You are on page 1of 22

ั ่ ง่ |1| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม

GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

น้องๆ คงคุน้ เคยกับเมฆกันเป็ นอย่างดีนะครับ เมฆบนท้องฟ้ามีรปู ร่างต่างๆ มากมาย น้องๆ สงสัยหรือไม่


ว่า เมฆเกิดขึน้ มาได้อย่างไร เมฆชนิดต่างๆ มีลกั ษณะอย่างไร เหตุใดจึงมีรปู ร่างเช่นนัน้ เริม่ เรียนกันเลยครับ

เมฆ (Cloud) คือ กลุ่มก้อนของหยดน้าและผลึกน้าแข็งทีล่ อยตัวอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศ เกิดจากการควบแน่น


ของไอน้าและโดยมีละอองลอยเป็ นแกนกลาง เมือ่ สะสมไอน้าจนอิม่ ตัว จะก่อให้เกิดหยาดน้าฟ้า1 และตกลงมาสูพ่ น้ื
โลกได้

9.1 ชนิ ดของเมฆ


น้องๆ รูใ้ ช่ไหมว่าเมฆมีหลายชนิด การแบ่งชนิดของเมฆสามารถแบ่งได้ทงั ้ ตามรูปร่างของเมฆ หรือจะแบ่ง
ตามความสูงของฐานเมฆก็ได้ ดังนี้

9.1.1 การแบ่งชนิ ดของเมฆตามรูปร่าง

การแบ่งชนิดของเมฆตามรูปร่าง จะแบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้

1) เซอร์รสั (Cirrus) เป็ นเมฆทีม่ ลี กั ษณะเป็ นริว้ ๆ ลอยอยูใ่ นระดับสูง


2) สเตรตัส (Stratus) เป็ นเมฆทีม่ ลี กั ษณะเป็ นแผ่น เป็ นชัน้ สม่าเสมอ
3) คิวมูลสั (Cumulus) เป็ นเมฆทีม่ ลี กั ษณะเป็ นก้อน เป็ นม้วน เป็ นมัด เป็ นแถบ

(จากซ้ายไปขวา) เซอร์รสั (Cirrus) สเตรตัส (Stratus) และคิ วมูลสั (Cumulus)


ทีม่ า : http://www.capetownskies.com/9879/21_cirrus_fingers.htm
http://ed101.bu.edu/StudentDoc/current/ED101fa09/ldisa/clouds.html,
http://www.gotoknow.org/blogs/posts/239259

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |2| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

1
หยาดน้าฟ้า (Precipitation) หมายถึง สิง่ ทีเ่ กิดจากการควบแน่นของไอน้าในบรรยากาศ แล้วตกลงมา
สูพ่ น้ื โลก ตัวอย่างเช่น ฝน ลูกเห็บ หิมะ เป็ นต้น

9.1.2 การแบ่งชนิ ดของเมฆตามระดับความสูงของฐานเมฆ

ชนิ ดของเมฆแบ่งตามระดับความสูงของฐานเมฆ
ทีม่ า : http://en.wikipedia.org/wiki/File:Wolkenstockwerke.png

เมฆเกือบทุกชนิดจะลอยอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ โดยแบ่งชนิดของเมฆตามระดับความ


สูงของฐานเมฆได้ดงั นี้

1) เมฆชัน้ สูง (High level) อยู่ทร่ี ะดับความสูงมากกว่า 6,000 เมตร จากผิวโลก บริเวณนี้ม ี
อุณหภูมติ ่ากว่าจุดเยือกแข็ง เมฆชัน้ นี้จงึ ประกอบด้วยผลึกน้าแข็ง การเรียกชือ่ จะใช้รากศัพท์ prefix ว่า Cirr- ได้แก่
เซอร์รสั (Cirrus, Ci) เซอร์โรสเตรตัส (Cirrostratus, Cs) เซอร์โรคิวมูลสั (Cirrocumulus, Cc)

(จากซ้ายไปขวา) เซอร์รสั (Cirrus) เซอร์โรสเตรตัส (Cirrostratus) และเซอร์โรคิ วมูลสั (Cirrocumulus)


ทีม่ า : http://www.capetownskies.com/9879/21_cirrus_fingers.htm
http://www.glogster.com/glog.php?glog_id=19428383&scale=54&isprofile=true
http://allweare9999.wordpress.com/2010/07/17/ท้องฟ้าและปุยเมฆ-บอกอะไ/

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |3| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

2) เมฆชัน้ กลาง (Medium level) อยูท่ ร่ี ะดับความสูง 2,000 - 6,000 เมตร เมฆชัน้ นี้ประกอบด้วย
ละอองน้าและผลึกน้าแข็ง การเรียกชือ่ จะใช้รากศัพท์ prefix ว่า Alto- ได้แก่ อัลโตสเตรตัส (Altostratus, As) อัลโต
คิวมูลสั (Altocumulus, Ac)

(จากซ้ายไปขวา) อัลโตสเตรตัส (Altostratus) และอัลโตคิ วมูลสั (Altocumulus)


ทีม่ า : http://www.flickr.com/photos/valasif/5248867576/
http://campbellsclouds.wikispaces.com/Altocumulus

3) เมฆชัน้ ต่า (Low level) ฐานของเมฆจะอยูท่ ร่ี ะดับต่ากว่า 2,000 เมตร องค์ประกอบของเมฆส่วน
ใหญ่เป็ นอนุภาคน้าเกือบทัง้ หมด ได้แก่ คิวมูลสั (Cumulus, Cu) สเตรตัส (Stratus, St)2 สเตรโตคิวมูลสั
(Stratocumulus, Sc) นิมโบสเตรตัส (Nimbostratus, Ns)

(จากซ้ายไปขวา) สเตรโตคิ วมูลสั (Stratocumulus) และนิ มโบสเตรตัส (Nimbostratus)


ทีม่ า : http://www.wolken-online.de/wolkenatlas/stratocumulus/images/stratocumulus_undulatus_3.htm
http://www.windows2universe.org/earth/Atmosphere/clouds/cloud_il.html

2
เมือ่ เมฆสเตรตัสลอยอยูร่ ะดับพืน้ ดิน จะเรียกว่า หมอก (Fog)

4) เมฆทีก่ ่อตัวในแนวตัง้ (Vertical) สามารถก่อตัวสูงขึน้ ไปได้หลายกิโลเมตร เป็ นเมฆทีก่ อ่ ให้เกิด


พายุและฝนฟ้าคะนอง ได้แก่ คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus, Cb)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |4| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

คิ วมูโลนิ มบัส (Cumulonimbus)


ทีม่ า : http://fuckyeahweather.tumblr.com/post/189446751/single-cell-cumulonimbus-incus-mykonos-greece

5) เมฆทีอ่ ยูเ่ หนือชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ (Extreme level) มีอยูด่ ว้ ยกัน 2 ชนิด อย่างทีน่ ้องๆ
เคยเจอมาแล้วในบทที่ 7 ได้แก่ เมฆมุก (Nacreous cloud) ในชัน้ บรรยากาศสตราโตสเฟียร์ และเมฆสุกใส
(Noctilucent cloud) ในชัน้ บรรยากาศมีโซสเฟียร์

(จากซ้ายไปขวา) เมฆมุก (Nacreous cloud) และเมฆสุกใส (Noctilucent cloud)


ทีม่ า : http://www.wayfaring.info/category/continents/antarctica/
http://www.telegraph.co.uk/earth/earthpicturegalleries/5400324/Extraordinary-Clouds-and-The-Cloud-Collectors-Handbook.html?image=6

9.1.3 เมฆชนิ ดอื่นๆ

เมฆบางชนิดจะมีความแปลกตา มีความสวยงาม และหาได้ยาก ซึง่ เกิดได้จากทัง้ ปรากฏการณ์


ธรรมชาติ และจากการกระทาของมนุษย์ พีไ่ ด้รวมภาพของเมฆเหล่านี้มาให้ชมกันครับ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |5| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

(แถวบน) (จากซ้ายไปขวา) แมมมาทัส (Mammatus) เมฆลูกคลื่น (Billow cloud) และสเตรโตคิ วมูลสั


(Stratocumulus)
(แถวล่าง) (จากซ้ายไปขวา) เมฆรูปเลนส์ (Lenticular cloud) เมฆรูปเห็ด (Mushroom cloud) เกิ ดได้จากทัง้
ภูเขาไฟระเบิดและระเบิดนิ วเคลียร์ และคอนเทรล (Contrail)3 เกิ ดจากการบินของเครื่องบิ นไอพ่น
ทีม่ า : http://www.clipmass.com/story/28218
http://www.toptenz.net/top-10-unusual-but-fascinating-cloud-formations.php/kelvin-helmholtz-wave-cloud
http://tariqweb.com/2011/03/04/stratocumulus-clouds/
http://www.collthings.co.uk/2008/06/10-very-rare-clouds.html
http://atomic-bomb-guides.blogspot.com/2011/07/mushroom-cloud-hat.html
http://contrailscience.com/aerodynamic-and-rainbow-contrails/

3
คอนเทรล (Contrail) มองดูคล้ายเมฆ แต่ไม่ใช่เมฆ เกิดจากการบินของเครือ่ งบินไอพ่น ไอน้าซึง่ พ่น
ออกมาจากเครือ่ งบินไอพ่นมีอุณหภูมสิ งู เข้าปะทะกับอากาศเย็นภายนอก จะทาให้ไอน้าในอากาศเกิดการ
ควบแน่นเป็ นหยดน้าหรือผลึกน้าแข็ง มองเห็นเป็ นคอนเทรล

Q: 86. ข้อใดกล่าวถึงเมฆไม่ถูกต้อง
1. เมฆเกิดจากการควบแน่นของไอน้า
2. เมฆทุกชนิดก่อให้เกิดฝนตก
3. เมฆแบ่งได้หลายชนิดทัง้ ตามรูปร่างและระดับความสูง
4. มีเมฆบางชนิดทีอ่ ยูน่ อกชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |6| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

Q: 87. ข้อใดไม่ใช่ชอ่ื เรียกรูปร่างของเมฆ


1. สเตรตัส 2. คิวมูลสั 3. เซอร์รสั 4. นิมบัส
Q: 88. ข้อใดไม่จดั เป็ นหยาดน้าฟ้า
1. ฝน 2. ลูกเห็บ 3. หิมะ 4. ไอน้า
Q: 93. เมฆเกือบทุกชนิดจะลอยอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศใด
1. โทรโพสเฟียร์ 2. สตราโตสเฟียร์ 3. มีโซสเฟียร์ 4. เทอร์โมสเฟียร์
Q: 95. ส้มสังเกตเห็นเมฆก้อนหนึ่ง มีลกั ษณะเป็ นแผ่นเรียงกันเป็ นชัน้ ๆ คาดว่าอยูส่ งู จากพืน้ ประมาณ x เมตร
เมือ่ เวลาผ่านไป เมฆก้อนนี้จะมีระยะเชิงมุมเปลีย่ นไป 30 องศา เมฆก้อนนี้จะอยูห่ า่ งจากจุดทีเ่ ริม่ สังเกตเป็ น
ระยะทางขนานกับผิวโลกประมาณ 1,800 เมตร ค่า x ทีส่ ม้ ประมาณไว้ มีคา่ เท่าไร และเมฆทีส่ ม้ สังเกตเห็นคือ
เมฆชนิดใด
1. 1,030 เมตร, สเตรตัส 2. 2,060 เมตร, นิมโบสเตรตัส
3. 3,100 เมตร, อัลโตสเตรตัส 4. 5,400 เมตร, เซอร์โรสเตรตัส
Q: 96. คอนเทรลเกิดขึน้ จากสาเหตุใด
1. ไอน้าจากเครือ่ งบินไอพ่นปะทะกับอากาศเย็นภายนอก
2. ไอน้าจากเครือ่ งบินไอพ่นปะทะกับอากาศร้อนภายนอก
3. เครือ่ งบินไอพ่นบินเสียดสีกบั อากาศภายนอก
4. ควันทีอ่ อกมาจากเครือ่ งบินไอพ่น
Q: 97. เมฆชนิดใดมักพบบริเวณยอดเขาสูง เกิดจากการยกตัวของอากาศเมือ่ ชนกับภูเขา
1. เมฆรูปเห็ด 2. เมฆรูปจานบิน 3. เมฆลูกคลื่น 4. แมมมาทัส

9.2 การเกิ ดเมฆ


9.2.1 กระบวนการการเกิ ดเมฆ

การทีโ่ ลกได้รบั ความร้อนจากรังสีของดวงอาทิตย์ ทาให้ผวิ โลกมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ ส่งผลให้กลุ่ม


อากาศลอยตัวสูงขึน้ 4 และมีปริมาตรเพิม่ ขึน้ เนื่องจากมีความกดอากาศลดลง จากนัน้ เมือ่ กลุ่มอากาศลอยตัวสูงขึน้
เรือ่ ยๆ อุณหภูมขิ องอากาศก็จะลดลงเรือ่ ยๆ5 ด้วยอัตรา 10oC ต่อความสูง 1,000 เมตร จนกระทังถึ ่ งความสูงระดับ
หนึ่ง อุณหภูมขิ องกลุ่มอากาศลดลงเท่ากับอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อม กลุ่มอากาศจึงหยุดลอยตัว6 ณ จุดๆ นี้ อากาศจะ
มีสภาพอิม่ ตัวด้วยไอน้าเนื่องจากมีอณ ุ หภูมติ ่ากว่าจุดน้าค้าง7 เรียกระดับความสูงนี้วา่ ระดับการควบแน่น8 หากกลุ่ม
อากาศมีการลอยตัวสูงขึน้ ต่อไปอีก จะลอยขึน้ โดยมีอตั ราการลดลงของอุณหภูมเิ ป็ น 5oC ต่อความสูง 1,000 เมตร

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |7| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

กระบวนการเกิ ดเมฆ
ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/air-stability

อนุภาคทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างเกิดการควบแน่นจะมีขนาดแตกต่างกัน อนุภาคแกนกลางการควบแน่น9 มี


ขนาดประมาณ 0.2 ไมครอน10 ละอองน้าขนาดเล็กมีขนาด 20 ไมครอน ละอองน้าขนาดใหญ่มขี นาด 50 ไมครอน
หยดน้าฝนมีขนาดประมาณ 2,000 ไมครอน โดยการเปลีย่ นแปลงขนาดของละอองน้าจะขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยต่างๆ ได้แก่
ั ่ ว่ นของกระแสลม
การควบแน่นซา้ หลายครัง้ บนละอองน้า และการเคลื่อนทีช่ นกันของละอองน้าเนื่องจากความปนป

ขนาดของอนุภาคที่ เกิ ดขึน้ ระหว่างเกิ ดการควบแน่ น


ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/cloud

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |8| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

แรงทีก่ ระทาต่อละอองน้าในเมฆมีอยูอ่ ย่างน้อย 2 ชนิด ได้แก่ แรงโน้มถ่วงของโลก (Gravitational


force) และแรงลอยตัว (Buoyant force) ซึง่ ทิศทางของแรงทัง้ สองจะสวนทางกัน หากแรงลอยตัวมีคา่ มากกว่าแรง
โน้มถ่วงของโลก จะทาให้ละอองน้าลอยตัวอยูใ่ นเมฆได้ แต่ถา้ หากแรงโน้มถ่วงของโลกมีคา่ มากกว่าแรงลอยตัว
ละอองน้าจะตกลงมาเป็ นหยาดน้าฟ้า

แรงลอยตัวจะมีทิศขึน้ ส่วนแรงโน้ มถ่วงจะมีทิศลง


ทีม่ า : http://www.virtualsciencefair.org/2009/dong9a2/buoy.htm

4
กระบวนการทีอ่ ากาศมีการลอยตัวนี้ เรียกว่า การยกตัวของกลุ่มอากาศ (Air parcel)
5
ในชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ อุณหภูมจิ ะลดลงตามความสูงทีเ่ พิม่ ขึน้
6
เมือ่ อากาศทีร่ อ้ นเกิดการลอยตัว จะมีการคายความร้อนออกไปด้วย ส่งผลให้อณ ุ หภูมขิ องอากาศ
ลดลง เมือ่ อุณหภูมขิ องอากาศลดลงเท่ากับอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อม อากาศจะหยุดลอยตัว แต่ถา้ หากอุณหภูม ิ
ของอากาศลดลงจนน้อยกว่าอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อม อากาศจะจมตัวลง
7
จุดน้าค้าง (Dew point) คือ อุณหภูมทิ ไ่ี อน้าในอากาศเกิดการอิม่ ตัวและเริม่ ควบแน่นเป็ นหยดน้า
8
ทีร่ ะดับการควบแน่น ไอน้าจะควบแน่นบนอนุภาคของละอองลอย และกลายเป็ นหยดน้าขนาดเล็ก
9
ละอองลอยทีท่ าหน้าทีเ่ ป็ นแกนให้ละอองน้าควบแน่น เรียกว่า อนุภาคแกนกลางการควบแน่น (Cloud
condensation nuclei, CCN)
10
ไมครอน หรือ ไมโครเมตร มีขนาดเท่ากับ 10-6 เมตร หรือ 0.001 มิลลิเมตร

Q: 98. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับกลไกการยกตัวของอากาศ


1. โลกได้รบั ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทาให้อากาศร้อนยกตัวสูงขึน้
2. ขณะทีอ่ ากาศร้อนยกตัวขึน้ จะคายความร้อนไปด้วย เมือ่ อุณหภูมลิ ดลงถึงจุดๆ หนึ่ง ก็จะหยุดยกตัว
3. ถ้าเมฆยกตัวถึงระดับการควบแน่นแล้ว แต่อณุ หภูมยิ งั สูงเกินไป ก็จะยกตัวขึน้ ต่อไป
4. ถูกทุกข้อ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |9| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

Q: 99. ถ้าหากอุณหภูมขิ องอากาศลดลงต่ากว่าอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อม จะเกิดอะไรขึน้


1. กลุ่มอากาศจะยกตัวต่อไป 2. กลุ่มอากาศจะลอยหยุดกับที่
3. กลุ่มอากาศจะจมตัวลง 4. กลุ่มอากาศจะสลายไป
Q: 101. อนุภาคแกนกลางการควบแน่นได้มาจากสิง่ ใด
1. เถ้าภูเขาไฟ 2. เกสรดอกไม้ 3. เขม่าควัน 4. ถูกทุกข้อ
Q: 104. ข้อใดเป็ นปจั จัยทีท่ าให้ละอองน้าในเมฆเกิดการเปลีย่ นแปลงขนาดได้
1. การควบแน่นซา้ หลายครัง้ 2. การชนกันบ่อยครัง้
3. ความปนป ั ่ ว่ นของกระแสลม 4. ถูกทุกข้อ
Q: 106. การกระทาระหว่างแรงเป็ นแบบใดทีท่ าให้เกิดฝนตก
1. แรงโน้มถ่วงมากกว่าแรงลอยตัว 2. แรงลอยตัวมากกว่าแรงโน้มถ่วง
3. แรงลอยตัวมากกว่าแรงเสียดทาน 4. แรงโน้มถ่วงน้อยกว่าแรงเสียดทาน

9.2.2 ปัจจัยที่ ทาให้เกิ ดการยกตัวของกลุ่มอากาศ

การยกตัวของกลุ่มอากาศเป็ นปจั จัยสาคัญทีก่ อ่ ให้เกิดเมฆ ปจั จัยทีท่ าให้กลุ่มอากาศยกตัวขึน้ มีอยู่


หลายอย่าง ได้แก่

1) ความร้อนของพืน้ ผิว เกิดจากรังสีของดวงอาทิตย์ซง่ึ ส่องมายังโลก ทาให้พน้ื โลกและอากาศมี


อุณหภูมสิ งู ขึน้ ส่งผลให้อากาศทีร่ อ้ นยกตัวขึน้ ตัวอย่างของเมฆทีเ่ กิดจากกระบวนการนี้ เช่น คิวมูลสั สเตรโตคิวมูลสั
คิวมูโลนิมบัส

ุ หภูมิสงู
อากาศยกตัวเนื่ องจากมีอณ
ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/air-stability

2) การเปลีย่ นแปลงความสูงของพืน้ ทีห่ รือภูเขา เกิดจากกระแสลมพัดเข้าปะทะกับภูเขา ลมจะพัด


ไปขึน้ ไปตามแนวของภูเขา กลายเป็ นกลุ่มของอากาศทีย่ กตัวสูงขึน้ ทาให้เรามักพบเมฆอยูบ่ นภูเขา หลังจากนัน้
อากาศจะเดินทางกลับลงไปโดยมีสภาพเป็ นอากาศทีแ่ ห้ง เพราะถูกขโมยความชืน้ ไปกับเมฆหมดแล้ว ซึง่ อากาศที่
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |10| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

แห้งจะทาให้แนวด้านหลังภูเขาไม่มฝี นตก หรือเรียกว่า เขตเงาฝน (Rain shadow) ตัวอย่างของเมฆทีเ่ กิดขึน้ จาก


กระบวนการนี้ เช่น คิวมูลสั คิวมูโลนิมบัส

อากาศยกตัวเนื่ องจากเคลื่อนที่ ขนึ้ ไปตามแนวเขา


ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/air-stability

3) การเคลื่อนทีข่ องอากาศเนื่องจากแรงต่างๆ เกิดจากการปะทะกันของกระแสลม จะทาให้ม ี


แรงผลักดันให้อากาศลอยตัวสูงขึน้ เมฆทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการนี้ ได้แก่ เซอร์โรคิวมูลสั อัลโตคิวมูลสั อัลโตส
เตรตัส สเตรโตคิวมูลสั สเตรตัส

อากาศยกตัวขึน้ เนื่ องจากการปะทะกันของลม


ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/air-stability

4) การเกิดแนวปะทะอากาศ เกิดจากการเข้าปะทะกันของมวลอากาศทีม่ อี ณ ุ หภูมติ ่างกัน ทาให้


อากาศทีม่ อี ณ
ุ หภูมติ ่ากว่ายกตัวสูงขึน้ ก่อให้เกิดเมฆได้หลากหลายรูปแบบ เรือ่ งของแนวปะทะอากาศศึกษาได้ใน
หัวข้อถัดไปเลยครับ

ั ยการยกตัวของกลุ่มอากาศ
Q: 107. ข้อใดไม่จดั เป็ นปจจั
1. ความร้อน 2. แม่น้า 3. ภูเขาสูง 4. การปะทะของลม

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |11| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

Q: 108. บริเวณด้านหลังของภูเขาทีม่ กี ารปะทะกับกระแสลมจะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร


1. มีฝนตกหนัก แต่ไม่บ่อย 2. มีฝนตกไม่หนัก แต่ตกบ่อยมาก
3. มีฝนน้อยมาก 4. มีอากาศแปรปรวน มีพายุขนาดใหญ่
Q: 110. เมฆชนิดใดทีม่ กั พบเห็นคูก่ บั การยกตัวของกลุ่มอากาศโดยการเปลีย่ นแปลงภูมปิ ระเทศ
1. แมมมาทัส 2. สเตรโตคิวมูลสั 3. เมฆรูปเลนส์ 4. เมฆมุก

9.2.3 แนวปะทะอากาศ

แนวปะทะอากาศ (Front) เกิดจากการปะทะกันของมวลอากาศ11 เมือ่ มวลอากาศอุน่ เคลื่อนทีเ่ ข้า


ปะทะกับมวลอากาศเย็น จะทาให้เกิดรอยต่อของมวลอากาศหรือแนวปะทะอากาศนันเอง ่ แนวปะทะอากาศมีความ
กว้างไม่ต่ากว่า 60 กิโลเมตร โดยส่วนใหญ่จะอยูร่ ะหว่าง 150 - 400 กิโลเมตร แบ่งออกได้เป็ นหลายประเภท ดังนี้

1) แนวปะทะอากาศอุน่ (Warm front) เกิดจากการทีม่ วลอากาศอุน่ เคลื่อนทีเ่ ข้าหามวลอากาศเย็น


มวลอากาศเย็นมีความหนาแน่นมากกว่าจะจมตัวอยูเ่ บือ้ งล่าง ทาให้มวลอากาศอุน่ ยกตัวสูงขึน้ ไป ทาให้เกิดฝนตก
เป็ นบริเวณกว้าง ตกไม่แรงแต่นาน เมฆทีเ่ กิดจากแนวปะทะอากาศชนิดนี้ ได้แก่ เซอร์รสั เซอร์โรสเตรตัส อัลโตส
เตรตัส นิมโบสเตรตัส สเตรตัส

แนวปะทะอากาศอุ่น (Warm front)


ทีม่ า : https://sites.google.com/site/chaipatcomputer/kar-keid-fn-3/naew-patha-xa-ka

2) แนวปะทะอากาศเย็น (Cold front) เกิดจากการทีม่ วลอากาศเย็นเคลื่อนทีเ่ ข้าแทนทีม่ วลอากาศ


อุน่ มวลอากาศเย็นจะดันให้มวลอากาศอุน่ ยกตัวขึน้ ไปอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ฝนตกหนัก อากาศ
แปรปรวน เมฆทีเ่ กิดจากแนวปะทะอากาศชนิดนี้ ได้แก่ คิวมูลสั คิวมูโลนิมบัส

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |12| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

แนวปะทะอากาศเย็น (Cold front)


ทีม่ า : https://sites.google.com/site/chaipatcomputer/kar-keid-fn-3/naew-patha-xa-ka

3) แนวปะทะอากาศรวม (Occluded front) เกิดจากการทีม่ วลอากาศเย็นสองกลุ่มทีม่ สี มบัตติ ่างกัน


เคลื่อนทีเ่ ข้ามาปะทะกัน แล้วดันให้มวลอากาศอุน่ ยกตัวขึน้ ไปอยูบ่ นมวลอากาศเย็น ก่อให้เกิดพายุฝนเพราะมีเมฆ
คิวมูโลนิมบัสเกิดขึน้

แนวปะทะอากาศรวม (Occluded front)


ทีม่ า : http://www.flyingfamilies.com/occluded-fronts.html

4) แนวปะทะอากาศคงที่ (Stationary front) เกิดจากการทีม่ วลอากาศเย็นและมวลอากาศอุน่


เคลื่อนทีเ่ ข้าปะทะกัน แต่แนวปะทะอากาศมีความสมดุล กล่าวคือ มวลอากาศทัง้ สองจะอยูก่ บั ทีไ่ ม่มกี ารเคลื่อนที่
เพราะมวลอากาศทัง้ สองมีแรงผลักเท่ากัน แต่ความสมดุลจะเกิดขึน้ ในช่วงเวลาสัน้ ๆ เท่านัน้ เมือ่ แรงผลักมีมากขึน้ จะ
ก่อให้เกิดแนวปะทะอากาศแบบอืน่ ขึน้

11
มวลอากาศ (Air mass) หมายถึง ก้อนของอากาศทีม่ อี ณุ หภูมแิ ละปริมาณไอน้าในอากาศสม่าเสมอ
อาจกินพืน้ ทีบ่ ริเวณกว้างและคงสภาพได้ยาวนาน มวลอากาศมีคณ ุ สมบัตแิ ตกต่างกันไปตามแต่ละพืน้ ทีท่ ป่ี ก
คลุม แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด คือ มวลอากาศเย็น (Cold air mass) และมวลอากาศอุน่ (Warm air mass)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |13| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

Q: 111. ตามปกติแล้ว เมือ่ อากาศอุน่ กับอากาศเย็นเข้ามาปะทะกันจะเป็ นอย่างไร


1. อากาศอุน่ อยูเ่ หนืออากาศเย็น 2. อากาศเย็นอยูเ่ หนืออากาศอุน่
3. ไม่มอี ากาศชนิดใดกินกันลง 4. สรุปไม่ได้
Q: 114. แนวปะทะอากาศอุน่ มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
1. อากาศร้อนเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศเย็น 2. อากาศเย็นเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศร้อน
3. อากาศเย็นปะทะกัน และแทนทีอ่ ากาศร้อน 4. อากาศร้อนเคลื่อนทีเ่ ข้าหาอากาศเย็น
Q: 117. ผลทีไ่ ด้จากแนวปะทะอากาศเย็น จะเป็ นอย่างไร
1. พายุฝนฟ้าคะนอง 2. พายุหมิ ะ 3. ฝนแล้ง 4. ฝนหลงฤดู
Q: 118. แนวปะทะอากาศรวมมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
1. อากาศร้อนเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศเย็น 2. อากาศเย็นเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศร้อน
3. อากาศเย็นปะทะกัน และแทนทีอ่ ากาศร้อน 4. อากาศร้อนเคลื่อนทีเ่ ข้าหาอากาศเย็น
Q: 120. เพราะเหตุใด จึงเกิดสมดุลกันระหว่างมวลในแนวปะทะอากาศคงที่
1. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันมีขนาดเท่ากัน 2. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันเป็ นชนิดเดียวกัน
3. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันมีแรงผลักเท่ากัน 4. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันมีจานวนประจุเท่ากัน

9.2.4 เสถียรภาพของอากาศ

เสถียรภาพของอากาศ (Atmospheric stability) หมายถึง สภาวะของบรรยากาศทีม่ ผี ลต่อการ


เคลื่อนทีข่ น้ึ ลงของอากาศในแนวดิง่

เมือ่ ก้อนอากาศยกตัว จะมีปริมาตรเพิม่ ขึน้ และมีอณ


ุ หภูมลิ ดลง จนกระทังอุ
่ ณหภูมขิ องกลุ่มอากาศ
ลดลงจนเท่ากับอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อมก็จะหยุดการยกตัว แต่ถา้ หากอุณหภูมขิ องก้อนอากาศลดต่าลงไปอีก ก็จะ
ทาให้กอ้ นอากาศเกิดการจมตัว เราเรียกสภาวะของอากาศแบบนี้ว่า อากาศมีเสถียรภาพ (Stable air) ถ้ากลุ่มอากาศ
ยกตัวสูงจนเหนือระดับควบแน่น และไม่สามารถยกตัวต่อขึน้ ไปได้อกี จะทาให้เกิดเมฆในแนวราบ อากาศทีม่ ี
เสถียรภาพจะมีทอ้ งฟ้าแจ่มใส มักพบในช่วงฤดูหนาวหรือในเวลาเช้า

แต่ในฤดูฝนหรือในช่วงบ่ายของฤดูรอ้ น กลุ่มอากาศจะยกตัวขึน้ อย่างรวดเร็ว แม้จะยกตัวขึน้ เหนือ


ระดับควบแน่นแล้ว แต่กย็ งั มีอณุ หภูมสิ งู กว่าสิง่ แวดล้อม ทาให้กลุ่มอากาศยกตัวสูงขึน้ ไปอีก ก่อให้เกิดเมฆทีก่ อ่ ตัวใน
แนวตัง้ เช่น คิวมูลสั คิวมูโลนิมบัส เราเรียกสภาวะของอากาศแบบนี้ว่า อากาศไม่มเี สถียรภาพ (Unstable air)
ท้องฟ้าจะมีเมฆปกคลุม และมีหยาดน้าฟ้า

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |14| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

(จากซ้ายไปขวา) อากาศมีเสถียรภาพ (Stable air) และอากาศไม่มีเสถียรภาพ (Unstable air)


ทีม่ า : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/air-stability

เสถียรภาพของอากาศสามารถตรวจวัดได้ดว้ ยอุปกรณ์ทเ่ี รียกว่า บอลลูนหยังอากาศ



(Radiosonde)

บอลลูนหยังอากาศ
่ (Radiosonde)
ทีม่ า : http://www.flickr.com/photos/laikolosse/4444151595/

Q: 122. อากาศทีม่ เี สถียรภาพ จะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร


1. ท้องฟ้าแจ่มใส 2. มีเมฆมาก 3. มีพายุ 4. ถูกทัง้ 2. และ 3.
Q: 124. มีโอกาสพบอากาศทีไ่ ม่มเี สถียรภาพในช่วงเวลาใดมากทีส่ ดุ
1. ตอนบ่ายๆ ของเดือนพฤษภาคม 2. ตอนเช้าๆ ของเดือนพฤศจิกายน
3. ตอนหัวค่าของเดือนกุมภาพันธ์ 4. กลางดึกของเดือนสิงหาคม
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |15| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

ุ สมบัติกบั ชนิ ดของเมฆให้ถกู ต้อง


ตอนที่ 1 ข้อ 1 - 10 จงจับคู่คณ
คุณสมบัติของเมฆ ชนิ ดของเมฆ
1. เป็ นเมฆฝน มีลกั ษณะเป็ นแผ่น ก. คิวมูลสั
2. เป็ นก้อน อยูใ่ นระดับกลาง มองดูคล้ายฝูงแกะ ข. เซอร์รสั
3. เป็ นริว้ ๆ องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็ นผลึกน้าแข็ง ค. อัลโตคิวมูลสั
4. เป็ นก้อน ลอยตัวอยูใ่ นระดับต่า อาจพัฒนาไปเป็ นเมฆฝน ง. คิวมูโลนิมบัส
5. สิง่ คล้ายเมฆทีเ่ กิดจากการบินของเครือ่ งบินไอพ่น จ. สเตรโตคิวมูลสั
6. เมฆพายุฝนฟ้าคะนอง ก่อตัวในแนวตัง้ ฉ. นิมโบสเตรตัส
7. ลอยตัวอยูต่ ่า อาจพบเห็นเป็ นลาทีส่ วยงามแปลกตา ช. เมฆมุก
8. เกิดขึน้ ในชัน้ บรรยากาศสตราโตสเฟียร์ ซ. คอนเทรล
9. เกิดขึน้ ในชัน้ บรรยากาศมีโซสเฟียร์ ฌ. เมฆรูปเห็ด
10. มีลกั ษณะแปลกตา เกิดขึน้ ได้จากทัง้ ภูเขาไฟระเบิดและระเบิดนิวเคลียร์ ญ. เมฆสุกใส

ตอนที่ 2 ข้อ 11 - 35 จงขีดผิดหน้ าข้อที่ผิด แล้วแก้ไขให้ถกู ต้อง


_____ 11. เมฆเกิดจากการควบแน่นของไอน้าโดยมีละอองลอยเป็ นแกนกลาง
_____ 12. การแบ่งชนิดของเมฆตามรูปร่าง จะแบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ เซอร์รสั ลักษณะเป็ นก้อน สเตรตัส
ลักษณะเป็ นแผ่น และคิวมูลสั ลักษณะเป็ นริว้
_____ 13. เมฆเกือบทุกชนิดจะลอยอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ ยกเว้น เมฆมุก ทีอ่ ยูใ่ นชัน้ บรรยากาศสตรา
โตสเฟียร์ และเมฆสุกใส ทีอ่ ยูใ่ นชัน้ บรรยากาศมีโซสเฟียร์
_____ 14. เซอร์รสั เซอร์โรสเตรตัส และเซอร์โรคิวมูลสั ต่างก็จดั เป็ นเมฆชัน้ สูง
_____ 15. อัลโตคิวมูลสั คิวมูลสั และคิวมูโลนิมบัส ต่างก็จดั เป็ นเมฆชัน้ กลาง
_____ 16. สเตรโตคิวมูลสั นิมโบสเตรตัส สเตรตัส ต่างก็จดั เป็ นเมฆชัน้ ต่า
_____ 17. คิวมูโลนิมบัส จัดเป็ นเมฆทีก่ อ่ ตัวในทางตัง้ ก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกรรโชกแรง
_____ 18. เมฆชัน้ สูงจะประกอบด้วยผลึกน้าแข็ง ส่วนเมฆชัน้ ต่าจะประกอบด้วยอนุภาคน้า
_____ 19. เมือ่ เมฆคิวมูลสั ลอยตัวอยูร่ ะดับพืน้ ดิน จะเรียกว่า หมอก

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |16| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

_____ 20. เมือ่ ไอน้าทีพ่ น่ ออกมาจากเครือ่ งบินไอพ่นปะทะกับอากาศเย็นทีอ่ ยูภ่ ายนอก จะทาให้ไอน้าเกิดการ


ควบแน่น มองเห็นเป็ นคอนเทรล
_____ 21. เมฆเกิดจากการทีอ่ ากาศร้อนลอยตัวสูงขึน้ แล้วมีอณ ุ หภูมลิ ดต่าลงจนทาให้ไอน้าเกิดการควบแน่น
_____ 22. จุดทีอ่ ณ
ุ หภูมขิ องกลุ่มอากาศลดลงจนเท่ากับอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อม กลุ่มอากาศจะลอยตัวอยูก่ บั ที่ มี
สภาพอิม่ ตัวด้วยไอน้าเนื่องจากมีอณ ุ หภูมติ ่ากว่าจุดน้าค้าง เรียกว่า ระดับการควบแน่น
_____ 23. เมือ่ อากาศลอยตัวสูงขึน้ จะมีปริมาตรลดลง เนื่องจากความกดอากาศเพิม่ ขึน้
_____ 24. อนุภาคแกนกลางการควบแน่นมีขนาด 200 นาโนเมตร ละอองน้าขนาดเล็กมีขนาด 0.02 มิลลิเมตร
ละอองน้าขนาดใหญ่มขี นาด 0.005 เซนติเมตร หยดน้าฝนมีขนาด 0.002 เมตร
_____ 25. แรงทีก่ ระทาต่อละอองน้าในเมฆมีอยูอ่ ย่างน้อย 2 ชนิด ได้แก่ แรงโน้มถ่วงของโลก และแรงลอยตัว แรง
ทัง้ สองกระทาในทิศทางตัง้ ฉากกัน
_____ 26. หากแรงลอยตัวมีคา่ มากกว่าแรงโน้มถ่วงจะทาให้เกิดฝนตก
_____ 27. ในชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ อุณหภูมจิ ะลดลงตามความสูงทีเ่ พิม่ ขึน้
_____ 28. เมฆเกิดขึน้ จากการยกตัวของกลุ่มอากาศ
_____ 29. อุณหภูม ิ ภูมปิ ระเทศ และการเคลื่อนทีข่ องกระแสลม ล้วนเป็ นปจจั ั ยทีม่ สี ว่ นทาให้อากาศยกตัวขึน้
_____ 30. โดยปกติแล้ว แนวปะทะอากาศจะมีความกว้างอยูร่ ะหว่าง 150 - 400 กิโลเมตร
_____ 31. เมือ่ มวลอากาศเย็นกับมวลอากาศอุน่ เคลื่อนทีเ่ ข้าปะทะกัน มวลอากาศเย็นจะเป็ นฝา่ ยทีย่ กตัวขึน้
ก่อให้เกิดเมฆ
_____ 32. มวลอากาศ แบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด คือ มวลอากาศเย็น และมวลอากาศอุน่
_____ 33. ความเสถียรภาพของอากาศ เป็ นสิง่ ทีก่ าหนดทิศทางการเคลื่อนทีข่ องกลุ่มอากาศ
_____ 34. อากาศทีไ่ ม่มเี สถียรภาพ มักจะพบในฤดูหนาวและเวลากลางคืน
_____ 35. อุปกรณ์ทใ่ี ช้ตรวจวัดความเสถียรภาพของอากาศ เรียกว่า บอลลูนหยังอากาศ ่

ตอนที่ 3 ข้อ 36 - 85 จงเติ มคาลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง


36. เมฆ คืออะไร_________________________________________________________________________
37. เมฆเกิดขึน้ ได้อย่างไร___________________________________________________________________
38. การแบ่งชนิดของเมฆสามารถแบ่งได้กร่ี ปู แบบ อะไรบ้าง__________________________________________
______________________________________________________________________________________
39. การแบ่งชนิดของเมฆตามรูปร่าง แบ่งออกได้เป็ นกีช่ นิด อะไรบ้าง___________________________________
______________________________________________________________________________________
40. เซอร์รสั มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร_____________________________________________________________
41. สเตรตัส มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร____________________________________________________________
42. คิวมูลสั มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร_____________________________________________________________
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |17| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

43. การแบ่งชนิดของเมฆตามระดับความสูงแบ่งได้กช่ี นั ้ อะไรบ้าง_____________________________________


44. เมฆทีอ่ ยูใ่ นระดับสูงสุดจะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร________________________________________________
45. จงยกตัวอย่างของเมฆชัน้ สูง______________________________________________________________
46. ข้อสังเกตง่ายๆ ในการระบุว่าเป็ นเมฆชัน้ สูงหรือเปล่า คืออะไร_____________________________________
47. ข้อสังเกตง่ายๆ ในการระบุว่าเป็ นเมฆชัน้ กลางหรือเปล่า คืออะไร___________________________________
48. จงยกตัวอย่างของเมฆชัน้ กลาง____________________________________________________________
49. จงยกตัวอย่างของเมฆชัน้ ต่า______________________________________________________________
50. เมฆทีก่ ่อตัวในแนวตัง้ มีลกั ษณะอย่างไร______________________________________________________
51. เมฆทีก่ ่อตัวในแนวตัง้ ได้แต่เมฆชนิดใด______________________________________________________
52. เมฆทีอ่ ยูเ่ หนือชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ ได้แก่อะไรบ้าง และอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศใด___________________
______________________________________________________________________________________
53. คอนเทรล เกิดจากอะไร มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร_________________________________________________
______________________________________________________________________________________
54. เมฆชนิดใดทีเ่ กิดขึน้ ได้จากทัง้ ระเบิดนิวเคลียร์และภูเขาไฟ________________________________________
55. เมฆชนิดใดมักพบตามบริเวณภูเขาสูง_______________________________________________________
56. เพราะเหตุใด อากาศทีล่ อยตัวสูงขึน้ จึงมีปริมาตรเพิม่ ขึน้ __________________________________________
57. ในช่วงแรกทีอ่ ากาศลอยตัวขึน้ จะมีการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมเิ ป็ นอย่างไร_____________________________
______________________________________________________________________________________
58. เพราะเหตุใด อากาศทีล่ อยตัวอยูจ่ งึ หยุดลอยตัว________________________________________________
59. เพราะเหตุใด อากาศทีห่ ยุดลอยตัวจึงมีสภาพอิม่ ตัวด้วยไอน้า______________________________________
60. ระดับความสูงทีอ่ ากาศหยุดลอยตัวเรียกว่าอะไร________________________________________________
61. หากอากาศลอยตัวสูงขึน้ ไปอีกจะมีอตั ราการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมเิ ป็ นเท่าไร________________________
62. กระบวนการทีอ่ ากาศลอยตัวเรียกว่าอะไร____________________________________________________
63. หากยังมีการลดลงของอุณหภูมภิ ายในกลุ่มอากาศทีห่ ยุดลอยตัวแล้ว จะเกิดอะไรขึน้ _____________________
64. จุดน้าค้าง คืออะไร_____________________________________________________________________
65. อนุภาคแกนกลางการควบแน่น คืออะไร______________________________________________________
66. ปจั จัยทีท่ าให้เกิดการยกตัวของกลุ่มอากาศมีอะไรบ้าง___________________________________________
______________________________________________________________________________________
67. ดวงอาทิตย์สง่ ผลต่อการลอยตัวของอากาศได้อย่างไร____________________________________________
______________________________________________________________________________________
68. เมฆทีอ่ ยูบ่ นภูเขาเกิดขึน้ ได้อย่างไร_________________________________________________________
69. เขตเงาฝนเกิดขึน้ ได้อย่างไร______________________________________________________________
70. แรงผลักดันให้อากาศลอยตัวสูงขึน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร____________________________________________
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |18| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

71. แนวปะทะอากาศเกิดจากอะไร_____________________________________________________________
72. มวลอากาศ คืออะไร____________________________________________________________________
73. มวลอากาศแบ่งออกได้เป็ นกีช่ นิด อะไรบ้าง___________________________________________________
74. แนวปะทะอากาศมีขนาดประมาณเท่าไร_____________________________________________________
75. แนวปะทะอากาศมีกป่ี ระเภท อะไรบ้าง______________________________________________________
76. แนวปะทะอากาศอุน่ มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร___________________________________________________
77. แนวปะทะอากาศเย็น มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร___________________________________________________
78. แนวปะทะอากาศรวม มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร__________________________________________________
79. แนวปะทะอากาศคงที่ มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร__________________________________________________
80. เสถียรภาพของอากาศ หมายถึงอะไร_______________________________________________________
81. ลักษณะของอากาศมีเสถียรภาพเป็ นอย่างไร__________________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
82. อากาศมีเสถียรภาพจะพบได้ในช่วงเวลาใด___________________________________________________
83. ลักษณะของอากาศทีไ่ ม่มเี สถียรภาพเป็ นอย่างไร_______________________________________________
______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________________
84. อากาศทีไ่ ม่มเี สถียรภาพจะพบได้ในช่วงเวลาใด________________________________________________
85. อุปกรณ์ทม่ี ไี ว้ใช้ตรวจวัดเสถียรภาพของอากาศคืออะไร__________________________________________

ตอนที่ 4 ข้อ 86 - 125 จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ


86. ข้อใดกล่าวถึงเมฆไม่ถกู ต้อง
1. เมฆเกิดจากการควบแน่นของไอน้า
2. เมฆทุกชนิดก่อให้เกิดฝนตก
3. เมฆแบ่งได้หลายชนิดทัง้ ตามรูปร่างและระดับความสูง
4. มีเมฆบางชนิดทีอ่ ยูน่ อกชัน้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์
87. ข้อใดไม่ใช่ชอ่ื เรียกรูปร่างของเมฆ
1. สเตรตัส 2. คิวมูลสั 3. เซอร์รสั 4. นิมบัส
88. ข้อใดไม่จดั เป็ นหยาดน้าฟ้า
1. ฝน 2. ลูกเห็บ 3. หิมะ 4. ไอน้า
89. เมฆทีล่ อยอยูใ่ นระดับสูง ประกอบด้วยเกล็ดน้าแข็ง มีลกั ษณะเป็ นริว้ ๆ คือเมฆชนิดใด
1. เซอร์รสั 2. เซอร์โรคิวมูลสั 3. นิมโบสเตรตัส 4. คิวมูโลนิมบัส
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |19| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

90. เมฆทีม่ ลี กั ษณะเป็ นก้อน ลอยอยูท่ ค่ี วามสูงประมาณ 3,500 เมตร จัดเป็ นเมฆชนิดใด
1. คิวมูลสั 2. อัลโตคิวมูลสั 3. อัลโตสเตรตัส 4. สเตรโตคิวมูลสั
91. เมฆชนิดใดทีก่ อ่ ให้เกิดพายุฝน
1. นิมโบสเตรตัส 2. คิวมูโลนิมบัส 3. เซอร์โรสเตรตัส 4. ถูกทัง้ 1. และ 2.
92. เมฆชนิดใดทีก่ อ่ ตัวในทางตัง้ สูงขึน้ ไปได้หลายกิโลเมตร
1. สเตรตัส 2. นิมโบสเตรตัส 3. เซอร์โรสเตรตัส 4. คิวมูโลนิมบัส
93. เมฆเกือบทุกชนิดจะลอยอยูใ่ นชัน้ บรรยากาศใด
1. โทรโพสเฟียร์ 2. สตราโตสเฟียร์ 3. มีโซสเฟียร์ 4. เทอร์โมสเฟียร์
94. จากข้อ 93. เมฆชนิดใดทีอ่ ยูน่ อกเหนือชัน้ บรรยากาศดังกล่าว
1. เมฆมุก 2. เมฆสุกใส 3. คอนเทรล 4. ถูกทัง้ 1. และ 2.
95. ส้มสังเกตเห็นเมฆก้อนหนึ่ง มีลกั ษณะเป็ นแผ่นเรียงกันเป็ นชัน้ ๆ คาดว่าอยูส่ งู จากพืน้ ประมาณ x เมตร เมือ่ เวลา
ผ่านไป เมฆก้อนนี้จะมีระยะเชิงมุมเปลีย่ นไป 30 องศา เมฆก้อนนี้จะอยูห่ า่ งจากจุดทีเ่ ริม่ สังเกตเป็ นระยะทางขนาน
กับผิวโลกประมาณ 1,800 เมตร ค่า x ทีส่ ม้ ประมาณไว้ มีคา่ เท่าไร และเมฆทีส่ ม้ สังเกตเห็นคือเมฆชนิดใด
1. 1,030 เมตร, สเตรตัส 2. 2,060 เมตร, นิมโบสเตรตัส
3. 3,100 เมตร, อัลโตสเตรตัส 4. 5,400 เมตร, เซอร์โรสเตรตัส
96. คอนเทรลเกิดขึน้ จากสาเหตุใด
1. ไอน้าจากเครือ่ งบินไอพ่นปะทะกับอากาศเย็นภายนอก
2. ไอน้าจากเครือ่ งบินไอพ่นปะทะกับอากาศร้อนภายนอก
3. เครือ่ งบินไอพ่นบินเสียดสีกบั อากาศภายนอก
4. ควันทีอ่ อกมาจากเครือ่ งบินไอพ่น
97. เมฆชนิดใดมักพบบริเวณยอดเขาสูง เกิดจากการยกตัวของอากาศเมื่อชนกับภูเขา
1. เมฆรูปเห็ด 2. เมฆรูปจานบิน 3. เมฆลูกคลื่น 4. แมมมาทัส
98. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกีย่ วกับกลไกการยกตัวของอากาศ
1. โลกได้รบั ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ทาให้อากาศร้อนยกตัวสูงขึน้
2. ขณะทีอ่ ากาศร้อนยกตัวสูงขึน้ จะคายความร้อนไปด้วย เมือ่ อุณหภูมลิ ดลงถึงจุดๆ หนึ่ง ก็จะหยุดยกตัว
3. ถ้าเมฆยกตัวถึงระดับการควบแน่นแล้ว แต่อณ ุ หภูมยิ งั สูงเกินไป ก็จะยกตัวขึน้ ต่อไป
4. ถูกทุกข้อ
99. ถ้าหากอุณหภูมขิ องอากาศลดลงต่ากว่าอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อม จะเกิดอะไรขึน้
1. กลุ่มอากาศจะยกตัวต่อไป 2. กลุ่มอากาศจะลอยหยุดกับที่
3. กลุ่มอากาศจะจมตัวลง 4. กลุ่มอากาศจะสลายไป
100. ข้อใดเป็ นผลผลิตทีไ่ ด้จากการควบแน่นของไอน้า
1. ละอองน้า 2. หยดน้า 3. เกล็ดน้าแข็ง 4. ถูกทุกข้อ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |20| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

101. อนุภาคแกนกลางการควบแน่นได้มาจากสิง่ ใด
1. เถ้าภูเขาไฟ 2. เกสรดอกไม้ 3. เขม่าควัน 4. ถูกทุกข้อ
102. ทีร่ ะดับการควบแน่น กลุม่ อากาศจะมีอณ ุ หภูมลิ ดต่าลงจนเท่ากับอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อม อุณหภูมดิ งั กล่าวมี
ชือ่ เรียกว่าอะไร
1. จุดน้าค้าง 2. จุดน้าค้างแข็ง 3. จุดการควบแน่น 4. จุดเปลีย่ นสถานะ
103. ข้อใดเรียงลาดับขนาดของอนุภาคทีเ่ กิดระหว่างการควบแน่นจากเล็กไปหาใหญ่ได้ถกู ต้อง
1. ละอองลอย หยดน้าฝน ละอองน้า 2. ละอองลอย ละอองน้า หยดน้าฝน
3. ละอองน้า ละอองลอย หยดน้าฝน 4. หยดน้าฝน ละอองลอย ละอองน้า
104. ข้อใดเป็ นปจั จัยทีท่ าให้ละอองน้าในเมฆเกิดการเปลีย่ นแปลงขนาดได้
1. การควบแน่นซา้ หลายครัง้ 2. การชนกันบ่อยครัง้
3. ความปนป ั ่ ว่ นของกระแสลม 4. ถูกทุกข้อ
105. แรงชนิดใดเป็ นปจั จัยทีท่ าให้ละอองน้าลอยตัวหรือตกลงมาเป็ นฝน
1. แรงโน้มถ่วง 2. แรงลอยตัว 3. แรงเสียดทาน 4. ถูกทัง้ 1. และ 2.
106. การกระทาระหว่างแรงเป็ นแบบใดทีท่ าให้เกิดฝนตก
1. แรงโน้มถ่วงมากกว่าแรงลอยตัว 2. แรงลอยตัวมากกว่าแรงโน้มถ่วง
3. แรงลอยตัวมากกว่าแรงเสียดทาน 4. แรงโน้มถ่วงน้อยกว่าแรงเสียดทาน
107. ข้อใดไม่จดั เป็ นปจจั ั ยการยกตัวของกลุ่มอากาศ
1. ความร้อน 2. แม่น้า 3. ภูเขาสูง 4. การปะทะของลม
108. บริเวณด้านหลังของภูเขาทีม่ กี ารปะทะกับกระแสลมจะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
1. มีฝนตกหนัก แต่ไม่บ่อย 2. มีฝนตกไม่หนัก แต่ตกบ่อยมาก
3. มีฝนน้อยมาก 4. มีอากาศแปรปรวน มีพายุขนาดใหญ่
109. จากข้อ 108. บริเวณดังกล่าวมีชอ่ื เรียกว่าอะไร
1. เขตหลังเขา 2. เขตเงาฝน 3. เขตสลาลม 4. เขตต้นน้าใส
110. เมฆชนิดใดทีม่ กั พบเห็นคูก่ บั การยกตัวของกลุ่มอากาศโดยการเปลีย่ นแปลงภูมปิ ระเทศ
1. แมมมาทัส 2. สเตรโตคิวมูลสั 3. เมฆรูปเลนส์ 4. เมฆมุก
111. ตามปกติแล้ว เมือ่ อากาศอุน่ กับแนวอากาศเย็นเข้ามาปะทะกันจะเป็ นอย่างไร
1. อากาศอุน่ อยูเ่ หนืออากาศเย็น 2. อากาศเย็นอยูเ่ หนืออากาศอุน่
3. ไม่มอี ากาศชนิดใดกินกันลง 4. สรุปไม่ได้
112. แนวปะทะอากาศหมายถึงส่วนใดของมวลอากาศ
1. มวลอากาศเย็น 2. มวลอากาศอุน่ 3. รอยต่อของมวลอากาศ 4. ถูกทัง้ 1. และ 2.
113. โดยส่วนใหญ่แล้ว แนวปะทะอากาศจะมีความกว้างอยูใ่ นช่วงใด
1. 15 - 60 กิโลเมตร 2. 60 - 150 กิโลเมตร 3. 150 - 400 กิโลเมตร 4. 400 - 2,000 กิโลเมตร

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |21| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

114. แนวปะทะอากาศอุน่ มีลกั ษณะเป็ นอย่างไร


1. อากาศร้อนเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศเย็น 2. อากาศเย็นเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศร้อน
3. อากาศเย็นปะทะกัน และแทนทีอ่ ากาศร้อน 4. อากาศร้อนเคลื่อนทีเ่ ข้าหาอากาศเย็น
115. ผลทีไ่ ด้จากแนวปะทะอากาศอุน่ จะเป็ นอย่างไร
1. ฝนตกแรง แต่ไม่นาน 2. ฝนตกไม่แรง แต่นาน
3. ฝนตกแรง และนาน 4. ฝนตกไม่แรง และไม่นาน
116. แนวปะทะอากาศเย็นมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
1. อากาศร้อนเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศเย็น 2. อากาศเย็นเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศร้อน
3. อากาศเย็นปะทะกัน และแทนทีอ่ ากาศร้อน 4. อากาศร้อนเคลื่อนทีเ่ ข้าหาอากาศเย็น
117. ผลทีไ่ ด้จากแนวปะทะอากาศเย็น จะเป็ นอย่างไร
1. พายุฝนฟ้าคะนอง 2. พายุหมิ ะ 3. ฝนแล้ง 4. ฝนหลงฤดู
118. แนวปะทะอากาศรวมมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
1. อากาศร้อนเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศเย็น 2. อากาศเย็นเคลื่อนทีไ่ ปแทนอากาศร้อน
3. อากาศเย็นปะทะกัน และแทนทีอ่ ากาศร้อน 4. อากาศร้อนเคลื่อนทีเ่ ข้าหาอากาศเย็น
119. ผลทีไ่ ด้จากแนวปะทะอากาศรวม จะเป็ นอย่างไร
1. อากาศสงบ 2. ฝนตกพราๆ 3. พายุฝน 4. พายุหมิ ะ
120. เพราะเหตุใด จึงเกิดสมดุลกันระหว่างมวลในแนวปะทะอากาศคงที่
1. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันมีขนาดเท่ากัน 2. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันเป็ นชนิดเดียวกัน
3. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันมีแรงผลักเท่ากัน 4. มวลอากาศทีม่ าปะทะกันมีจานวนประจุเท่ากัน
121. ข้อใดไม่จดั เป็ นชนิดของมวลอากาศ
1. มวลอากาศเย็น 2. มวลอากาศอุน่ 3. มวลอากาศร้อน 4. ถูกทัง้ 1. และ 2.
122. อากาศทีม่ เี สถียรภาพ จะมีลกั ษณะเป็ นอย่างไร
1. ท้องฟ้าแจ่มใส 2. มีเมฆมาก 3. มีพายุ 4. ถูกทัง้ 2. และ 3.
123. เสถียรภาพของอากาศจะส่งผลต่อการเคลื่อนทีข่ องอากาศในรูปแบบใด
1. การปะทะกัน 2. การเคลื่อนทีใ่ นแนวราบ
3. การเคลื่อนทีใ่ นแนวดิง่ 4. ถูกทัง้ 2. และ 3.
124. มีโอกาสพบอากาศทีไ่ ม่มเี สถียรภาพในช่วงเวลาใดมากทีส่ ดุ
1. ตอนบ่ายๆ ของเดือนพฤษภาคม 2. ตอนเช้าๆ ของเดือนพฤศจิกายน
3. ตอนหัวค่าของเดือนกุมภาพันธ์ 4. กลางดึกของเดือนสิงหาคม
125. อุปกรณ์ตรวจวัดเสถียรภาพของอากาศ มีชอ่ื ว่าอะไร
1. บอลลูกตรวจวัดสภาพอากาศ 2. บอลลูนหยังอากาศ

3. เครือ่ งสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ 4. เครือ่ งเร่งอนุภาคอากาศ

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต
ั ่ ง่ |22| วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ สาระเพิม่ เติม
GEOBAMBOO พีแ่ บมบู - อนพัช มีมงคั

บรรณานุกรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2554. หนังสือสาระการเรียนรูเ้ พิม่ เติม โลก ดาราศาสตร์


และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 4-6. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุ สุ ภา
ลาดพร้าว.

วีระศักดิ ์ อุดมโชค สาขาเทคโนโลยีพน้ื พิภพ ภาควิชาวิทยาศาสตร์พน้ื พิภพ คณะวิทยาศาสตร์


มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2552. อุตุนิยมวิทยาทัวไป.
่ พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ.

www.wikipedia.org

www.lesa.biz

“สิ่งที่เราต้องการมากที่สดุ มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สดุ เสมอ...”

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิ ขสิ ทธิ์ โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดทาซา้ หรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิ ได้รบั อนุญาต

You might also like