You are on page 1of 2

ภัยพิบัตใิ น

อุทกภัย

เป็ นภัยธรรมชาติมีทงั ้ อุทกภัยแบบฉับพลัน เช่น น้ำป่ าไหลหลาก และ


อุทกภัยที่เกิดขึน
้ ช้า ๆ จากน้ำล้นตลิ่ง

อุทกภัย : สาเหตุ

- การตัดไม้ทำลายป่ าทำให้ไม่มีต้นไม้ช่วยดูดซับน้ำฝน
- ฝนตกหนักต่อเนื่องเป็ นเวลานานจนไม่สามารถระบายน้ำออกจาก
พื้นที่ได้ทัน
- การระบายน้ำไม่ดี หรือมีสิ่งกีดขวางทางน้ำ เช่น สร้างบ้านเรือนขวาง
ทางน้ำไหล
ถนนไม่มีท่อระบายน้ำ

อุทกภัย : ผลกระทบ

ทำให้ทรัพย์สิน อาคาร บ้านเรือน เส้นทางคมนาคม พื้นที่ทางการ


เกษตรเสียหาย ก่อให้เกิดโรค และอาจก่อให้เกิดเหตุไฟรั่วได้ อุทกภัยครัง้
ใหญ่ที่เกิดในประเทศไทยเกิดขึน
้ เมื่อ พ.ศ.2554
มีพ้น
ื ที่ประสบภัยกระจายอยู่ทั่วประเทศ

อุทกภัย : การสังเกตสถานการณ์อุทกภัย

- สังเกตระดับน้ำในแม่น้ำลำคลองหากเพิ่มสูงกว่าปกติจนใกล้เคียงระดับ
ตลิ่ง ให้เตรียมพร้อมรับมืออุทกภัย
- ส่วนอุทกภัยจากน้ำป่ าให้สังเกตสีของน้ำในลำธารถ้าเป็ นสีแดงขุ่นหรือสี
โคลน ให้ระวังการเกิดน้ำป่ าไหลหลาก
ภัยพิบัติสึนามิในประเทศไทย วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547

เกิดแผ่นดินไหวใต้น้ำ ก่อให้เกิดคลื่นน้ำขนาดใหญ่บริเวณนอกชายฝั่ ง
ด้านตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เคลื่อนเข้ามายังภาคใต้
บริเวณชายฝั่ งทะเลอันดามันของไทย มีผลกระทบ 6 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต
พังงา ระนอง กระบี่ ตรัง และสตูล

สึนามิ : การเตรียมพร้อมรับมือและสังเกตก่อนเกิดสึนามิ

1. รู้สึกถึงแผ่นดินไหว 4. ประกาศเตือนภัย
2. ระดับน้ำทะเลลดลง 5. ติดตามข่าวสาร
จากช่องทางต่าง ๆ
3. พฤติกรรมของสัตว์ไม่ปกติ 6. สังเกตป้ ายเตือน
ในพื้นที่และปฏิบัติตาม
เช่น ฝูงนกขนาดใหญ่บินทั่วท้องฟ้ า
สึนามิ : การปฏิบัติตนขณะเกิดสึนามิ
1. ออกจากบริเวณชายหาดให้เร็วที่สุด 4. หากอยู่บน
เรือให้แล่นออกไปสู่ทะเลลึก
2. หนีขน
ึ ้ ที่สูงที่มั่นคงแข็งแรง เช่น ภูเขา ตึก 5. เพราะความ
รุนแรงของคลื่นน้อยกว่า
3. หากว่ายน้ำอยู่ให้มองหาสิ่งยึดเกาะได้ เช่น ท่อนไม้ และว่ายออกสู่
ทะเลลึกให้เร็วที่สุด
สึนามิ สามารถเกิดขึน
้ ได้หลายระลอกและเกิดนานเป็ นชั่วโมง จึงไม่ควรรีบ
ขึน
้ ฝั่ ง ให้รอฟั งประกาศจากหน่วยงาน ราชการว่าคลื่นสงบแล้ว

You might also like