You are on page 1of 35

โครงสร้างโลก

โครงสร้างของโลก
นักวิทยาศาสตร์ได้พยายามหาวิธีการต่างๆ ที่จะศึกษา
โครงสร้างโลก แบ่งการศึกษาได้ ดังนี้
1. การศึกษาโลกทางตรง เช่น
โครงสร้างของโลก
2. การศึกษาโลกทางอ้อม เช่น
โครงสร้างของโลก
การศึกษาลักษณะโครงสร้างโลก สามารถศึกษา
ทางอ้ อ มได้ จ ากคลื่ น ไหวสะเทื อ นที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น
เช่ น การทดลองระเบิ ด นิ ว เคลี ย ร์ ซึ่ ง คลื่ น ไหว
สะเทือน แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ

1. คลื่นในตัวกลาง (body wave)

2. คลื่นพื้นผิว (surface wave)


โครงสร้างของโลก
คลื่นในตัวกลาง (body wave)
1. คลื่นปฐมภูมิ หรือ คลื่น P (Primary waves, P waves)
 เป็นคลื่นที่สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง
ของเหลว และแก๊สได้
 เป็นคลื่นตามยาว เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วประมาณ 4-7
กิโลเมตรต่อวินาที
โครงสร้างของโลก
คลื่นในตัวกลาง (body wave)
2. คลื่นทุติยภูมิ หรือ คลื่น S (Secondary waves, S waves)
 เป็นคลื่นที่สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง
เท่านั้น
เป็นของ
แข็งแกร่ง
โครงสร้างของโลก
นั ก ธรณี วิ ท ยาแบ่ ง โครงสร้ า งภายในของโลก โดยใช้
เกณฑ์ในการแบ่งตามองค์ประกอบของหินและทางเคมี ดังนี้
โครงสร้างของโลก
1. เปลือกโลก (Crust)
 ส่วนที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด มีซิลิคอน (Si) อะลูมิเนียม
(Al) และแมกนีเซียม (Mg) เป็นองค์ประกอบหลักในเนื้อดิน
และหินของเปลือกโลก
 มีความหนาประมาณ 0-50 กิโลเมตร
 หินที่พบส่วนใหญ่เป็นหินอัคนี และหินตะกอน
 เปลือกโลกมี 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ส่วนที่เป็นภาคพื้นทวีป
และส่วนที่เป็นใต้มหาสมุทร
โครงสร้างของโลก
1. เปลือกโลก (Crust)
1.1 เปลือกโลกภาคพื้นทวีป (Continental crust)
 เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกเป็นส่วนใหญ่
 อยู่ลึกจากพื้นดินประมาณ 35-70 กิโลเมตร
 หินที่เป็นส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นซิลิกากับอะลูมนิ า
 เรียกชื่อชั้นที่เป็นเปลือกโลกภาคพื้นทวีปอีกชื่อว่า
“ไซอัล”
โครงสร้างของโลก
1. เปลือกโลก (Crust)
1.2 เปลือกโลกใต้มหาสมุทร (Oceanic crust)
 เป็นส่วนของเปลือกโลกที่ถูกปกคลุมด้วยน้้า
 มีความหนาประมาณ 5-10 กิโลเมตร
 หินที่เป็นส่วนประกอบเป็น หินบะซอลต์ ที่มีสีเข้ม
เช่น สีเทาด้า สีเขียวแก่
 เรียกชื่อชั้นที่เป็นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรอีกชื่อว่า
“ไซมา”
โครงสร้างของโลก
2. ชั้นเนื้อโลก (mantle)
 ชั้นของโลกที่อยู่ระหว่างเปลือกโลกกับแก่นโลก
 มีความหนาประมาณ 2,900 กิโลเมตร
 บางส่วนเป็นหินหลอมเหลว หรือหินหนืด
 แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นเนื้อโลกส่วนบน กับชั้นเนื้อโลก
ส่วนล่าง
โครงสร้างของโลก
2. ชั้นเนื้อโลก (mantle)
2.1 เนื้อโลกส่วนบน (Upper mantle)
 ประกอบด้วยส่วนของชั้นธรณีภาคกับชั้นฐานธรณีภาค
(asthenosphere)
 มีความหนาประมาณ 100-350 กิโลเมตร
มีสภาพเป็นพลาสติก ท้า หน้า ที่คล้ายฉนวนกันความ
ร้อนจากชั้นเนื้อโลกส่วนล่าง
 มีความยืดหยุ่นเพื่อการปรับตัวจากการเคลื่อนไหวของ
ชั้นธรณีภาค อุณหภูมิประมาณ 1,400-3,000 องศาเซลเซียส
โครงสร้างของโลก
2. ชั้นเนื้อโลก (mantle)
2.1 เนื้อโลกส่วนบน (Upper mantle)
 ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกซึ่งเป็นชั้นหินแข็ง
รวมเรียกว่า “ธรณีภาค”
 มีความหนาประมาณ 100-350 กิโลเมตร
มีสภาพเป็นหินหลอมละลายร้อน หรือเรียกว่า “หินหนืด
(magma)” เป็นของเหลวร้อนที่แน่นและหนืดกว่าตอนบน
 มีความส้าคัญ เพราะเป็นชั้นที่มีลักษณะคล้ายฉนวน
ป้องกันความร้อนจากแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่ให้แผ่ความ
ร้อนขึ้นมากเกินไป
โครงสร้างของโลก
2. ชั้นเนื้อโลก (mantle)
2.2 เนื้อโลกส่วนล่าง (Lower mantle)
 เรียกอีกอย่างว่า ชั้นมัชฌิมภาค
 เป็นชั้นที่อยู่ใต้ฐานธรณีภาค
มี ส ภาพเป็ น ของแข็ ง อยู่ ใ นระดั บ ความลึ ก จากผิ ว โลก
350-2,900 กิโลเมตร
 ส่วนใหญ่ประกอบด้วยซิลิเกตของเหล็ก และแมกนีเซียม
 อุณหภูมิประมาณ 3.000 องศาเซลเซียส
โครงสร้างของโลก
แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก (Mohorovicic discontinuity)
 แบ่งเขตระหว่างเปลือกโลกกับชั้นเนื้อโลก
 มีความหนาประมาณ 50 กิโลเมตร
โครงสร้างของโลก
3. แก่นโลก (Core)
 ส่วนชั้นในสุดของโลก ถัดจากชั้นเนื้อโลกมีความ
หนาแน่น และความดันสูงมาก
 มีอุณหภูมิสูงถึงประมาณ 6,670 องศาเซลเซียส มี
รัศมียาวประมาณ 3,500 กิโลเมตร
 ประกอบด้วยธาตุเหล็ก และนิกเกิลเป็นส่วนใหญ่
 แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ แก่นโลกชั้นนอก (outer core) กับ
แก่นโลกชั้นใน (inner core)
โครงสร้างของโลก
3. แก่นโลก (Core)
3.1 แก่นโลกชั้นนอก (Outer core)
 อยู่ในระดับความลึกจากผิวโลกประมาณ 2,900–5,000
กิโลเมตร มีความหนาประมาณ 2,270 กิโลเมตร
 แก่นโลกชั้นนี้เป็นของเหลว ประกอบด้วย สารละลาย
เหล็กเหลวหนักที่มีธาตุเหล็ก และนิกเกิล
การไหลหมุ น วนไปมาของสารละลายนี้ เ องที่ ท้ า ให้
นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ คิ ด ว่ า คื อ ส า เ ห ตุ ที่ ท้ า ใ ห้ โ ล ก มี
สนามแม่เหล็ก
โครงสร้างของโลก
3. แก่นโลก (Core)
3.2 แก่นโลกชั้นใน (inner core)
 อยู่ในระดับความลึกจากผิวโลกระหว่าง 5,000 กิโลเมตร
กับจุดศูนย์กลางโลก (ประมาณ 6,370 กิโลเมตร) มีความ
หนาประมาณ 1,216 กิโลเมตร
 อุณหภูมิที่ใจกลางอาจสูงถึง 6,000 องศาเซลเซียส
 ประกอบด้วยธาตุนิกเกิล และธาตุที่มีความถ่วงจ้าเพาะ
สูงมาก อยู่ในสภาพของแข็ง
โครงสร้างของโลก
นั ก ธรณี วิ ท ยาได้ แ บ่ ง โครงสร้ า งของโลก โดยใช้
องค์ประกอบทางคลื่นไหวสะเทือนเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น
5 ชั้น
1. ชั้นธรณีภาค (lithosphere)
ส่ ว นของโลกที่ เ ป็ น ของแข็ ง
ห่ อ หุ้ ม อยู่ ร อบนอกสุ ด ของโลก
หมายถึง ชั้นเปลือกโลกทั้งหมดกับ
ชั้นบางๆ ของเนื้อโลก มีความหนา
เฉลี่ย 0-100 กิโลเมตร
โครงสร้างของโลก
2. ชั้นฐานธรณีภาค (asthenosphere)
 เป็นชั้นที่ถัดจากธรณี ภาคในส่วนเนื้อโลก
 มีความอ่อนตัว และความเป็นพลาสติกมากกว่าธรณีภาค
เพื่อปรับให้ธรณีภาคอยู่ในภาวะสมดุล
 อยู่ในระดับความลึกจากผิวโลก 100-350 กิโลเมตร
 เป็นบริเวณที่เกิดหินหนืด

 คลื่นแผ่นดินไหวหรือคลื่นไหวสะเทือน เมื่อเคลื่อนผ่าน
ชั้นนี้จะมีความเร็วลดลง
โครงสร้างของโลก
3. ชั้นมัชฌิมภาค (mesosphere)
 เป็นชั้นที่อยู่ใต้ฐานธรณีภาค และเหนือแก่นโลก
 อยู่ในระดับความลึกจากผิวโลก 350-2800 กิโลเมตร
 ส่วนใหญ่ประกอบด้วยซิลิเกตของเหล็ก และแมกนีเซียม
โครงสร้างของโลก
4. แก่นโลกชั้นนอก (outer core)
 อยู่ในระดับความลึกจากผิวโลก 2,800-5,100 กิโลเมตร
 ประกอบด้วยของไหล ที่มีธาตุเหล็กและนิกเกิลเป็น
ส่วนประกอบ
โครงสร้างของโลก
5. แก่นโลกชั้นใน (inner core)
 เป็นชั้นที่มีความลึกจากชั้นแก่นโลกชั้นนอกลงไป
 ประกอบด้วยธาตุนิกเกิล และธาตุที่มีความถ่วงจ้าเพาะสูง
มาก อยู่ในสภาพของแข็ง

You might also like