You are on page 1of 50

หน่วยการเรียนรู้ที่ 65

ภัยพิบัติทางธรรมชาติ

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
• ปัญหาทางกายภาพและภัยพิบั ติทางธรรมชาติในประเทศและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
• สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ และภัยพิบัติ
• การจัดการภัยพิบัติ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ภัยพิบัติทางธรณีภาค
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด
สึนามิ แผ่นดินถล่ม

ภัยพิบัติทางบรรยากาศภาค
ฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน

พายุทอร์นาโด

ภัยพิบัติทางอุทกภาค
อุทกภัย

ภัยพิบัติทางชีวภาค
ไฟป่า ภัยแล้ง
แผ่นดินไหว
กระบวนการเกิดแผ่นดินไหว

รอยเลื่อนปกติ รอยเลื่อนย้อน รอยเลื่อนตามแนวระดับ


การกระจายแผ่นดินไหวของโลก คำถำม
นักเรียนคิดว่าประเทศใดที่ได้รับ
ผลกระทบจากแผ่นดินไหวมาก
ที่สุด เพราะเหตุใด?
แผนที่แสดงพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย
19 มิ.ย. 2550 4.5 ริกเตอร์ 5 พ.ค. 2557 6.3 ริกเตอร์
• อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ • อ.แม่ลาว จ.เชียงราย

23 ธ.ค. 2551 4.1 ริกเตอร์


• อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี
คำถำม
นักเรียนคิดว่าภูมิภาคใด
16 เม.ย.2555 4.3 ริกเตอร์ มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหว
• อ.ถลาง จ.ภูเก็ต มากที่สุด เพราะเหตุใด?
ผลจากแผ่นดินไหว

อาคารบ้านเรือนเสียหาย เกิดเพลิงไหม้

สึนามิ ดินถล่ม
การปฏิบัติตนในขณะเกิดแผ่นดินไหว

หลบใต้โต๊ะ
ติดตามข่าวสาร ตรวจสอบร่างกายตนเอง
เตรียมของใช้ที่จาเป็น สวมรองเท้าป้องกัน
สังเกตพฤติกรรมสัตว์ ห้ามใช้ลิฟต์ ออกจากอาคาร
ภูเขาไฟปะทุ แก๊สต่าง ๆ

เกิดจากการปะทุของหินหนืดหลอมเหลวและแก๊สจากใต้เปลือกโลก ปากปล่องภูเขาไฟ
ความรุนแรงของการปะทุจะขึ้นอยู่กับแรงดันทีป่ ะทุออกมา

สาเหตุ ลาวา

เกิดจากหินหนืดที่อยู่ใต้เปลือกโลกเกิดการเคลื่อนตัวทาให้มีแรงดันโดยจะปะทุ
และแทรกขึ้นมาตามรอยแยกหรือปะทุออกมาจากปล่องภูเขาไฟ แนวรอยต่อของ
เปลือกโลกจะมีโอกาสเกิดภูเขาไฟมากที่สุด
หินหนืดแทรกตัว

ลาวาหลาก

กระเปาะหินหนืด
ชั้นหิน
ธรณีภาค
หินหนืด(แมกมา)
การกระจายภูเขาไฟของโลก
ผลจากภูเขาไฟปะทุ

แก๊สภูเขาไฟ ทีฟรา ลาวาหลาก

แผ่นดินถล่ม ลาฮาร์ หินตะกอนภูเขาไฟหลาก


การปฏิบัติตนในขณะภูเขาไฟปะทุ

ติดตามข่าวสาร อพยพออกจากพื้นที่ อาศัยศูนย์อพยพชั่วคราว


วางแผนช่องทาง ห้ามหลบในอาคาร รอฟังประกาศจากทาง
การติดต่อสื่อสาร ที่ไม่แข็งแรง ราชการให้อพยพกลับ
สึนามิ
กระบวนการเกิดสึนามิ 3
เมื่อใกล้ชายฝั่ง คลื่นจะลดความเร็วและมี
ความสูงเพิ่มขึน้ โถมเข้าทาลายสิ่งต่าง ๆ
2 คลื่นใต้ทะเลลึกที่มีความยาวคลื่นมาก
เคลื่อนตัวด้วยความเร็ว 700 กม./ชม.

1 เกิดแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟปะทุใต้มหาสมุทรจะกระตุน้
ให้เปลือกโลกเคลื่อนตัว เกิดคลื่นกระจายออกทุกทิศทาง
สาเหตุการเกิดสึนามิ

แผ่นดินไหวใต้ทะเล ภูเขาไฟปะทุใต้ทะเล แผ่นดินถล่มใต้ทะเล อุกกาบาตตกในทะเล


การกระจายสึนามิของโลก
ผลจากสึนามิ

ชายฝั่งเสียหาย แหล่งน้าจืดกลายเป็นน้าเค็ม

อาคาร บ้านเรือน เสียหาย เกิดการสูญเสียชีวิต


ผลจากสึนามิ
ก่อนเกิดสึนามิ หลังเกิดสึนามิ

ภาพถ่ายจากดาวเทียมแสดงความเสียหายในขณะบริเวณเมืองชายฝั่งนาโตริ จังหวัดมิยางิ ประเทศญี่ปุ่น


การปฏิบัติตนในขณะเกิดสึนามิ

ติดตามข่าวสาร
อพยพไปยังที่สูง ฟังประกาศ และอพยพ
ที่น้าท่วมไม่ถึง เมื่อสถานการณ์ปกติ
ห้ามอยู่ใกล้สิ่งปลูกสร้าง
เตรียมของใช้ที่จาเป็น ที่เสียหาย
แผ่นดินถล่ม
เป็นการเคลื่อนที่ของดินหรือหินตามบริเวณพื้นที่ลาดชันที่เป็นภูเขาหรือเนินเขาเนื่องจากแรงดึงดูดโลก อาจเคลื่อนหลุดออกมาหรือพังทลายลงมาก็ได้

สาเหตุ
1. ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน
2. สภาพภูมิประเทศที่เป็นหุบเขาและมีความลาดชันมาก
3. การตัดถนนผ่านภูเขา
4. การตัดไม้ทาลายป่า
5. การก่อสร้างสาธารณูปโภคต่าง ๆ
6. การใช้ที่ดินไม่เหมาะสม เช่น การทาเหมือง
การทาเกษตรในพื้นที่ลาดชัน
การกระจายแผ่นดินถล่มของโลก
ผลจากแผ่นดินถล่ม

บ้านเรือนเสียหาย พืนที่เกษตรเสียหาย

ถนนตัดขาด เกิดการสูญเสียชีวิต
การปฏิบัติตนในขณะเกิดแผ่นดินถล่ม

ติดตามพยากรณ์อากาศ อพยพออกจากพื้นที่ ห้ามเข้าใกล้บ้านเรือน


สังเกตสัญญาณเตือนภัย ห้ามเข้าใกล้ลาน้า ที่ได้รับความเสียหาย
ทางธรรมชาติ ทาทางเบี่ยงดินและน้า
พายุ

พายุ คือ ลมที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรงและสภาพอากาศสามารถบ่งบอกถึง


ความรุนแรงของพายุแต่ละระดับได้

พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน พายุทอร์นาโด


ผลกระทบจากความรุนแรงของพายุ

พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน

พายุทอร์นาโด
กระบวนการเกิด พายุฝนฟ้าคะนอง
ความสูง (กม.)
12

3
1.5
0
ขั้นก่อตัว ขั้นเติบโตเต็มที่ ขั้นสลายตัว
แผนที่การกระจายพายุฝนฟ้าคะนองของโลก
ผลจากพายุฝนฟ้าคะนอง

ลมกระโชกแรง ฟ้าแลบ

พายุลูกเห็บ น้าท่วม ฝนตกหนัก


ฉับพลัน
กระบวนการเกิด พายุหมุนเขตร้อน

กระแสอากาศไหลออก การไหลของกระแส เกิดบริเวณละติจุด


อากาศร้อนชื้นในแนวดิ่ง
8 - 15 องศาเหนือและใต้

เกิดขึนเหนือพืนมหาสมุทรที่มีอุณหภูมิ
กาแพงตาพายุ
พืนผิวน้าทะเล 27 องศาเซลเซียสขึนไป
ตาพายุ (ลมสงบ
และเป็นศูนย์กลาง
ลมผิวพื้น
โตเต็มที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางตังแต่
ความกดอากาศต่า)
100 กิโลเมตรขึนไป
แถบฝนหมุนเป็นวงกว้าง (10 – 100 กม.)
แผนที่การกระจายพายุหมุนเขตร้อนของโลก
ผลจากพายุหมุนเขตร้อน
กระบวนการเกิด พายุทอร์นาโด

การเกิดพายุฝนฟ้าคะนองแบบซูเปอร์เซลล์

ความรุนแรงขึนอยู่กับความเร็วที่จุดศูนย์กลาง
ซูเปอร์เซลล์
(Supercell) ความเร็วของการเคลื่อนที่ ทิศทาง
เมฆคิวมูโลนิมบัส
และความกว้างของวงพายุ
เมโซไซโคลน หยาดน้าฟ้าที่ตกจาก
ใต้ฐานเมฆระเหย
ก่อนตกลงถึงพื้นดิน เป็นพายุประจ้าถิ่นตอนกลางของสหรัฐอเมริกา
ผนังเมฆ ลูกเห็บ
ฝน
ทอร์นาโด
เกิดในช่วงฤดูร้อนไปจนถึงปลายฤดูใบไม้ร่วง
ทิศทางของพายุ
แผนที่การกระจายพายุทอร์นาโดของโลก
ระดับความรุนแรงของพายุทอร์นาโด

EF – 0 EF – 1 EF – 2 EF – 3 EF – 4 EF – 5
65 – 85 MPH 86 – 110 MPH 111 – 135 MPH 136 – 165 MPH 166 – 200 MPH > 200 MPH

เสียหายน้อย เสียหาย เสียหายหนัก เสียหาย เสียหาย เสียหาย


105 – 137 กม/ชม ปานกลาง 178 – 2178 กม/ชม รุนแรง รุนแรงมาก รุนแรงมากที่สุด
138 – 177 กม/ชม 218 – 266 กม/ชม 267 – 322 กม/ชม มากกว่า322 กม/ชม
ผลจากพายุทอร์นาโด

ระดับเบา ระดับปานกลาง ระดับรุนแรง


การปฏิบัติตน

หลบในอาคาร ห้ามออกจากบ้านทันที
ติดตามพยากรณ์อากาศ หลังพายุสงบ
ห้ามอยู่ใกล้ต้นไม้ใหญ่
ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย ตัดต้นไม้ที่โค่นล้ม
ให้แข็งแรง ไม่ใส่เครื่องประดับโลหะ
อุทกภัย : กระบวนการเกิดอุทกภัย
การกระจายอุทกภัยของโลก
พายุโซนร
้อนไหหม
้า
อุทกภัยในไทยปี2554
• ปลายเดือนมิถุนายน พายุโซนร
้อนนกเตน
• ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

• ปลายเดือนกรกฏาคม
• ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พายุโซนร
้อนไห
้ถาง

• 27-29 กันยายน 2554


• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณพื้นทีร่ ิมแม่น้าโขง
พายุโซนร
้อนเนสาด
พายุโซนร
้อนนาลแก

• พายุต่อเนื่องจากไห่ถาง
• 5 – 7 ตุลาคม 2554 • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ
• ภาคกลางและภาคตะวันออก ด้านตะวันออกของภาคเหนือ
ภัยจากการเกิดอุทกภัย

น้าป่าไหลหลาก แผ่นดินถล่ม ไฟฟ้าดูด หรือรั่ว

ภัยจากสัตว์ร้าย มลพิษทางน้า ความเสียหายทางเศรษฐกิจ


การปฏิบัติตน

ติดตามพยากรณ์อากาศ อยู่ในอาคารที่แข็งแรง ซ่อมแซมบ้านเรือน


เตรียมวางแผนอพยพ ห้ามเข้าใกล้อุปกรณ์ไฟฟ้า ช่วยเหลือผู้ประสบภัย
ขุดลอกแหล่งน้า ไม่ขับขี่ยานพาหนะ ฝังซากสิ่งมีชีวิต
ไฟป่า
สาเหตุการเกิด

กระบวนการเกิดไฟป่า

ภัยแล้ง กิ่งไม้เสียดสี ฟ้าผ่า

สามเหลี่ยมไฟ

เผาหาของป่า เผาไร่ เผาขยะ


พื้นที่เสี่ยงการเกิดไฟป่าของโลก
พื้นที่เสี่ยงการเกิดไฟป่าของไทย

ที่มา : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, ส้านักป้องกัน ปราบปราม และควบคุมไฟป่า


ผลจากไฟป่า
ปัญหาหมอกควัน

พื้นที่ป่าและพรรณไม้
ถูกเผาไหม้

หน้าดินถูกเปิดโล่ง

สัตว์ป่าลดลง
เกิดการอพยพ
การปฏิบัติตน

เตรียมอุปกรณ์ดับไฟป่า อพยพไปยังที่ปลอดภัย สร้างระบบป้องกันไฟป่า


ดูแลพืนที่ริมแนวชายป่า สร้างแนวกันไฟ ไม่ประมาทในการจุดไฟ
ท้าระบบป้องกันไฟป่า ไม่สูดดมควันไฟ จัดเวรเฝ้าระวังไฟป่า
ภัยแล้ง 3 ประเภท
ทางอุตุนิยมวิทยา ทางการเกษตร ทางอุทกวิทยา
สาเหตุการเกิด

การผันแปรของสภาพอากาศ ปรากฏการณ์เอลนีโญ ลานีญา ความผิดปกติของต้าแหน่งร่องมรสุม

ขาดแหล่งกักเก็บนา้ การตัดไม้ท้าลายป่า ความต้องการใช้น้าเพิ่มขึน


พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของโลก
พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของไทย
สัดส่วนปริมาณฝนที่ต่างไปจากค่าเฉลี่ยบริเวณประเทศไทย

ที่มา : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร(องค์การมหาชน)
ผลจากภัยแล้ง

ขาดแคลนน้า สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้าตาย

เกิดไฟป่า เกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
การปฏิบัติตน

เก็บกักน้าไว้ใช้ ใช้น้าอย่างประหยัด พัฒนาลุ่มน้า


ติดตามสภาวะอากาศ ปลูกพืชที่ใช้น้าน้อย ลดแก๊สเรือนกระจก
ก้าจัดวัสดุเชือเพลิง ตรวจสอบการรั่วซึม ใช้น้าอย่างประหยัด
VDO

You might also like