You are on page 1of 25

3.

สึนามิ
ึ ามิ (Tsunami)
สน
สึ นามิ (tsunami)
สึ
น ามิ (tsunami)

สึนามิ คืสึอนามิคลื ่ นที่เกิดขึน้ ในทะเล หรื อมหาสมุทร มีลักษณะเฉพาะคือ มีความ


คือ คลื่นที่เกิดขึ้นในทะเล หรื อมหาสมุทร มีลกั ษณะเฉพาะคือ มีความยาวคลื่นยาวมาก (ประมาณ 80 – 200
ยาวคลื่นยาวมาก (ประมาณ
กิโลเมตร) มีความเร็วคลื่นสู80 –
ง (ประมาณ 200600 –กิ โ ลเมตร)
1,000 มี
กิโลเมตร/ชัว่ โมง)คเมืวามเร็ ว
่ออยูก่ ลางมหาสมุคลื่ นสู
ทรจะมี ง งคลื่ นประมาณ 30 600 – 1,000
(ประมาณ
ความสู
เซนติเมตร แต่ถา้ คลื่นเคลื่อนที่เข้าสู่ ชายฝั่งจะมีความสู งคลื่นได้ถึง 15 เมตร ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของชายฝั่ง
กิโลเมตร/ชั่วโมง) เมื่ออยู่กลางมหาสมุทรจะมีความสูงคลื่นประมาณ 30 เซนติเมตร แต่ ถ้า
คลื่นเคลื่อนที่เข้ าสู่ชายฝั่ งจะมีความสูงคลื่นได้ ถึง 15 เมตร ขึน้ อยู่กับลลักษณะของชายฝั่ ง
Tsunami การเกิดคลื่นสึนามิ

A B

C D 7
Tsunami การเกิดคลื่นสึนามิ

9
สาเหตุของการเกิดสึ นามิ
ภูเขาไฟระเบิดใต้ ทะเล

การเคลื่อนตัวของแผ่ นเปลือกโลกในแนวดิ่ง
อุกกาบาตตกในทะเล

แผ่ นดินถล่ มขนาดใหญ่ ใต้ ทะเล


พืน้ ที่เสี่ยงภัยสึนามิ
การเกิดสึนามิครัง้ ที่ร้ายแรงที่สุดของแต่ ละประเทศ
ฟิ ลิปปิ นส์ พ.ศ. 2519 ญี่ปุ่น พ.ศ. 2554
ผู้เสียชีวิตกว่ า 5,000 คน ผู้เสียชีวิตกว่ า 20,000 คน
ชายฝั่ งอลาสกา พ.ศ. 2507
ผู้เสียชีวิตกว่ า 100 คน

ปาปั วนิวกินี พ.ศ. 2541


ผู้เสียชีวิตกว่ า 2,000 คน
มหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
ชิลี พ.ศ. 2503
ผู้เสียชีวิตกว่ า 200,000 คน
ผู้เสียชีวิตกว่ า 1,000 คน
ระบบเตือนภัยสึ นามิ
การตรวจวัดคลื่นสึนามิทาได้ โดย
ติดตัง้ เครื่องมือตรวจวัดในมหาสมุทร
และตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงความดัน
นา้ เมื่อเกิดคลื่นสึนามิ ถ้ าตรวจวัดได้
เครื่องมือจะส่ งสัญญาณไปยังทุ่นลอย
นา้ จากนัน้ ทุ่นจะส่ งสัญญาณไปยัง
ดาวเทียม และดาวเทียมจะส่ งสัญญาณ
ต่ อไปยังศูนย์ เตือนภัยพิบลัติในแต่ ละ
ประเทศที่อยู่ในพืน้ ที่เสี่ยงภัย
ระบลบลตรวจวัดคลื่นสึนามิแบลบลทุ่นลอย
(Deep Ocean Assessment and Reporting Assessment of Tsunami System : DART)
ดาวเทียมอิริเดียม (Iridium Satellite)
ส่ งข้ อมูลไปยังศูนย์ เตือนภัยสึนามิบลนฝั่ ง

ทุ่นลอย (buoy)
เก็บลข้ อมูลความเร็วลม อุณหภูมิและ
ความกดอากาศ แล้ วดึงข้ อมูลไปยังดาวเทียม
เครื่องตรวจวัดความดันนา้
(Bootom Pressure Recorder : BPR)
ส่ งข้ อมูลความดันนา้ ทะเล การสั่นสะเทือนของ
เปลืองโลก และการเปลี่ยนแปลงของคลื่นทะเลไป
ยังทุ่นลอยบลนผิวนา้
วิธีปฏิบลัตติ นเมื่อเกิดสึนามิ
• เมื่อรู้ สึกว่ าเกิดแผ่ นดินไหว หรื อมีคาเตือนเรื่ องการเกิดสึนามิ หรื อเห็นระดับลนา้ ทะเลลดลงอย่ าง
ผิดปกติ ให้ รีบลออกห่ างจากบลริเวณดังกล่ าวไปอยู่ท่ สี ูงที่ม่ ันคง
• ให้ อยู่ห่างจากพืน้ ที่ล่ ุมต่าบลริเวณริมทะเลและอยู่ห่างจากแม่ นา้ ลาคลองหรื อทางนา้ ที่เชื่อมต่ อกับล
ทะเล เพราะสึนามิอาจเคลื่อนที่มาถึงได้
• ถ้ าอยู่บลนเรื อในทะเลและมีคาเตือนเรื่ องการเกิดสึนามิ หรื ออยู่ระหว่ างเกิดสึนามิ ให้ ลอยเรื ออยู่
กลางทะเล หรื อนาเรื อออกสู่ทะเลลึก
• ถ้ าอยู่บลนเรื อบลริเวณชายฝั่ งและมีคาเตือนเรื่ องการเกิดสึนามิ ถ้ ามีเวลาเพียงพอให้ รีบลนาเรื อออกไป
บลริเวณทะเลลึก ถ้ ามีเวลาน้ อยให้ ทงิ ้ เรื อไว้ และรี บลหนีไปในบลริเวณที่ปลอดภัย
• ห้ ามหลบลภัยในรถยนต์ อย่ ายืนรอดูสึนามิ หรื อรอดูความเสียหายที่เกิดขึน้ เพราะสึนามิ จะ
เคลื่อนที่เข้ าฝั่ งด้ วยความเร็วสูงมาก และถ้ าถูกซัดไปกับลคลื่นให้ พยายามหาที่ยดึ เกาะไว้
• ติดตามสถานะการณ์ แผ่ นดินไหว และสึนามิอย่ างต่ อเนื่องและฝึ กซ้ อมรั บลภัยจากสึนามิอย่ าง
สม่ าเสมอ
สึนามิขณะพัดเข้ าฝั่ งภาคใต้ ของประเทศไทย
ที่มา http://f.ptcdn.info/234/024/000/1412686493-o.jpg
สึนามิขณะพัดเข้ าชายฝั่ งประเทศญี่ปุ่น
ที่มา http://www.tuhpp.net/?p=11604
สรุ ปบลทเรี ยน
สึนามิมักจะเกิดขึน้ บลริเวณชายฝั่ ง โดยรอบลของมหาสมุทรแปซิฟิก
เนื่องจากมีแนวรอยต่ อของแผ่ นธรณีเป็ นทางยาวหรือที่ร้ ูจักกันในชื่อ
วงแหวนไฟ ซึ่งเป็ นบลริเวณที่เกิดการมุดตัวของแผ่ นธรณีและทาให้ เกิด
แผ่ นดินไหวได้ แผ่ นดินไหวทาให้ เกิดเป็ นสึนามิ
สึนามิเป็ นคลื่นที่มีลักษณะเฉพาะตัว โดยในบลริเวณที่ความลึกนา้
มาก ๆ สึนามิจะมีความสูงคลื่นน้ อย แต่ ความยาวคลื่นมากและเคลื่อนที่
ด้ วยอัตราเร็วสูง เมื่อเคลื่อนเข้ าสู่บลริเวณนา้ ตืน้ ความยาวคลื่นและ
ความเร็วคลื่นจะลดลงแต่ ความสูงคลื่นเพิ่มขึน้ ทาให้ เกิดคลื่นขนาดใหญ่
ปะทะเข้ ากับลแผ่ นดิน
สรุ ปบลทเรี ยน
สึนามิ ทาให้ มีผ้ ูเสียชีวิต บลาดเจ็บล และสูญหายจานวนมาก
นอกจากนีย้ ังทาให้ เกิดความเสียหายแก่ ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้ อม รวมทัง้ ในด้ านเศรษฐกิจเป็ นอย่ างมาก
สึนามิเป็ นภัยพิบลัตทิ ่ ีไม่ สามารถพยากรณ์ ล่วงหน้ าได้ ดังนัน้
วิธีการป้ องกันความเสียหาย คือ การเฝ้ าระวังและเตือนภัยก่ อนที่
สึนามิจะเคลื่อนที่มาถึงชายฝั่ งกระบลวนการเตือนภัยสึนามิประกอบล
ด้ วยขัน้ ตอนหลัก 3 ขัน้ คือ การตรวจวัดข้ อมูล การประมวลผลจาก
ข้ อมูล การประกาศเตือนภัย
สรุ ปบลทเรียน

สึนามิมีผลกระทบลต่ อการดาเนินชีวติ ของมนุษย์


ดังนัน้ เราควรศึกษาวิธีการปฏิบลัตติ น ทัง้ การรั บลมือ
ก่ อนเกิด ระหว่ างเกิด และหลังจากเกิดสึนามิ
ให้ เข้ าใจและสามารถปฏิบลัตไิ ด้ อย่ างถูกต้ อง
ตรวจสอบลความรู้ หลังเรี ยน
ให้ นักเรียนพิจารณาข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วเติมเครื่องหมาย √ลงในช่ องคาตอบลของข้ อความ
ที่ถูก หรือเครื่องหมาย X ลงในช่ องคาตอบลของข้ อความที่ผิด
ข้ อ ความรู้พนื ้ ฐาน คาตอบล
1. ภูเขาไฟระเบลิด แผ่ นดินไหว และสึนามิเป็ นธรณีพิบลัติภัยที่เกิดขึจาก น้ จาก X
กระบลวนการเปลี
กระบลวนการบลนผิ
่ ยนแปลงภายในโลก
วโลก
2. การเคลื่อนที่ของแผ่ นธรณีไม่ ก่อให้ เกิดเป็
ธรณี พิบลนัตดิิภนัยไหว หรือสึนามิได้
นแผ่ X
3. ภูเขาไฟสามารถพบลเฉพาะบลางบลริ เวณเช่ น แนวรอยต่ อของแผ่ นธรณีจุดร้ อน X
ขาไฟสามารถพบลได้ ทุกบลริเวณบลนโลก
4. คลื่นไหวสะเทือนเป็ นคลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ √
5. รอยเลื่อนและชัน้ หินคดโค้ งเป็ นโครงสร้ างทางธรณีท่สี ัมพันธ์ กับลการเคลื่อนที่ √
ของแผ่ นธรณี
ข้ อ ความรู้พนื ้ ฐาน คาตอบล
6. การเกิดภูเขาไฟระเบลิดใต้ ทะเลอาจทาให้ เกิดสึนามิได้ √
7. การเกิดแผ่ นดินไหวสามารถเกิดได้ ตลอดเวลา √
8. ในประเทศไทยพบลภู
ในประเทศไทยไม่ มีกเารสขาไฟดั
ารวจพบลภู
บลสนิทในประเทศไทย
เขาไฟ XXX
X
9. หากเกิดแผ่ นดินไหวขณะอยู่ในอาคารควรหมอบลลงใต้ โต๊ ะเพื่อป้ องกันสิ่งของ √
ตกใส่
10. หากเกิดสึนามิขณะอยู่ในเรือกลางทะเลควรน
กลางทะเลให้ รีบลาเรื
เข้ าอใกล้
ออกจากฝั ่ งให้่มสุดากที่สุด XX
ฝ่ ั งให้ มากที
เนื่องจากเมื่ออยู่ในทะเลลึกความสูงคลื่นจะน้ อย

You might also like