You are on page 1of 4

ภัยพิบัตใิ นทวีปเอเชีย : พายุไซโคลน Coringa ประเทศอินเดีย

ในปี 1839 ได้เกิดเหตุการณ์พายุถล่มที่บริ เวณตะวันออกเฉี ยงใต้ของประเทศอินเดีย ซึ่ งได้โจมตีเมืองที่


ชื่ อว่า Coringa เป็ นเมืองที่อยู่ติดกับแม่น้ าโกดาวารี (Godavari River) ทาให้เมือง Coringa เสี ยหายอย่างรุ นแรง
มากจากการที่พายุได้นาพาคลื่นยักที่สูงถึง 12 เมตร ทาให้เรื อบริ เวณนั้นเสี ยหายและสาบสู ญไปถึง 20,000 ลา
รวมถึงได้ทาให้มีผเู ้ สี ยชีวิตสู งถึง 300,000 ราย

ภาพที่ 1 บริ เวณสถานที่ที่เกิดพายุ Coringa ที่อินเดีย ปี 1839

ภาพที่ 2 เหตุการณ์หลังจากพายุถล่มเมืองCoringa ในบริ เวณใกล้แม่น้ าโกดา ในปี 1839


วิเคราะห์ ปัญหาทีเ่ กิดว่ าเกิดจากสาเหตุอะไร
พายุที่เกิดนี้ เป็ นพายุที่เรี ยกว่าพายุไซโคลน(Cyclone) จะถูกใช้กบั พายุที่เกิดในมหาสมุทธอินเดีย โดย
อินเดียนั้นเป็ นประเทศที่ประมาณ 60 %จะติดอยูก่ บั ทะเล ซึ่ งอย่างที่ทราบกันดีว่าทะเลนั้นจะเป็ นจุดเริ่ มต้นของ
การเกิดพายุ โดยปัจจัยที่ทาให้เกิดพายุน้ นั ได้แก่

• อากาศมีความชื้นที่สูง
• มีความไม่เสถียรของสภาพอากาศ(มีแรงดันอากาศสู งและต่าเกิดพร้อมกัน)
• เกิดแรงที่ทาให้อากาศลอยตัวขึ้น(Lifting Action)
จากภาพที่ 2 จะเห็นว่าสภาพของพื้นที่ที่ถูกผลกระทบนั้นจะมีแค่บริ เวณชายฝั่งเท่านั้น เพราะว่าเมื่อพายุ
ได้เริ่ มก่อตัวขึ้นที่บริ เวณกลางทะเล มันจะสะสมพลังงาน(สะสมความแรงของพายุ)และพลังงานที่สะสมมาก็จะ
เริ่ มลดลงเมื่อพายุถึงบริ เวณชายฝั่ง ดังนั้นทาให้บริ เวณชายฝั่งทะเลจะได้รบผลกระทบที่รุนแรงที่สุด แต่บริ เวณ
แผ่นดินก็ยงั จะได้รับผลกระทบจากคพายุที่สร้างขึ้นไว้น้ นั คลื่นน้ าจากทะเล ซึ่ งทั้ง 2 สาเหตุน้ ี ทาให้บริ เวณเมือง
Coringa ได้รับผลกระทบอย่างหนัก

วิธีการแก้ ไขปัญหา
ด้วยความที่พายุน้ นั เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นเอง ในอดีตไม่สามารถที่จะทราบล่วงหน้าได้ว่าจะเกิดพายุวนั ไหน
เวลาใดและมีความรุ นแรงขนาดไหน

1. ในปั จจุบนั ได้มีองค์กรที่ตรวจสอบสภาพภูมิอากาศของแต่ละประเทศไว้ ทาให้พอที่จะรับรู ้ได้ว่า


บริ เวณใดอาจจะเสี่ ยงต่อการเกิดพายุ และสามารถทราบได้ทนั ทีเมื่อเกิดเหตุการณ์
2. สามารถสร้างสถานี หลบภัยในบริ เวณที่เสี่ ยงต่อการเกิดพายุโจมตีไว้ในจุดที่มีผคู ้ นอาศัยเยอะและ
ทนต่อความรุ นแรงของแรงดันน้ าได้
3. ต้องปรั บสภาพความเป็ นอยู่ใ นบริ เ วณชายฝั่ งให้สามารถรั บมื อกับพายุหรื อคลื่ น น้ าทะเล เช่ น
บ้านพักนั้นสามารถลอยอยู่เหนื อน้ าได้และมีการทอดสมอ คล้ายทอดสอมเรื อเพื่อป้ องกันบ้านถูก
พัดไปตามกระแสน้ า
วิธีการรีบมือกับพายุ
1. หมัน่ ติดตามการพยากรณ์อากาศ
2. ติดตั้งสายล่อฟ้าและเก็บของที่มีความเสี่ ยงต่อการปลิวตามแรงลม
3. ไม่ควรอยูบ่ ริ เวณที่โล่งแจ้ง เช่น ดาดฟ้า
4. ไม่ควรอยู่ใกล้หรื อใต้ตน้ ไม้หรื อที่ที่มีสิ่วแหล่มๆขนาดใหญ่ เพราะสิ่ งนั้นเปรี ยบเสมือนตัวล่อ
ไฟฟ้า
5. งดการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิก
6. เมื่อทราบเหตุการณ์การล่วงหน้า ทางที่ดีควรอบยพออกจากบริ เวณนั้นเป็ นที่ดีที่สุด

อ้ างอิง
• กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.),(2018),วิธีเตรี ยมพร้อมรับมือพายุฤดูร้อน ลดเสี่ ยงอันตราย
จากอากาศแปรปรวน,สื บค้นเมื่อ 2 ม.ค. 2019,จาก www.home.kapook.com/view191238
• ธรารัตน์ จิ๋วปัญญา,(2011),การเกิดพายุ,สื บค้นเมื่อ 2 ม.ค. 2019,จาก
https://sites.google.com/site/praktkarnbnlok/kar-keid-phayu
• Wikipedia,(2016),พายุหมุนเขตร้อน,สื บค้นเมื่อ 2 ม.ค. 2019,จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/พายุหมุนเขตร้อน
• แมวหง่าว,(2015),11ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ ที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์โลก,สื บค้นเมื่อ 2 ม.ค. 2019,
http://travel.trueid.net/detail/g9ZOQVQ0GVA

You might also like