นทุติยภูมิ [สสวท]
▪ สื่อ กาเนิดโลกและสิ่งมีชีวิต (CU)
▪ สื่อ กาเนิดระบบสุริยะ (สสวท.) ▪ สื่อ  P-wave / คลื่นปฐมภูมิ
▪ สื่อ กาเนิดโลก (Nat Geo) ▪ สื่อ  S-wave / คลื่นปฐมภูมิ
▪ สื่อ โครงสร้างโลก (CU) ▪ สื่อ  L / R-wave / คลื่นปฐมภูมิ
สื่อการสอน – [IRIS Earthquake Science] ▪ สื่อ  P-wave / คลื่นปฐมภูมิ
▪ สื่อ Layers of the Earth—What are they How were they found ▪ สื่อ  S-wave / คลื่นทุติยะภูมิ
▪ สื่อ Earthquake Sends Seismic Waves to one station ▪ สื่อ  การเคลื่อนที่ของ P-wave
▪ สื่อ Seismic Waves Travel Curving Path Thru Earth ▪ สื่อ  การเคลื่อนที่ของ S-wave
▪ สื่อ Seismic Shadow Zones—P & S wave shadow zones
▪ สื่อ Shadow Zones—Seismic waves Vs Light waves ▪ สื่อ  เวลาในการเคลื่อนที่ของคลื่น P และคลื่น S
▪ สื่อ Demonstrating P and S Seismic Waves ▪ สื่อ  การเคลื่อนที่ของคลื่น P และคลื่น S ผ่าน โครงสร้างโลก
▪ สื่อ Demonstrating Seismic Shadow
ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา”
สาขาวิ ทยาศาสตร์ท ั ่วไป คณะครุศาสตร์ มรส. 73
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
เอกสารอ้างอิง
Note

อาจารย์ ตูน • Marshak, 2018


ศูนย์การเรียนรู้ “ดาราศาสตร์และวิ ทยาศาสตร์โลกศึกษา” • Tarbuck, Lutgens & Tasa, 2018
สาขาวิ ทยาศาสตร์ทวไป
ั ่ คณะครุศาสตร์ มรส. 74
https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon
• Plummer, McGeary & Carlson, 2017

You might also like