You are on page 1of 90

เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.

ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Summary of Astronomy
1. Spherical Astronomy
➢ ลักษณะของทรงกลมท้องฟ้า
➢ ระบบพิกัด
➢ Sun-Earth Relationship
➢ Spherical Trigonometry
➢ Coordinate transformation
➢ Circumpolar Star
➢ Time
➢ ตารางเปรียบเทียบเวลาต่าง
➢ Solar Day VS Sidereal Day
2. Astrometry
➢ Angular Size
➢ Total Velocity
➢ Doppler Effect
➢ Proper Motion
➢ Parallax
3. Planetary Phenomena
➢ Positions of Planets
➢ มุมการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์
➢ Synodic Period
➢ Maximum Elongation
➢ Phase
4. Blackbody Radiation
➢ Surface Flux
➢ Luminosity
➢ Brightness
➢ Magnitude
➢ Wien’s displacement law
1
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ Harvard spectral classification


➢ H-R diagram
➢ Mass-Luminosity Relation
➢ Subsolar Temperature
5. Celestial Mechanics
➢ Kepler’s Law
➢ Binary Star
6. Optics
➢ Snell’s Law
➢ Lens Maker Formular
➢ Focus Ratio
➢ Magnification
➢ Resolution Power
➢ โชติมาตรที่โตที่สุดของกล้องโทรทรรศน์
7. Cosmology
➢ Hubble’s Law
➢ Hubble Time
➢ Hubble Length
8. โจทย์เพิ่มเติม

2
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

PART 1
Spherical Astronomy

3
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

PART 1: Spherical Astronomy


ลักษณะของทรงกลมท้องฟ้า

4
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

ระบบพิกัด

1. Horizontal Coordinate : ระบบพิกัดขอบฟ้า

-มุมเงย (Altitude) :..........................................................................................................................................

-มุมระนาบ (Alzimuth) :....................................................................................................................................

2. Equatorial Coordinate : ระบบพิกัดศูนย์สูตร

-Declination/Dec :……………………………………………………………………………………………………………………….

-Right Assension/RA:……………………………………….………………………………………………………………………….

-Hour Angle/HA :……………………………………………..………………………………………………………………………...

5
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

3. Ecliptic Coordinate : ระบบพิกัดสุริยะวิถี

-Ecliptic longitude :……………………………………….………………………………………………………………………..

-Ecliptic latitude :………………………………………….………………………………………………………………………..

4 Galactic Coordinate : ระบบพิกัดกาแล็กติก

-Galactic longitude :……………………………………………………………………………………………………………….

-Galactic latitude :………………………………………...……………………………………………………………………….

*** อ้างอิงระนาบของ Milky Way ทามุม 63 องศากับ ecliptic

6
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Sun-Earth Relationship

แสดงทางเดินปรากฏของดวงอาทิตย์บนทรงกลมท้องฟ้า ที่เวลาต่างๆของปี

7
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Spherical Trigonometry

▪ Euclidian Geometric เช่น จุด เส้น มุมภายใน ระนาบอยู่บนแผ่น


▪ Non-Euclidian Geometric (Ex Spherical Trigonometry)
สมบัติ สามเหลี่ยมราบ สามเหลี่ยมทรงกลม
1.มุมภายใน

2.มุมแย้ง

สามเหลี่ยมราบ

Great Circle & Small Circle

great circle ระนาบวงกลมที่มีจด


ุ ศูนย์กลาง เดียวกันกับ
จุดศูนย์กลางของทรงกลมนัน้

small circle ระนาบวงกลมนันมี


้ จดุ ศูนย์กลางเป็ นคนละ
จุดกับจุดศูนย์กลาง ของทรงกลม

8
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Sine’s law (สามเหลี่ยมทรงกลม)

Cosine’s law (สามเหลี่ยมทรงกลม)

➢ ตาแหน่ง A และB มีละติจูดและลองจิจูดเป็น 35° 28′ N , 44° 32′ Wและ 35° 28′ N , 13° 30′ W
ตามลาดับ จงหาระยะห่างระหว่าง A กับ B ตามแนวละติจูด และตามแนวที่สั้นที่สุด

9
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

การแปลงระบบพิกัด (Coordinate transformation)

10
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Circumpolar Star

ซีกโลกเหนือ ซีกโลกใต้

Hour Angle
(มุมชั่วโมงของดาวที่อยู่ขอบฟ้าตอนตก)

11
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Angular Distance: Geographic Coordinate

Angular Distance: Equatorial Coordinate

12
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ ดาวฤกษ์ดวงหนึ่งมี declination 42° 21′ ถูกสังเกตการณ์เมื่อ H.A. เทากับ 8h 16m 42s ถ้าผู้สังเกตอยู่ที่ละติจูด
60° 𝑁 จงหามุมราบ และมุมเงยของดาวดวงนี้

13
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Time

Because of the elliptical shape of the earth's orbit, the apparent angular velocity of the sun that
we see, or the true sun, is not constant; hence, the days as indicated by the apparent travel of the true
sun about the earth are not of uniform length. To make our solar day of uniform length, astronomers
have invented the mean sun, a fictitious body which is imagined to move at a uniform rate along the
celestial equator, making a complete circuit from west to east in one year.

ที่มา https://equation-of-time.info/different-hours

14
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

15
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

ประโยชน์ของ Mean Sun


1.หา Declination ของดวงอาทิตย์ได้เมื่อเราทราบวันที่เราสังเกตการณ์
2.หา RA ของดวงอาทิตย์ได้เมื่อเราทราบวันที่เราสังเกตการณ์

16
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ จงประมาณวันที่ในรอบปีที่ดวงอาทิตย์ผ่านจุดเหนือศีรษะ (zenith) ที่จังหวัดเชียงใหม่ (ละติจูด 18.8° 𝑁 )


กาหนดให้ดวงอาทิตย์ผ่านตาแหน่ง vernal และ Autumnal คือ 21 มีนาคม และ 21 กันยายน ตามลาดับ

17
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

ตารางเปรียบเทียบเวลาต่าง

เวลา ชื่อ วิธีหา


GMT Greenwich Mean Time
เวลาที่เมือง Greenwich โดยยึด Mean Sun หรือ
Uinversal Time (UT)

LMT Local MeanTime 𝐿𝑀𝑇 = 𝐻𝐴𝑚𝑠 + 12ℎ𝑟


เวลาท้องถิ่น หรือ เวลาที่ผู้สังเกตอยู่
ณ ลองจิจูดใด ๆ 𝑙𝑜𝑛𝑔𝑖°
𝐿𝑀𝑇 = 𝐺𝑀𝑇 ±
15°

GAT Greenwich Apparent Time


เวลาที่เมือง Greenwich โดยยึด Apparent Sun

LAT Local Apparent Time 𝐿𝐴𝑇 = 𝐻𝐴 ⨀ + 12ℎ𝑟


𝑙𝑜𝑛𝑔𝑖°
𝐿𝐴𝑇 = 𝐺𝐴𝑇 ±
15°

18
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

LST Local Sidereal Time 𝐿𝑆𝑇 = 𝐻𝐴𝛾


เวลาดาราคติท้องถิ่น = 𝐻𝐴 ∗ + 𝑅𝐴∗
(HA ของ Vernal)

EOT Equation of Time


สมการเวลา คือ ผลต่างของเวลาสุริยปรากฏ (apparent 𝐸𝑜𝑇 = 𝐻𝐴⨀ − 𝐻𝐴𝑚𝑠
solar time) กับเวลาสุริยเฉลี่ย (mean solar time)

𝐸𝑜𝑇 = 𝛼𝑚𝑠 − 𝛼⨀

𝐸𝑜𝑇 = 𝐿𝐴𝑇 − 𝐿𝑀𝑇

ZT Zone Time 𝑍𝑇 = 𝐺𝑀𝑇 ± 𝑇𝑖𝑚𝑒 𝑍𝑜𝑛𝑒


เวลาบนนาฬิกาจะขึ้นกับ ZT ที่เราอยู่

19
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ ถ้าผู้สังเกตที่กรุงเทพ (ลองจิจูด 100.5 องศาตะวันออก) มีเวลาท้องถิ่นเป็น 17.00 น. นาฬิกาเวลาสากลที่กรีนิชจะมี


ค่าเท่ากับเท่าไหร่

➢ ถ้าผู้สังเกตที่กรุงเทพ (ลองจิจูด 100.5 องศาตะวันออก Time zone +7) และเวลาที่นาฬิกาบอกเวลา 14.00 น.


เวลาท้องถิ่นเท่ากับเท่าไหร่

➢ ดาว Antares ในขณะหนึ่งมี HA = 84°18’ ขณะนั้นจะมี เวลาดาราคติท้องถิ่นเป็นเท่าใด (16h 30m)

➢ ดาว Altair ผ่านเส้นเมอริเดียนของผู้สังเกตเวลา 19:07:28 น. มีเวลาดาราคติท้องถิ่นเป็นเท่าใด และเวลา 20:00:00


น. ดาว Altair จะมีHA เท่าใด (RA=19h 50m)

20
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Solar Day VS Sidereal Day

▪ Sidereal Day : เวลาที่โลกใช้ในการหมุนครบ 1 รอบ โดยใช้ดาวเป็นตาแหน่งอ้างอิง


▪ Synodic Day : เป็นเวลาพื้นฐานตามความรู้สึกของมนุษย์เท่ากับ 24 hr โดยใช้ดวงอาทิตย์เป็นตาแหน่งอ้างอิง

21
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 2
Astrometry

22
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 2: Astrometry
Angular Size

➢ ถ้าเราสังเกตดาวคู่ระบบหนึ่ง พบว่าดาวทั้งสองมีระยะห่างเชิงมุม 2.3 ฟิลิปดา หากทราบระยะห่างจากกันของดาวคู่


นีค้ ือ 87.4 หน่วยดาราศาสตร์จงหา ระยะห่างจากดาวคู่ถึงโลก

Total Velocity

▪ Radial Velocity : 𝑉𝑟
▪ Tangential Velocity : 𝑉𝑇
ขนาดความเร็วลัพธ์ (Space motion)

23
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Doppler Effect

▪ นิยาม

▪ การหา 𝑉𝑟

24
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

▪ เมื่อวัตถุมีอัตราเร็วน้อยกว่าแสงมากๆ สามารถได้ว่า

Proper Motion

การหา 𝑉𝑇

25
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ นักดาราศาสตร์วัดความยาวคลื่นของ Ca II ของดาวได้ 3969.0 อังสตรอม ในขณะที่ความยาวคลื่นของ Ca II ใน


ห้องปฏิบัติการมีค่า 3969.4 อังสตรอม ดาวดวงนี้มี Space Motion 120 กิโลเมตรต่อวินาทีและ ห่างจากโลก 32
พาร์เซค จงหา ความเร็วในแนวเล็ง และ Proper motion

26
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Parallax

➢ Proxima Centauri มีมุมพาราแลกซ์ 0.760 ฟิลิปดา ก. ตอบในหน่วยองศา ข. หาระยะทางถึงโลกในหน่วยปีแสง

➢ เมื่อมนุษย์อพยพไปอยู่บนดาวอังคารจะสามารถวัดมุมพาราแลกซ์ของดาวที่อยู่ห่างไป 1 พาร์เสคได้กี่พิลิปดา

27
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 3
Planetary Phenomena

28
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 3 : Planetary Phenomena

Positions of Planets

มุมการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์

พิจารณาวงโคจรเป็นวงกลม

29
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Synodic Period

30
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Maximum Elongation

Phase

31
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ เมื่อดาวศุกร์มีมุม elongation เท่ากับ 20 และเป็นแบบเสี้ยว ดาวศุกร์จะมีเฟสกี่เปอเซนต์ กาหนดให้ดาวศุกร์ห่าง


จากดวงอาทิตย์ 0.723 AU

32
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 4
Blackbody Radiation

33
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 4 : Blackbody Radiation


𝑱
Surface Flux (ฟลักซ์พื้นผิว) [ ]
𝒎𝟐 ∙𝒔

𝑱
Luminosity (กาลังส่องสว่าง) [ ]
𝒔

𝑱
Brightness (ความสว่าง) [ ]
𝒎𝟐 ∙𝒔

34
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Magnitude (โชติมาตร)

ดาวอันดับความสว่าง 1 สว่างกว่า 6 อยู่ 100 เท่า


𝐵 𝐵 𝐵 𝐵 𝐵
(𝐵1) = (𝐵2) = (𝐵3) = (𝐵4) = (𝐵5) = 𝑋
2 3 4 5 6
𝐵1 𝐵1 𝐵2 𝐵3 𝐵4 𝐵5
= ( ) ( ) ( ) ( ) ( ) = 100
𝐵6 𝐵 𝐵 2𝐵 𝐵 𝐵3 4 5 6
5
𝑋 = 100
−5 2
𝑋 = √100 = 10 ⁄5 = 2.51
ดาว 𝑚1 กับดาว 𝑚2 (𝑚1 > 𝑚2 )
2 2
𝐵2 (𝑚1 −𝑚2 )
= (2.51) 𝑚1 −𝑚2
= (10 ⁄5 )𝑚1−𝑚2 = 10 5
𝐵1
𝐵 2
log10 ( 2) = (𝑚1 − 𝑚2 )
𝐵 5 1
𝐵2
𝑚1 − 𝑚2 = 2.5 log10 ( )
𝐵1

35
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Wien’s displacement law

36
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Harvard spectral classification

Mass
Surface temperature Conventional Luminosity
Class Radius(solar radii)
(kelvin) color description (bolometric)
(solar masses)

O ≥ 33,000 K blue ≥ 16 M☉ ≥ 6.6 R☉ ≥ 30,000 L☉

B 10,000–33,000 K blue white 2.1–16 M☉ 1.8–6.6 R☉ 25–30,000 L☉

A 7,500–10,000 K white 1.4–2.1 M☉ 1.4–1.8 R☉ 5–25 L☉

F 6,000–7,500 K yellow white 1.04–1.4 M☉ 1.15–1.4 R☉ 1.5–5 L☉

G 5,200–6,000 K yellow 0.8–1.04 M☉ 0.96–1.15 R☉ 0.6–1.5 L☉

K 3,700–5,200 K orange 0.45–0.8 M☉ 0.7–0.96 R☉ 0.08–0.6 L☉

M 2,000–3,700 K red ≤ 0.45 M☉ ≤ 0.7 R☉ ≤ 0.08 L☉

H-R diagram

37
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ ดาว C ห่างจากโลก 170 pc มีโชติมาตรปรากฏ 3.86 หากดาว D มีกาลังส่องสว่างเท่ากัน แต่ห่างจากโลก 61 pc


ให้หาโชติมาตรปรากฏของดาว D

➢ ดาวหัวใจสิงห์ (Regulus) อยู่ห่างจากโลก 26 พาร์เซค นักดาราศาสตร์วัดโชติมาตร ปรากฏได้ 1.35 ให้หาโชติมาตร


สัมบูรณ์

➢ กาแลกซี M81 มีโชติมาตรปรากฏ 3.4 ประกอบด้วยดาวฤกษ์ ประมาณ 200 ล้านดวง ถ้าดาวฤกษ์ ทุกดวง
เหมือนกัน จงหาโชติมาตรปรากฏของดาวฤกษ์แต่ละดวง

38
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Mass-Luminosity Relation

กาลังส่องสว่างของดาวฤกษ์ แปรผันกับมวลของดาวฤกษ์ ตามสมการ


𝐿 𝑀 𝛼
( ) = ( ) โดย 𝛼 = 3.5 − 3.8
𝐿ʘ 𝑀ʘ
𝐿 𝑀
log ( ) = 3.6 log10 ( ) → 𝛼 = 3.6
𝐿ʘ 𝑀ʘ
ดังนั้น
𝐿 𝑀
𝑀ʘ − 𝑀 = 2.5log10 ( ) = 9 log10 ( )
𝐿ʘ 𝑀ʘ

Subsolar Temperature

39
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ กราฟการแผ่พลังงานของดาวฤกษ์เป็นแบบวัตถุดา ดาวดวงหนึ่งมี peak ที่ 2000 อังสตรอม อีกดวงมี peak ที่


10000 อังสตรอม ให้หาอัตราส่วนเปรียบเทียบของการแผ่พลังงานทั้งหมดสาหรับดาวทั้งสองดวง

➢ ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิพื้นผิว 10000 เคลวิน รัศมี 3 × 108 เมตร และห่างจากโลก 100 พาร์เซค คนบนโลกจะ
สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าหรือไม่ ทาไม กาหนดข้อมูลว่าดวงอาทิตย์มีโชติมาตรปรากฏ -27 และฟลักซ์ของดวง
อาทิตย์ที่วัดบนโลกเท่ากับ 1380 W/m2

40
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 5
Celestial Mechanics

41
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 5 : Celestial Mechanics


Kepler’s Law

Law of Orbit : ดาวเคราะห์โคจรเป็นวงรีรอบดวงอาทิตย์โดยมีดวงอาทิตย์อยู่จุดโฟกัสจุดหนึ่ง

a – ระยะครึ่งแกนหลัก (Semi-major axis)


b – ระยะครึ่งแกนรอง (Semi-minor axis)
c – ระยะโฟกัส (Focal length)

ความสัมพันธ์

ค่าความรี

ตาแหน่งบนวงรี

P – ตาแหน่งบนวงโคจรที่ใกล้ ดวงอาทิตย์
ที่สดุ (perihelion)

A – ตาแหน่งบนวงโคจรที่ไกลดวงอาทิตย์
ที่สดุ (aphelion)

ความสัมพันธ์

42
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Law of Area
ณ ช่วงเวลาเท่ากันพื้นที่ที่วัตถุกวาดได้บนวงโคจรจะมีค่าเท่ากัน

43
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Law of Period

➢ ดาวพุธมีคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์ = 87.9694 วัน ตาแหน่งที่อยู่ใกลด้วงอาทิตย์ ที่สุดมีระยะ 0.3074 หน่วย


ดาราศาสตร์ให้นักเรียนหาค่าสมบัติของวงโคจรดาวพุธ พร้อมทั้งวาดรูปแสดงวงโคจรของดาวพุธด้วย (แสดงระยะ
ต่างๆ ในรูปด้วย) • คาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์(หน่วย : ปี ) • ระยะครึ่งแกนหลักของวงโคจร (หน่วย : A.U.) •
ระยะไกลจากดวงอาทิตย์ที่สุด (หน่วย : A.U.) • ค่าความรีของวงโคจร (ไม่มีหน่วย)

44
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Ellipse in polar coordinate


พิสูจน์

𝒂(𝟏−𝒆𝟐 )
𝒓=
𝟏+𝒆𝒄𝒐𝒔𝜽

45
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ ดาวเทียมดวงหนึ่งมีคาบการโคจรรอบโลก 8 h 24m18s และมีระยะความสูงจากผิวโลกที่ตาแหน่ง perigee เท่ากับ


4,356 กิโลเมตร ให้หาระยะความสูงจากผวิโลกของดาวเทียมที่ true anomaly = 60° , 120° และ 240°

46
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Circular Orbit

47
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ วัตถุมวล m โคจรรอบดาวมวล M ในรูปวงโคจรแบบวงกลมที่มีรัศมีวงโคจรเท่ากับ r ให้พิสูจน์ว่า คาบการ โคจรยก


4𝜋2 𝑟 3
กาลังสอง (𝑃2 ) ของวัตถุ สามารถเขียนได้เป็นดังสมการ𝑃2 = โดยกาหนดให้ G คือ ค่านิจความโน้ม
𝐺𝑀
𝑣2
ถ่วงสากล และความเร่งของวัตถุเข้าสู่ศูนย์กลางวงโคจร 𝑎 =
𝑟

➢ ดาวเทียม A, B โคจรรอบโลกเป็นวงรีทั้งคู่ โดยดาวเทียม A มีระยะครึ่งแกนหลัก (a) มากกว่าดาวเทียม B อยู่ 2 เท่า


ดังนั้นอัตราส่วนระหว่างคาบการโคจรของ A ต่อ B จะมีค่าเท่าใด

➢ อัตราเร็วการหมุนรอบตัวเองของกาแลกซีที่ระยะ 10 kpc จากใจกลางเท่ากับ 200 km/s ให้หามวลกาแลกซีส่วนที่


อยู่ภายในระยะ 10 kpc ดังกล่าว

48
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Binary Star (ระบบดาวคู่)

ดาวคู่ → Double star (ดาวคู่เทียม) : ดาวสองดวงที่ปรากฏใกล้กัน แต่ไม่มีความสัมพันธ์กัน


(ระยะห่างต่างกันมาก)
→ Binary Star (ดาวคู่แท้): ดาวสองดวงที่ปรากฏใกล้กันและโคจรรอบจุดศูนย์กลางมวลระหว่างกันมีความสัมพันธ์
กันภายใต้แรงโน้มถ่วง
ดาวคู่ประเภทต่างๆ
1. ดาวคู่ปรากฏ (Visual Binary) ดาวทีเ่ ห็นทั่วสมาชิกทั้ง 2 ดวง ปกติดวงที่สว่างกว่า มีมวลมากกว่า จะเรียกว่า ... A
(ต่อท้ายด้วยA) ดวงเล็กหรือมวลน้อย จะเรียกว่า ... B (ต่อท้ายด้วย B)
เช่น Sirius A → A0 Ⅴ, 9900 K
Sirius B → ดาวแคระขาว
เนื่องจากเห็นทั้ง 2 ดวง เห็นการเคลื่อนทั้ง 2 ดวง
ดังนั้น สามารถคานวณข้อมูลได้ครบ
2. ดาวคู่ Astrometric : เห็นสมาชิกดวงเดียวแต่รู้ว่าเป็นดาวคู่ เพราะดวงเดียวมันขยับไปมา (เดิม Sirius เป็นดาวคู่
Astrometric) การแกว่ง เรียกว่า Wobble (ใช้ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะดวงแรก)
3. Spectroscopic Binary (ดาวคู่สเปกโตรสโกปิก): ดาวคู่ที่หันข้างให้ผู้สังเกต (มุมเอียงของระนาบโคจร 𝑖 ≃ 90∘ )
สังเกตเส้นสเปกตรัมพบว่าเคลื่อนที่กลับไปกลับมา

4. Spectrum Binary → อาจจะไม่เห็นการเลื่อนของเส้น แต่รูปสเปกตรัมซ้อนทับกัน


5. ดาวคู่อุปราคา (Eclipsing Binary) เป็นดาวคู่ที่โคจรตั้งฉากกับแนวเล็ง( 𝑖 ≃ 90∘ ) แล้วเกิดการบังกัน (อุปราคา)
ของดาวทั้งสอง

49
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

จุดศูนย์กลางมวล ระบบที่มีแรงกระทาต่อกัน เป็นแรง action กับ Reaction

วาดรูป

พิสูจน์
⃑⃑⃑⃑⃑
𝐹12 = − ⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝐹21

⃑⃑⃑⃑1 = ⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑚1 𝑎 𝐹21

𝑎2 = ⃑⃑⃑⃑⃑
𝑚2 ⃑⃑⃑⃑ 𝐹12

𝑚1 ⃑⃑⃑⃑ 𝑎2 = ⃑⃑⃑⃑⃑⃑
𝑎1 + 𝑚2 ⃑⃑⃑⃑ 𝐹21 + ⃑⃑⃑⃑⃑
𝐹12 = 0

𝑚1 ⃑⃑⃑⃑ 𝑎2 = 0 (ไม่มีแรงภายนอกกระทา)
𝑎1 + 𝑚2 ⃑⃑⃑⃑

⃑⃑⃑⃑1 −𝑢
(𝑣 ⃑⃑⃑⃑⃑1 ) ⃑⃑⃑⃑2 −𝑢
(𝑣 ⃑⃑⃑⃑⃑2 )
𝑚1 + 𝑚1 =0
𝑡 𝑡

𝑚1 (𝑣 𝑢1 ) + 𝑚2 (𝑣2 − ⃑⃑⃑⃑
⃑⃑⃑⃑1 − ⃑⃑⃑⃑ 𝑢2 ) = 0

𝑚1 𝑣1 + 𝑚2 𝑣2 = 𝑚1 𝑢 ⃑ 2 (Conservation of momentum)
⃑ 1 + 𝑚2 𝑢

= (𝑚1 + 𝑚2 )𝑣𝐶𝑀
𝑚1 𝑣1 + 𝑚2 𝑣2 = (𝑚1 + 𝑚2 )𝑣𝐶𝑀

𝑚1 𝑣1 +𝑚2 𝑣2
𝑣𝐶𝑀 =
𝑚1 +𝑚2

ความเร็วจุดศูนย์กลางมวล จุดที่เสมือนมวลทั้งระบบไปอยู่ที่นั่น
∆𝑟 𝑟(𝑡) − 𝑟(0)
𝑣= →
∆𝑡 𝑡
𝑟1 (𝑡) − 𝑟1 (0) 𝑟2 (𝑡) − 𝑟2 (0) 𝑟𝐶𝑀 (𝑡) − 𝑟𝐶𝑀 (0)
𝑚1 [ ] + 𝑚2 [ ] = (𝑚1 + 𝑚2 ) [ ]
𝑡 𝑡 𝑡

50
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

𝑚1 𝑟1 (𝑡) + 𝑚2 𝑟2 (𝑡) = (𝑚1 + 𝑚2 )𝑟⃑⃑⃑⃑⃑⃑


𝐶𝑀 (𝑡)

𝑚1 𝑟1 +𝑚2 𝑟2
จุดศูนย์กลางมวล ; 𝑟𝐶𝑀 =
⃑⃑⃑⃑⃑⃑ เป็นตัวแทนของระบบ
𝑚1 +𝑚2

วาดรูป

ถ้าให้ 𝑟𝐶𝑀 อยู่ที่ 0 อยู่ที่ center → อยู่ที่ศูนย์กลางมวล → ระบบ CM ⃑⃑⃑


(𝑟𝐶𝑀 = 0)

𝑟1 = ระยะจากศูนย์กลางมวลไปยังมวล 𝑚1

𝑟2 = ระยะจากศูนย์กลางมวลไปยังมวล 𝑚2
⃑⃑⃑

𝑚1 𝑟1 = −𝑚2 𝑟2
𝑚1 𝑣1 = −𝑚2 𝑣2

𝑣1 𝑣2
=𝜔= อัตราเร็วเชิงมุมต้องเท่ากัน
𝑟1 𝑟2

ถ้า a เป็นระยะระหว่าง 𝑚1 + 𝑚2
𝑟1 + 𝑟2 = 𝑎
𝑚1 𝑟1 = 𝑚2 𝑟2
𝑚1
𝑟1 + 𝑟 =𝑎
𝑚2 1

𝑚2 𝑚1
𝑟1 = ( ) 𝑎 , 𝑟2 = ( )𝑎
𝑚1 + 𝑚2 𝑚1 + 𝑚2

มวลมากอยู่ห่างจาก CM น้อย, มวลน้อยห่าง CM มาก

51
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

ระบบดาวคู่ - ระบบที่ดาวสองดวงโคจรรอบจุดศูนย์กลางร่วม จุดศูนย์กลางร่วม เราเรียกว่า “จุดศูนย์กลางมวล” เป็นจุดที่


เสมือนว่าเป็นตัวแทนของระบบดาว เงื่อนไขของศูนย์กลางมวล คือ
ถ้า 𝑟1 เป็นระยะจากศูนย์กลางมวล 𝑀1 (ดวงที่ 1)
𝑟2 เป็นระยะจากศูนย์กลางมวล 𝑀2 (ดาวดวงที่ 2)

52
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ ระบบดาวคู่มวล 𝑚1 และ 𝑚2 มีระนาบการโคจรขนานกับแนวสายตา (แนวเล็ง) ของผู้สังเกต เป็นวงกลมรอบจุด


ศูนย์กลางมวลซึ่งอยู่นิ่งเทียบกับผู้สังเกตด้วยคาบ 8.6 ปี เส้นสเปกตรัมไฮโดรเจน (𝐻𝛼 : 656.281 𝑛𝑚)
ของดาวทั้งสองมีการเลื่อนแบบดอปเปลอร์สูงสุด (Maximum Doppler shifts) ของ 𝑚1 และ 𝑚2 มีค่าเท่ากับ
∆𝜆1 = 0.072 𝑛𝑚 และ ∆𝜆2 = 0.068 𝑛𝑚 ตามลาดับ จงหา
ก. ความเร็วสูงสุดในแนวเล็ง (maximum radial velocity) และรัศมีวงโคจรของ 𝑚1 และ 𝑚2
ข. ระยะห่างระหว่าง 𝑚1 และ 𝑚2 ในหน่วย AU
ค. มวลของ 𝑚1 และ 𝑚2 ในหน่วยของมวลดวงอาทิตย์

53
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

วิธีทา(ต่อ)

54
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

ดาวคู่อุปราคา (Eclipsing Binary)

เป็นระบบดาวคู่ที่ระนาบการโคจรเอียงทามุมเกือบ 90∘ (หันข้าง) ทาให้เกิดการบังกันของดาวคู่ ดังนั้นความสว่าง


ของดาวคู่จะลดลงเมื่อเกิดการบังกัน

ยังไม่บัง
𝐵รวม = 𝐵𝐴 + 𝐵𝐵

𝐴 บัง 𝐵 (𝐵อยู่ข้างหลัง)
𝐵รวม = 𝐵𝐴

𝐵 บัง 𝐴 (𝐴อยู่ข้างหลัง)
𝜋𝑅𝐴2 − 𝜋𝑅𝐵2
𝐵รวม = 𝐵𝐵 + 𝐵𝐴 ( )
𝜋𝑅𝐴2
𝑅𝐵 2
𝐵รวม = (𝐵𝐵 + 𝐵𝐴 ) − 𝐵𝐴 ( )
𝑅𝐴
ความสว่างลดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของ A และ B และขนาดของ A และ B

ถ้า A เป็นดาวยักษ์แดง, B เป็น Main-sequence ที่ 𝑇𝐵 > 𝑇𝐴

ตอนที่ A บัง B (B อยู่ข้างหลัง) ความสว่างจะลดลงมากกว่า ตอนที่ B บัง A (A อยู่ข้างหลัง)


𝑇𝐵 > 𝑇𝐴

แต่ 𝑅𝐴 > 𝑅𝐵

55
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

จากการศึกษา Light curve เพื่อหาความเปลี่ยนแปลงจากความสว่าง สามารถวัดคาบของการโคจรได้ และอัตราส่วนระหว่าง


ความลึกของเส้น สามารถหารัศมีของดาวฤกษ์ทั้ง 2 เทียบกันได้

เงื่อนไข ใหญ่บังเล็กความสว่างลดลงเท่ากับ 𝐵𝐵
𝑅
เล็กบังใหญ่ความสว่างลดลง 𝐵𝐴 (𝑅𝐵) 2
𝐴

𝑅𝐵 2
𝑆𝑒𝑐𝑜𝑛𝑑 เล็กบังใหญ่ 𝐵𝐴 ( )
𝑅𝐴
อัตราส่วน = =
𝑃𝑟𝑖𝑚𝑎𝑟𝑦 ใหญ่บังเล็ก 𝐵𝐵

𝜎𝑇𝐴4 4𝜋𝑅𝐴
2
𝑅
= × ( 𝐵 )2
𝜎𝑇𝐵4 4𝜋𝑅𝐵
2 𝑅𝐴

∆𝐵𝐵บัง𝐴 เล็กบังใหญ่ 𝑇
= = ( 𝐴 )4
∆𝐵𝐴บัง𝐵 ใหญ่บังเล็ก 𝑇𝐵

ดังนั้น ขึ้นกับอุณภูมิ ถ้า 𝑇𝐴 < 𝑇𝐵 (ดาวใหญ่มีอุณหภูมิต่ากว่าดวงเล็ก)

เช่น ดวงใหญ่เป็นดาวยักษ์ ดวงเล็กเป็นดาวในแถบกระบวนหลัก

Exoplanet 𝐵𝐵 = 0 เกิดการลดแค่ตอนดาวเคราะห์บังดาวฤกษ์
𝑅𝑃𝑙𝑎𝑛𝑒𝑡 2
∆𝐵 = 𝐵𝑆𝑡𝑎𝑟 ( )
𝑅𝑆𝑡𝑎𝑟

56
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ ดาวคู่อุปราคาดวงหนึ่งมีอันดับความสว่างรวม 7 ขณะเกิดการบังคับปฐมภูมิ(A บัง B) กรณี 𝑇𝐴 < 𝑇𝐵 อันดับ


ความสว่างลดลงเหลือ 8 ดวง B มีอันดับความสว่างเท่าใด?

57
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

ถ้าสองดวงมีขนาดต่างกันมาก กราฟแสง(Light curve) จะมีลักษณะปลายตัดและจะเกิดขึ้นเมื่อดวงเล็กผ่านหน้าดวง


ใหญ่ (Transit) โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าดวงเล็กเป็นดาวเคราะห์ที่ไม่มีแสง (Exoplanet)

𝑡1 ดาวเล็กมาแตะขอบดาวใหญ่ ด้านนอก → สัมผัสที่ 1

𝑡2 สัมผัสที่ 2

𝑡3 สัมผัสที่ 3 แตะขอบด้านนั้นก่อน

𝑡4 สัมผัสที่ 4 ออกพันดวง

จาก 𝑡1 → 𝑡2 และ 𝑡3 → 𝑡4 ดาวดวงเล็กเคลื่อนที่เป็น 2 เท่าของรัศมีดวง


2𝑅𝐵 = 𝑣(𝑡2 − 𝑡1 ) = 𝑣(𝑡4 − 𝑡3 )

ดังนั้นถ้ารู้ 𝑣 (ด้วยวิธีอื่น) หาค่า 𝑅𝐵 ได้

𝑡3 − 𝑡1 , 𝑡4 − 𝑡2 ดาวดวงเล็ก เคลื่อนที่เป็นระยะ

2𝑅𝐴 = 𝑣(𝑡3 − 𝑡1 ) = 𝑣(𝑡4 − 𝑡2 )


𝑅𝐵 𝑡2 − 𝑡1 𝑡4 − 𝑡3
= =
𝑅𝐴 𝑡3 − 𝑡1 𝑡4 − 𝑡2
ใช้ได้ไม่ดีถ้าไม่ติดตรงกลาง 𝑖 = 90°

58
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 6
Optics

59
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 6 : Optics
Snell’s Law

Lens Maker Formular

60
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Focul Ratio

This is the 'speed' of a telescope's optics, found by dividing the focal length by the aperture. The
smaller the f/number, the lower the magnification, the wider the field, and the brighter the image with
any given eyepiece or camera.

Magnification

61
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Resolution Power (ค่าอานาจการจาแนกของช่องเปิดรูปวงกลม)

62
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

โชติมาตรที่โตที่สุดของกล้องโทรทรรศน์

➢ กล้องโทรทรรศน์มีเลนส์วัตถุเส้นผ่านศูนย์กลาง D = 10 cm ถูกออกแบบให้รวมแสบ(แทบ)ทั้งหมดจากดาวไกล ๆ
ไปผ่านรูม่านตาเส้นผ่านศูนย์กลาง d= 7 mm กล้องนี้สามารถเห็นดาวที่มี Apparent magnitude โตที่สุดประมาณ
เท่าไหร่

63
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 7
Cosmology

64
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

Part 7 : Cosmology
Hubble’s Law

Hubble Time

Hubble Length

65
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

➢ นักเรียนศึกษาเส้นสเปกตรัมของกาแลกซี่หนึ่ง พบว่าเส้น Lyman alpha (121.6 นาโนเมตร) เลื่อนไปอยู่ที่ตาแหน่ง


ของ Balmer gamma (434.0 นาโนเมตร) กาแลกซี่นี้อยู่ห่างออกไปเท่าใด

66
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

โจทย์เพิ่มเติม

67
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

1. (TAO 7) วันที่ 22 ธันวาคม ของทุกปี ถ้าผูส้ ังเกตอยู่ที่ละติจูด 23.5 จงหาว่าในเวลาเที่ยงวันดวงอาทิตย์จะ


อยู่สูงจากขอบฟ้าทางทิศใต้เท่าใด ให้เขียนไดอะแกรมประกอบการคานวณ และให้หาความยาวเงาบนพื้น
ของเสาตั้งตรงในแนวดิ่งสูง 1 เมตร

68
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

2. ผู้สังเกตที่ ลองจิจูด 105 องศาตะวันออกสังเกตเห็นดาวฤกษ์ Regulus (RA 10ℎ 8.883𝑚 Dec


11° 55.239′ ) ผ่านเมอริเดียนท้องฟ้าเวลา 19.07 นาฬิกาตามเวลามาตรฐานประเทศไทย โดยมีมุมจาก
จุดยอดฟ้าไปทางทิศใต้เท่ากับ 3°4.761′ ไปทางใต้ และดวงอาทิตย์จุด vernal วันที่ 21 มีนาคมจงตอบ
คาถามต่อไปนี้
a) ละติจูดของผู้สังเกต
b) ค่า RA ของดวงอาทิตย์ในวันนั้น
c) จะประมาณวันที่สังเกตการณ์โดยสมมติว่าดวงอาทิตย์เป็นดวงอาทิตย์เฉลี่ย

69
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

3. (TAO 7) กล้องโทรทรรศน์ใช้กระจกเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร สามารถแยกภาพของดาวคู่ด้วยแสงสี


เหลืองความยาวคลื่น 550 เมตรได้พอดี ดาวคู่นี้อยู่ห่างจากโลก 3.1 × 1019 เมตร จงหาระยะห่าง
ระหว่างดาวคู่นี้

70
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

4. (TAO 7) ดาวดวงหนึ่งเคลื่อนที่เชิงมุมได้ 4 ฟิลิปดาในเวลา 1 ปี ดาวดวงนี้อยู่ห่าง 2.4 pc และมีความเร็ว


ตามแนวรัศมีเท่า 80 km/s จงหาความเร็วลัพธ์ของดาวนี้

71
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

5. (TAO 8) เควซาร์ดวงหนึ่งมีความยาวคลื่นของสเปกตรัมเส้นหนึ่ง ถูกกระบวนการ Red shift เปลี่ยน


ความยาวคลื่นจาก 300 nm ไปเป็น 1500 nm จงคานวณหาว่า
a) ความเร็วของเควซาร์เป็นเท่าใด
b) เควซาร์อยู่ห่างออกไปไกลเท่าใด

72
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

6. ดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยคาบ 33 ปี หากระยะไกลดวงอาทิตย์ที่สุดคือ 14
หน่วยดาราศาสตร์แล้ว ที่มุม anomaly 30 องศานั้นดาวเคราะห์น้อยจะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์กี่หน่วย
ดาราศาสตร์

73
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

7. (TAO 9) ระบบดาวคู่ 40 EriBC มีคาบวงโคจรเท่ากับ 247.9 ปี ระบบนี้มีมุมแพรัลแลกซ์ 0′′ . 201 และ


ขนาดเชิงมุมของค่าครึ่งแกนหลัก (semi- major axis) ของมวลลดทอน (reduced mass) มีค่า 6′′. 89
อัตราส่วนของระยะทางของ 40 Eri B ต่อ Eri C จากจุดศูนย์กลางมวลมีค่า (𝑎𝑎𝐵𝑐 = 0.37) จงหามวลของ
40 Eri B และ 40 Eri B

74
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

8. (TAO 10) ดาว Sirius A มีอณ


ุ หภูมิพื้นผิว 10000 K มี apparent magnitude = -1.5 อยู่ห่างจากโลก
2.67 pc จงหารัศมีของดาวดวงนี้ กาหนด flux ที่โลกได้รับจากดวงอาทิตย์ = 1370 𝑊𝑚−2

75
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

9. (TAO 10) ระบบดาวหนึ่งมีดาวทั้งหมด 3 ดวง ค่าโชติมาตรปรากฏรวม (total apparent magnitude)


คือ 0.0 ในขณะทีส่ มาชิกสองดวงแรกมีความสว่างคิดเป็นค่าโชติมาตรปรากฏได้ว่าเป็น 1.0 และ 2.0
ตามลาดับ ดวงที่สามมีโชติมาตรปรากฏเท่าใด

76
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

10. (TAO 11) เราทาการวัดตาแหน่งของดาวดวงหนึ่งพบว่ามีระยะ Zenith ปรากฏเป็น 30° อยากทราบว่า


ผลของแสงหักเหผ่านชั้นบรรยากาศจะทาให้ตาแหน่งของดาวที่สังเกตคลาดเคลื่อนไปจากเดิมเท่าไหร่ ให้
แสดงวิธีประกอบ แสดงการได้มาของคาตอบ
กาหนดให้ ดัชนีหักเหของอวกาศเท่ากับ 1 , ดัชนีหักเหของอากาศเท่ากับ 1.00029

77
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

11. (TAO 8) เมื่อสังเกตบนโลกวัดคาบซินอดิกของดาวศุกร์และดาวอังคารได้เท่ากับ 584 วัน และ 780 วัน


ตามลาดับ จงแสดงวิธีการหาคาบซินอดิกของดาวศุกร์เมื่อสังเกตบนดาวอังคาร เมื่อประมาณว่าคาบไซ
เดอเรียลของโลกเท่ากับ 365 วัน

78
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

12. ดาวหางโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรีด้วยระยะใกล้และไกลที่สุด 0.5 และ 31.5 หน่วยดาราศาสตร์


ตามลาดับ จงหา
a) คาบการโคจรในหน่วยปี
b) ความรีของวงโคจร
c) ความเร็วที่ตาแหน่งใกล้และไกลที่สุดในหน่วย หน่วยดาราศาสตร์ต่อปี (AU/year)
d) พลังงานรวมต่อมวลของดาวหาง (𝐴𝑈/𝑦𝑒𝑎𝑟)2
e) สมการการเคลือ่ นที่ในรูปแบบเชิงขั้วของดาวหางดวงนี้ (กล่าวคือหา r(𝜃))

79
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

13. จากดาวหางในข้อที่ 12 จงคานวณอัตราการกวาดพื้นที่ของดาวหางในวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ในหน่วย


ตารางหน่วยดาราศาสตร์ต่อปี (𝐴𝑈2 /𝑦𝑒𝑎𝑟)

80
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

14. ที่ละติจูด 13 องศาเหนือ จงระบุเงื่อนไขของเดคลิเนชันของดาวต่อเหตุการณ์ต่อไปนี้


a) เป็นดาวที่ไม่ตกขอบฟ้าเลย
b) สามารถผ่านจุดศีรษะได้
c) ไม่สามารถเห็นได้ที่ละติจูดนี้

81
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

15. ดาวเกิดปะทุรังสีแกมมา (Gramma Ray Bursters) มีกาลังส่องสว่างมากกว่าดวงอาทิตย์ 1017 เท่า ถ้า


หากดาว เกิดปะทุรังสีแกมมานั้น ปรากฏว่าสว่างเหมือนดวงอาทิตย์บนท้องฟ้า ดาวดวงนี้จะอยู่ไกลจาก
เราเท่าใด

82
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

16. กาหนดโชติมาตรสัมบูรณ์ ของดวงอาทิตย์เป็น 4.78 จงหาโชติมาตรสัมบูรณ์ของดาวแคระขาวดวงหนึ่งที่มี


อุณหภูมิยังผลเป็น 2 เท่าและรัศมีเป็น 1/40 เท่าของดวงอาทิตย์

83
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

17. นักดาราศาตร์สังเกตการณ์เคลื่อนที่ของดาว A ทากับดาวพื้นหลังที่อยู่ไกลเป็นระยะเวลา 6 เดือน โดย


วิธีการพารัลแล็กซ์ตรีโกณมิตพิ บว่า มุมที่ดาว A ทากับดาวพื้นหลังมีค่า 0″.396 และพบอีกว่า ดาว A ไม่มี
การเคลื่อนที่ในแนวเล็ง ดังนั้นดาว A อยู่ห่างจากโลกกี่ปีแสง

84
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

18. กาแล็กซีหนึ่งประกอบด้วยดาวฤกษ์ 6 × 1011 ดวง ถ้าสมมติว่าดาวฤกษ์ทุกดวงมีแมกนิจูดสัมบูรณ์


เท่ากับดวงอาทิตย์ ซึ่งเท่ากับ 4.7 แล้ว จงหาแมกนิจูดสัมบูรณ์ของกาแล็กซี และจงหาว่าค่าแมกนิจูด
สัมบูรณ์ของกาแล็กซี่ต่างจากค่าแมกนิจูดสัมบูรณ์ของดาวฤกษ์เท่าใด

85
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

19. ความสว่างของดาวแปรแสง Cepheid มีการเปลี่ยนแปลงแมกนิจูดเท่ากับ 2 ถ้าอุณหภูมิยังผล


(effective temperature) ของดาวขณะที่สว่างมากที่สุดเป็น 6000 K และสว่างน้อยที่สุดเป็น 5000 K
จงหารัศมีของดาวในช่วงที่มีความสว่างมากที่สุดเป็นร้อยละเท่าไหร่ของขณะที่มีความสว่างน้อยที่สุด

86
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

20. ผู้สังเกตบนดาวอังคารจะพบมุมห่างสูงสุด (Greatest Elongation) ของโลกเท่าไหร่

87
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

21. ดาวศุกร์อยู่ที่ตาแหน่ง superior conjunction ในวันที่ 9 มกราคม 2018 หากกาหนดให้วงโคจรของโลก


และดาวศุกร์เป็นวงกลมและไม่เอียงจากระนาบสุริยะวิถีเลย ให้หามุมอีลองเกชันและเฟสของดาวศุกร์ใน
วันที่ 11 มีนาคม 2018

88
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

22. ดาวอังคารและโลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 1.523 และ 1.000 AU ตามลาดับ หากมุมห่าง (Elongation)


ระหว่างดาวอังคารกับดวงอาทิตย์เท่ากับ 120 องศา ให้หาระยะห่างจากโลกกับดาวอังคารในหน่วย AU

89
https://www.facebook.com/Astrotutor
เอกสารประกอบการเรียนเตรียมสอวน.ดาราศาสตร์ค่าย 1-2
By พี่ขวัญนุช วิศวะจุฬา Tel : 0956879626 Line : khunnoot

แนะนาตัว

สวัสดีค่ะ ทั้งน้อง ๆ และผู้ปกครอง พี่ชื่อ ขวัญนุช นะคะ (เรียกแทน”พี่ขวัญ”ก็ได้ค่ะ) ปัจจุบันเรียนที่


คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผลงาน
➢ ติดค่ายสอวน. ตั้งแต่ ม.1-ม.5 (ดาราศาสตร์ม.ต้น และฟิสกิ ส์โอลิมปิก ม.ปลาย)
➢ เป็นผู้แทนศูนย์มช. ตั้งแต่ ม.1-ม.3 (ดาราศาตร์โอลิมปิก)
➢ ได้รับเหรียญทองระดับประเทศ (มีคะแนนภาคทฤษฎีสูงสุด) อันดับ 4 ของประเทศ (เป็นผู้แทนสารอง
แข่ง IAO ของไทยปี 2016)
➢ เป็นผู้แทนศูนย์มช. ม.5 (ฟิสกิ ส์โอลิมปิกระดับประเทศ)
ประวัติการสอน
➢ ติวให้โรงเรียนที่น่าน , กมท+ปริมณฆล และทาคอร์สดาราศาสตร์โอลิมปิกในเพจ Astro tutor
➢ ติวเด็กค่ายสอวน.ดาราศาสตร์ศูนย์ ฬ ,ค่ายสอวน.ดาราศาตร์ศูนย์ มข. , ค่ายสอวนดาราศาสตร์ศูนย์
มช.

90
https://www.facebook.com/Astrotutor

You might also like