You are on page 1of 4

ธรณีพบิ ัตภิ ยั

ดินถล่ม

ดินถล่ม (Landslide) เป็ นการเลื่อนไถลตามแรงโน้ มถ่วงของโลกของมวลดินและหินในพื ้นที่ที่มีความลาดชันสูง เช่น แนวเขา หน้ าผา นอกจากนี ้ยังเกิดใน
พื ้นที่ภเู ขาสูงรองรับด้ วยหินแกรนิตและหินดินดานเป็ นป่ าโปร่งตามธรรมชาติและพบต้ นไผ่ขึ ้นอยู่ทวั่ ไป สำหรับดินถล่มในประเทศไทยมักเกิดขึ ้นพร้ อมกับน้ำป่ า
ไหลหลาก เมื่อเกิดฝนตกหนักรุนแรงและต่อเนื่องหลายวัน มีปริ มาณฝนมากกว่า 200 มิลลิเมตร การป้องกันดินถล่มอาจใช้ การปลูกหญ้ าแฝก การใช้ ลวดตาข่าย
กันตามแนวถนน
้ และจะเป็ นความเสียหายแก่ประชาชน เป็ นต้ น

ปั จจัยเหล่านี ้เป็ นตัวกำหนด


-ความเร็วของการย้ ายมวล

-ปริ มาณน้ำที่เข้ ามาเกี่ยวข้ อง

-ชนิดของสารที่เกิดการย้ ายมวล

-ความลาดชันของพื ้นที่

แผ่นดินไหว

แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็ นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทำให้ เกิดการเคลื่อนตัว


ของชันหิ
้ นขนาดใหญ่เลื่อน เคลื่อนที่ หรื อแตกหักและเกิดการโอนถ่ายพลังงานศักย์ผ่านในชันหิ
้ นที่อยู่ติดกัน

-แผ่นดินไหวตามธรรมชาติ
แผ่นดินไหวจากธรรมชาติเป็ นธรณีภยั พิบตั ิชนิดหนึง่ ส่วนมากเป็ นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่จะเกิดจากการสัน่ สะเทือนของพื ้นดิน เนื่องมาจากการปลดปล่อย
พลังงานเพื่อระบายความร้ อน ที่สะสมไว้ ภายในโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับความสมดุลของเปลือกโลกให้ คงที่ โดยปกติเกิดจากการเคลื่อนไหวของรอย
เลื่อน ภายในชันเปลื
้ อกโลกที่อยู่ด้านนอกสุดของโครงสร้ างของโลก มีการเคลื่อนที่หรื อเปลี่ยนแปลงอย่างช้ า ๆ อยู่เสมอ

-แผ่นดินไหวจากการกระทำของมนุษย์

มีทงทางตรงและทางอ้
ั้ อม เช่น การระเบิด การทำเหมือง สร้ างอ่างเก็บน้ำหรื อเขื่อนใกล้ รอยเลื่อน การทำงานของเครื่ องจักรกล การจราจร รวมถึงการเก็บขยะ
นิวเคลียร์ ไว้ ใต้ ดิน เป็ นต้ น

คลื่นสึนามิ

คลื่นสึนามิ (Tsunami) เป็ นคลื่นใต้ น้ำที่เกิดจากการเกิดแผ่นดินไหวหนือภูเขาระเบิดใต้ มหาสมุทรมากกว่าแมกนิจดู 7.0 รวมทังจุ ้ ดโฟกัสต้ องอยู่ลกึ ลงไปใน
เปลือกโลกน้ อยกว่า 50 กิโลเมตร และเปลือกโลกเคลื่อนที่ในแนวตัง้ หรื อเกือบตัง้ ส่วนใหญ่มกั เกิดขึ ้นบริ เวณที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว เช่น พื ้นที่รอบ
ๆ มหาสมุทรแปซิฟิก หรื อ “วงแหวนไฟ”

คลื่นสึนามิเกิดขึ ้นจากการกระทบกระเทือนที่ทำให้ น้ำปริ มาณมากเกิดการเคลื่อนตัว เช่น แผ่นดินไหว แผ่นดินถล่ม หรื ออุกกาบาตพุ่งชนเมื่อแผ่นดินใต้ ทะเลเกิด
การเปลี่ยนรูปร่างอย่างกะทันหัน จะทำให้ น้ำทะเลเกิดเคลื่อนตัวเพื่อปรับระดับให้ เข้ าสูจ่ ดุ สมดุลและจะก่อให้ เกิดคลื่นสึนามิ การเปลี่ยนรูปร่างของพื ้นทะเลมักเกิด
ขึ ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวเนื่องจากการขยับตัวของเปลือกโลก ซึง่ จะเกิดบริ เวณที่ขอบของเปลือกโลกหลายแผ่นเชื่อมต่อกันที่เรี ยกว่า รอยเลื่อน (fault) เช่น
บริ เวณขอบของมหาสมุทรแปซิฟิก นอกจากแผ่นดินไหวแล้ ว ดินถล่มใต้ น้ำที่มกั เกิดร่วมกับแผ่นดินไหวสามารถทำให้ เกิดคลื่นสึนามิได้ เช่นกัน นอกจากการกระ
ทบกระเทือนที่เกิดใต้ น้ำแล้ ว การที่พื ้นดินขนาดใหญ่ถล่มลงทะเล หรื อการตกกระทบพื ้นน้ำของวัตถุ ก็สามารถทำให้ เกิดคลื่นได้ คลื่นสึนามิที่เกิดในรูปแบบนี ้จะลด
ขนาดลงอย่างรวดเร็วและไม่มีผลกระทบต่อชายฝั่ งที่อยู่ห่างไกลมากนัก อย่างไรก็ตาม ถ้ าแผ่นดินมีขนาดใหญ่มากพอ อาจทำให้ เกิด เมกะสึนามิ ซึง่ อาจมีความสูง
ร่วมร้ อยเมตรได้

หลุมยุบ
หลุมยุบ (Sinkhole) เป็ นปรากฏการณ์ที่ดินยุบตัวลงเป็ นหลุมลึกและมีเส้ นผ่านศูนย์กลางตังแต่
้ 1-200 เมตร ความลึกตังแต่
้ 1-20 เมตรหรื อมากกว่านัน้
การเกิดหลุมยุบในตอนแรกปากหลุมจะมีลกั ษณะเกือบกลมและมีน้ำสีขาวขังอยู่ก้นหลุม หลังจากนันน้ำจะกั
้ ดเซาะก้ นหลุมให้ กว้ างขึ ้นในลักษณะคล้ ายรูปน้ำเต้ า
จนปากหลุมพังลงมา

หลุมยุบจากธรรมชาติสว่ นใหญ่เกิดจากกระบวนการละลายของชันหิ ้ นด้ วยสารละลายที่เป็ นกรดหรื อน้ำฝนที่เป็ นกรดไหลซึมลงใต้ ดิน เมื่อหินจำพวก


คาร์ บอเนต เช่น หินปูน หินโดโลไมต์ ทำปฏิกิริยากับน้ำสารละลายกรดก็จะเกิดการละลายกลายเป็ นโพรงหรื อช่องว่างใต้ ผิวดิน

รอยดินแยก

รอยดินแยก (Creep) มักเกิดขึ ้นบนที่ลาดภูเขาและมีความลาดชันสูง เมื่อเกิดฝนตกหนักจะทำให้ ดินอิ่มตัวแต่ยงั ไม่มีการเคลื่อนตัวลงมาเหมือนการเกิดดินถล่ม

ตลิ่งทรุดตัว

ตลิ่งทรุดตัว (Bank Erosion) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำในแม่น้ำ ทำให้ เกิดความแตกต่างของระดับน้ำใต้ ดินกับน้ำในแม่น้ำ เช่น ระดับน้ำใน


แม่น้ำลดลงเนื่องจากเป็ นฤดูแล้ งหรื อเกิดจากความรุนแรง ของกระแสน้ำในช่วงที่เกิดน้ำหลากตามธรรมชาติ การเกิดธรณีพิบตั ิภยั ของประเทศไทยในปี 2550
ส่วนใหญ่เกิดดินถล่ม ดินไหล หินร่วง รอยดินแยก หลุมยุบ ตลิ่งทรุดตัว และแผ่นดินไหว

ภูเขาไฟระเบิด

-เกิดจากการที่หินหนืดที่เรี ยกว่า"แมกมา"ภายใต้ เปลือกโลกได้ รับแรงดันทำให้ เกิดการแทรกตัวตามรอยแตกออกมาสูภ่ ายนอก โดยมีแรงปะทุ สิ่งที่ออกมา


ประกอบด้ วย หินหนืดเมื่ออกมาเรี ยกว่า "ลาวา" ไอน้ำ ฝุ่ นละออง ขี ้เถ้ า แก๊ สต่างๆ เช่น ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ และคาร์ บอนไดออกไซด์
-บริ เวณที่พบ

ร้ อยละ 90 ของภูเขาไฟตังอยู ้ ่ที่"วงแหวนแห่งไฟ (Ring of Fire)" รอบๆ มหาสมุทรแปซิฟิกมีลกั ษณะเป็ นเกือกม้ า ประเทศที่ตงหรื ั ้ อมีพื ้นที่บางส่วนอยู่ใน
แนววงแหวนไฟ ได้ แก่ ประเทศเบลีซ โบลิเวีย บราซิล แคนาดา โคลอมเบีย ชิลี คอสตาริ กา เอกวาดอร์ ติมอร์ -เลสเต เอลซัลวาดอร์ ไมโครนีเซีย ฟิ จิ กัวเตมาลา
ฮอนดูรัส อินโดนีเซีย ญี่ปนุ่ คิริบาส เม็กซิโก นิวซีแลนด์ นิการากัว ปาเลา ปาปั วนิวกินี ปานามา เปรู ฟิ ลิปปิ นส์ รัสเซีย ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน ตองกา ตูวาลู และ
สหรัฐอเมริ กา ร้ อยละ 80 ของแผ่นดินไหวใหญ่เกิดที่บริ เวณวงแหวนแห่งไฟ

-ภูเขาไฟทัว่ โลกประมาณ 1,900 ลูกที่จดั เป็ นภูเขาไฟมีพลัง(Active Volcano)สำหรับประเทศไทยไม่พบภูเขาไฟที่ยงั มีพลังแต่พบภูเขาไฟที่ดบั สนิทแล้ ว


ได้ แก่ ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง ภูเขาไฟหินหลุบ ภูเขาไฟคอก ภูเขาไฟอังคาร ภูเขาไฟกระโดง ภูเขาไฟไบรบัด ภูเขาไฟดอยผาดอกจำปาแดด ภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู

You might also like