You are on page 1of 25

เรื่ อง เมฆและฝน

เมฆและหมอก
เมฆ คือ กลุ่มละอองนา้ ทีอ่ ากาศร้ อน เย็นตัวลงจนอุณหภูมติ า่
กว่ าจุดนา้ ค้ าง
เมฆประกอบด้ วย หยดนา้ หรือผลึกนา้ แข็ง หรือทั้ง 2 อย่ าง

หมอก คือ ไอนา้ ในอากาศทีค่ วบแน่ นเกิดอยู่ใกล้ ระดับพืน้ ดิน


เกิดขึน้ ในตอนกลางคืนหรือเช้ ามืด
ชนิดของเมฆ
แบ่ งตามลักษณะ
รู ปร่ างของเมฆ ชื่อเรี ยกตามภาษาลาติน
แผ่นหรื อชัน้ สเตรตัส (Stratus)
ก้ อนหรื อกระจุก คิวมูลสั (Cumulus)
ริ ว้ ๆคล้ ายขนสัตว์ ซีร์รัส (Crirus)
ชนิดของเมฆ
แบ่ งตามความสูง
ชื่อเมฆตามภาษาละติน เมฆระดับ ระดับความสูง(m)
เซอร์ โร(Cirro) สูง 6,000 - 8,000
อัลโต(Alto) กลาง 2,000 - 6,000
- ต่า ความสูงไม่ เกิน
2,000
*เมฆที่ทาให้ เกิดฝนมักมีคาว่ า นิมโบ (Nimbo) หรือ นิมบัส
(Nimbus)
ชนิดของเมฆ

1. เมฆชัน้ ต่า : ประกอบด้ วยละอองนา้ ทัง้ หมด

1. สเตรตัส
ลักษณะ : แผ่นสีเทา ทอดตัวใกล้ พื ้น
อาจลอยต่า เรี ยก หมอก
ชนิดของเมฆ

1. เมฆชัน้ ต่า : ประกอบด้ วยละอองนา้ ทัง้ หมด

2. สเตรโตคิวมูลัส
ลักษณะ : มีสีขาวหรื อเทา
เป็ นก้ อนที่ลอยติดกันเป็ นแพ
ชนิดของเมฆ

1. เมฆชัน้ ต่า : ประกอบด้ วยละอองนา้ ทัง้ หมด

3. นิมโบสเตรตัส
ลักษณะ : เป็ นแผ่นหนาทึบสีเทาดา
ปกคลุมบริ เวณกว้ าง ฝนตก ไม่ มีฟ้า
คะนอง
ชนิดของเมฆ

2. เมฆชัน้ กลาง : ประกอบด้ วยผลึกนา้ แข็งและละอองนา้

4. อัลโตคิวมูลัส
ลักษณะ : เป็ นก้ อนสีขาว
คล้ ายฝูงแกะ
ชนิดของเมฆ

2. เมฆชัน้ กลาง : ประกอบด้ วยผลึกนา้ แข็งและละอองนา้

5. อัลโตสเตรตัส
ลักษณะ : สีฟ้าหรื อสีเทาปก
คลุมเป็ นบริ เวณกว้ าง
ชนิดของเมฆ

3. เมฆชัน้ สูง : ประกอบด้ วยผลึกนา้ แข็งเป็ นส่ วนใหญ่

6. เซอร์ โรคิวมูลัส
ลักษณะ : แผ่เป็ นแนวสีขาว
คล้ ายคลื่นหรื อเกล็ดปลา
ชนิดของเมฆ

3. เมฆชัน้ สูง : ประกอบด้ วยผลึกนา้ แข็งเป็ นส่ วนใหญ่

7. เซอร์ รัส
ลักษณะ : เป็ นริ ว้ สีขาวคล้ าย
ขนนก แสงอาทิตย์สามารถ
ส่องผ่านได้ ดี
ชนิดของเมฆ

3. เมฆชัน้ สูง : ประกอบด้ วยผลึกนา้ แข็งเป็ นส่ วนใหญ่

8. เซอร์ โรสเตรตัส
ลักษณะ :เป็ นแผ่นสีขาวบางๆ โปร่ง
แสง ปกคลุมทัว่ ท้ องฟ้า ทาให้ เกิด
พระอาทิตย์ ทรงกลด
ชนิดของเมฆ

4. เมฆก่ อตัวในแนวตัง้ : จะเกิดขึ ้นเมื่ออากาศเหนือพื ้นดิน


ได้ รับความร้ อนจากแสงอาทิตย์ แล้ วอากาศร้ อนจะลอยตัวสูงขึ ้น
9. คิวมูลัส
ลักษณะ : มีสีเทาดาคล้ ายดอก
กะหล่า อาจเปลี่ยนแปลงเป็ นเมฆคิวมู
โลนิมบัส
ชนิดของเมฆ

4. เมฆก่ อตัวในแนวตัง้ : จะเกิดขึ ้นเมื่ออากาศเหนือพื ้นดิน


ได้ รับความร้ อนจากแสงอาทิตย์ แล้ วอากาศร้ อนจะลอยตัวสูงขึ ้น
10. คิวมูโลนิมบัส
ลักษณะ : เป็ นเมฆหนา มีขนาด
ใหญ่ ปกคลุมพื ้นที่ครอบคลุมทัง้
จังหวัด ฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าร้ อง
มักเรี ยกว่า เมฆฝนฟ้าคะนอง
รุนแรง
พายุทอร์ นาโด
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

หยาดนา้ ฟ้า หมายถึง นา้ ที่อยู่ในสถานะของแข็งหรือ


ของเหลวที่ตกลงมาจากบรรยากาศสู่พนื ้ โลก
หิมะ(Snow) คือ ไอนา้ ที่กลั่นตัวเป็ นเกล็ดนา้ แข็ง เมื่ออากาศ
อิ่มตัว และอุณหภูมติ ่ากว่ าจุดเยือกแข็ง
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

ลูกเห็บ(Hail) คือ นา้ แข็งที่ตกมาจากเมฆคิวมูโลนิมบัส


ฝน(Rain) คือ เกิดจากการกลั่นตัวของก้ อนเมฆกลายเป็ น
หยดนา้ ตกลงมาเป็ นฝน
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

ปริมาณนา้ ฝน หมายถึง ระดับความลึกของนา้ ฝนในภาชนะ


ที่รองรับนา้ ฝน
เครื่ องมือปริ มาณน ้าฝนเรี ยกว่า เครื่ องวัดนา้ ฝน(rain gauge)
จุดนา้ ค้ าง คือ อุณหภูมิของไอน ้าในอากาศเริ่ มควบแน่น
ออกมาเป็ นละอองน ้า
นา้ ค้ าง(Dew) คือ ไอน ้าที่กลัน่ ตัวเป็ นหยดน ้าเกาะติดอยู่
ตามผิว ซึง่ เย็นลงจนอุณหภูมิต่ากว่าจุดน ้าค้ างขณะนัน้
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ

นา้ ค้ างแข็ง (Frost)

นา้ ค้ างแข็ง(Frost) คือ ไอน ้าในอากาศที่มีจดุ น ้าค้ างต่ากว่าจุดเยือกแข็ง แล้ วเกิด


การกลัน่ ตัวเป็ นเกล็ดน ้าแข็ง โดยเกิดเฉพาะในเวลากลางคืน หรื อตอนเช้ ามืด

You might also like