You are on page 1of 155

เมฆ

การเกิดเมฆ
เมื่อไอน้ำในอากาศลอยตัวไปจนถึงระดับอากาศที่มีอุณหภูมิต่ำ จนกระทั่งอากาศอิ่มตัวดEวยไอน้ำ ไอน้ำจะ
ควบแนHนจนเปIนละอองน้ำหรือน้ำแข็งขนาดเล็ก ละอองน้ำหรือน้ำแข็งที่ลอยอยู3ในอากาศนี้หากอยู3รวมกัน
จะเรียกว3า เมฆ (cloud)
เมฆแบ&งตามรูปร&างได/เป0น 3 ประเภท
1 ซีรGรัส (cirrus) ลักษณะเปIนริ้ว ๆ หรือมัดผม

2 คิวมูลัส (cumulus) ลักษณะเปIนกEอนหรือเปIนปุย

3 สเตรตัส (stratus) ลักษณะเปIนแผHนหรือชั้น


การเกิดเมฆ
เมื่อไอน้ำในอากาศลอยตัวไปจนถึงระดับอากาศที่มีอุณหภูมิต่ำ จนกระทั่งอากาศอิ่มตัวดEวยไอน้ำ ไอน้ำจะ
ควบแนHนจนเปIนละอองน้ำหรือน้ำแข็งขนาดเล็ก ละอองน้ำหรือน้ำแข็งที่ลอยอยู3ในอากาศนี้หากอยู3รวมกัน
จะเรียกว3า เมฆ (cloud)
ประเภทของเมฆตามระดับความสูงของฐานเมฆ
1 2 3
เมฆระดับสูง เมฆระดับกลาง เมฆระดับต่ำ

เกิดที่ระดับสูงจากพื้นโลกมากกว3า เกิดที่ระดับสูงจากพื้นโลก เกิดที่ระดับสูงจากพื้นโลกไม3


6 km. ไดEแกH เมฆเซอรUโรคิวมูลัส 2 – 6 กิโลเมตร ไดEแกH เกิน 2 กิโลเมตร ไดEแกH
เซอรUโรสตราตัส และเซอรUรัส เมฆอัลโตคิวมูลัส และ สตราตัส สตราโตคิวมูลัส และ
ข"อสังเกต: เนื่องจากอากาศข"างบนบางมาก เมฆ อัลโตสตราตัส นิมโบสตราตัส คิวมูโลนิมบัส
ระดับสูงไม:มีความหนาแน:นมากพอที่จะบดบังแสง
จากดวงอาทิตยD จึงมองเห็นเปHนสีขาว
ข"อสังเกต: เมฆชั้นกลางมีความ และคิวมูลัส
หนาแน8นพอที่จะบดบังแสงจากดวง หมายเหตุ: นักอุตุนิยมวิทยาถือว:า เมฆคิวมูลัส
อาทิตยB ทำให"เกิดเงา บางครั้ง และเมฆคิวมูโลนิมบัส เปHนเมฆก:อตัวในแนวดิ่ง
มองเห็นเปHนสีเทา ซึ่งมีฐานเมฆอยู:ในระดับเมฆชั้นต่ำ แต:ยอดเมฆ
อาจอยู:ในระดับของเมฆขั้นกลางและชั้นสูง
เมฆระดับต่ำ เมฆระดับสูง เมฆก3อตัวในแนวตั้ง
เมฆก/อนเรียกว&า “เมฆคิวมูลัส” (Cumulus)

เมฆแผ&นเรียกว&า “เมฆสตราตัส” (Stratus)


หากเมฆก/อนลอยชิดติดกันเป0นแผ&น เรานำชื่อทั้งสองมาต&อกันเรียกว&า
“เมฆสตราโตคิวมูลสั ” (Stratocumulus)
ในกรณีที่เป+นเมฆฝนจะเพิ่มคำว4า “นิมโบ” หรือ “นิมบัส” ซึ่งแปลว4า “ฝน” เข@าไป
• เมฆก/อนที่ทำให/ฝนตกหนัก เกิดพายุฝนฟ_าคะนองเรียกว&า “เมฆคิว มูโลนิมบัส”
(Cumulonimbus)
• เมฆแผ&นที่ทำให/ฝนตกปริมาณเล็กน/อยถึงปานกลางต&อเนื่องเป0นเวลานาน เรียกว&า
“เมฆนิมโบสตราตัส” (Nimbostratus)

เมฆคิวมูโลนิมบัส เมฆนิมโบสตราตัส
ชนิดของเมฆ
เซอรGรัส (cirrus)
เซอร%โรคิวมูลัส (cirrocumulus)

เซอร%โรสตราตัส (cirrostratus)

เมฆระดับสูง
เซอร%โรสเตรตัส (cirrostratus)
ฐานเมฆอยู3ในระดับสูงกว3า 6 กิโลเมตร อุณหภูมิต่ำกว3าจุดเยือกแข็ง
คล"า ยเมฆเซอรBรัส แต8จ ะแผ8
จึงประกอบดcวยผลึกน้ำแข็งเกือบทั้งหมด ออกไปเปH น แผ8 น เยื ่ อ บาง ๆ
ส ี ขา ว เป H นผ ล ึ ก น้ ำ แข็ ง
เซอร%โรคิวมูลัส (cirrocumulus) ปกคลุ ม ท" อ งฟ] า เปH น บริ เวณ
เซอรGรัส (cirrus) เมฆก"อนเล็ก ๆ สีขาว กว"าง โปร8งแสงต8อแสงอาทิตยB
เมฆริ ้ ว สี ข าว รู ป ร8 า งคล" า ย มีลักษณะเปHนริ้วคลื่นเล็ก ๆ บางครั้งหักเหแสง ทำให"เกิด
ข น น ก เ ป H น ผ ล ึ ก น ้ ำ แข ็ ง ค ล " า ย ป ุ ย นุ 8 น เ ป H น ผ ล ึ ก ดวงอาทิ ต ยB ท รงกลด และ
มัก เกิดขึ้นในวันที่มีอากาศดี น้ ำ แข็ ง มั ก เกิ ด ขึ ้ น ปกคลุ ม ดวงจั น ทรB ท รงกลด เปH น รู ป
ท"องฟ]าแจ8มใส ท"องฟ]าบริเวณกว"าง วงกลม สีคล"ายรุ"ง
เมฆระดับสูง 6,000 เมตรขึ้นไป

เซอร%โรคิวมูลัส (Cirrocumulus : Cc)


มีลักษณะเปfนกcอนเล็ก ๆ สีขาว หรือคลcายขนแกะหรือปุยนุ3น ไม3มีเงา
เมฆระดับสูง 6,000 เมตรขึ้นไป

เซอร%โรสตราตัส (Cirrostratus : Cs)


มีลักษณะคลcายเมฆเซอรGรัส แต3จะแผ3ออกไปเปfนแผ3นเยื่อบาง ๆ ต3อเนื่องเปfนแผ3นตาม
ทิศทางของลมและแทบโปร3งแสง
เมฆระดับสูง 6,000 เมตรขึ้นไป

เซอร%รัส (Cirrus : Ci)


มีลักษณะเปfนแผ3นบางสีขาวเจิดจcา หรือสีเทาอ3อน ดวงอาทิตยGสามารถส3องผ3านไดc
อย3างดี มีหลายรูปทรง เช3น เปfนฝอย คลcายขนนกบาง ๆ เปfนเสcน ๆ หรือเปfนทางยาว
อยู3สูงที่ระดับ 30,000 ฟุต
ชนิดของเมฆ

เมฆระดับกลาง
ฐานเมฆอยู3ในระดับสูง 2 – 6 กิโลเมตร ประกอบดcวยผลึกน้ำแข็งและละอองน้ำ

อัลโตคิวมูลัส (altocumulus)
อัลโตสเตรตัส (altostratus)

อัลโตสเตรตัส (altostratus)
อัลโตคิวมูลัส (altocumulus)
เมฆเปH น แผ8 น ปกคลุ ม เปH น บริ เ วณกว" า ง
กระจายตัวอย8างสม่ำเสมอ บริเวณฐานเมฆ เมฆเปH น กลุ 8 ม ก" อ นเล็ ก ๆ คล" า ย
จะเปH น สี เ ทา หรื อ สี ฟ ] า สามารถบั ง ดวง ฝู ง แกะที ่ อ ยู 8 ร วมกั น มี ช 8 อ งว8 า ง
อาทิตยBหรือดวงจันทรB ทำให"เปHนฝ]า ๆ อาจ ระหว8างก"อนเล็กน"อย
ทำให"เกิดฝนละอองบาง ๆ ได"
2,000-6,000 เมตร
เมฆระดับกลาง

อัลโตคิวมูลัส (Altocumulus : Ac)


มีลักษณะเหมือนริ้วของกcอนสำลีเล็ก ๆ หรือเปfนกลุ3มกcอนเล็ก ๆ คลcายฝูงแกะที่อยู3
รวมกันหรือบางครั้งอาจก3อตัวต่ำลงมาดูคลcาย ๆ กับเมฆสตราโตคิวมูลัส หรือเกิดเปfน
กcอนซcอน ๆ กัน คลcายกับยอดปราสาทในบางครั้ง เมฆชนิดนี้เกิดขึ้นจากการเคลื่อนตัว
ในลักษณะลูกคลื่นของลม ทำใหcเกิดมีรูปร3างคลcายกับจานบินหรือแผ3นเลนสGนูน
2,000-6,000 เมตร
เมฆระดับกลาง

อัลโตสตราตัส (Altostratus : As)


มีลักษณะเปfนแผ3นปกคลุมบริเวณกวcาง มีลักษณะการกระจายตัวสม่ำเสมอ บริเวณ
ฐานเมฆจะเปfนสีเทา หรือสีฟnา สามารถบังดวงอาทิตยGหรือดวงจันทรG ทำใหcเปfนฝnา ๆ
อาจทำใหcเกิดฝนละอองบาง ๆ ไดc
ชนิดของเมฆ

เมฆระดับต่ำ

ฐานเมฆอยู3ในระดับความสูงต่ำกว3า 2 กิโลเมตร ประกอบดcวยละอองน้ำ


เกือบทั้งหมด

สเตรโตคิวมูลัส (stratocumulus) คิวมูลัส (cumulus) คิวมูโลนิมบัส


(cumulonimbus)

นิมโบสเตรตัส
(nimbostratus) สเตรตัส (stratus)
ต่ำกว?า 2,000 เมตร
เมฆระดับต่ำ

คิวมูลัส (Cumulus : Cu)


มีลักษณะเปfนกcอนหนา ฐานเมฆมักแบนราบ อาจเกิดเปfนกcอนเดี่ยว ๆ หรือรวมตัวกัน
เปfนกcอนใหญ3 ทำใหcมองเห็นคลcายดอกกะหล่ำขนาดใหญ3
ต่ำกว?า 2,000 เมตร
เมฆระดับต่ำ

สตราตัส (Stratus : St)


มีลักษณะเปfนแผ3นสีเทา ไม3รวมตัวกัน อยู3เปfนบริเวณกวcางมาก บางครั้งอาจเกิดใน
ระดับต่ำมากคลcายหมอกจะเคลื่อนที่ตามลมไดcเร็ว มักปรากฏในวันมีเมฆขมุกขมัว
ทcองฟnามืดครึ้ม มองไม3เห็นดวงอาทิตยGและอาจทำใหcเกิดฝนละอองไดc
ต่ำกว?า 2,000 เมตร
เมฆระดับต่ำ

สตราโตคิวมูลสั (Stratocumulus : Sc)


มีลักษณะเปfนกcอนกลมคลcายเมฆคิวมูลัส แต3เรียงติดกันเปfนแถว ๆ รวมกันคลcายคลื่น
เมฆสตราตัส บางครั้งอาจจะแยกตัวออกเปfนกลุ3มที่ประกอบดcวยกcอนเล็ก ๆ จำนวนมาก
ต่ำกว?า 2,000 เมตร
เมฆระดับต่ำ

นิมโบสตราตัส (Nimbostratus : Ns)


มีลักษณะเปfนแผ3นสีเทาเขcม คลcายพื้นดินที่เปrยกน้ำ ปกคลุมเปfนบริเวณกวcางมาก
ทำใหcเกิดฝนหรือหิมะตกในปริมาณเล็กนcอยถึงปานกลางต3อเนื่องเปfนเวลานาน ๆ ไดc
ต่ำกว?า 2,000 เมตร
เมฆระดับต่ำ

คิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus : Cb)


มีลักษณะเปfนเมฆหนากcอนใหญ3 ก3อตัวสูงมาก บางครั้งยอดเมฆจะแผ3ออกเปfนรูปทั่ง
ทำใหcเกิดฝนตกหนัก ฟnาแลบ ฟnารcอง สามารถก3อใหcเกิดพายุทอรGนาโดหรือไตcฝุsน
บางครั้งมีลูกเห็บตก จึงมักถูกเรียกว3า เมฆฝนฟnาคะนอง
เมฆชั้นต่ำ (Low Cloud)
เมฆสตราตัส (Stratus)
เป/นแผ3นสีเทา ไม3รวมตัวกัน อยู3เป/นบริเวณกวFางมาก บางครั้งอาจเกิดต่ำมากคลFายหมอก เคลื่อนที่ตามลมไดFเร็ว พบในวันมีเมฆขมุกขมัว
ทFองฟXามืดครึ้ม มองไม3เห็นดวงอาทิตยZและอาจทำใหFเกิดฝนละอองไดF
เมฆสตราโตคิวมูลัส (Stratocumulus)
เป/นกFอนกลมคลFายเมฆคิวมูลัส แต3เรียงติดกันเป/นแถว ๆ รวมกันคลFายคลื่นเมฆสตราตัส บางครั้งอาจแยกตัวออกเป/นกลุ3มที่ประกอบดFวย
กFอนเล็ก ๆ จำนวนมาก
เมฆนิมโบสตราตัส (Nimbostratus)
เป/นแผ3นสีเทาเขFม คลFายพื้นดินที่เป_ยกน้ำ ปกคลุมเป/นบริเวณกวFางมาก ทำใหFเกิดฝนหรือหิมะตกในปริมาณเล็กนFอยถึงปานกลางต3อเนื่อง
เป/นเวลานาน ๆ ไดF

เมฆก3อตัวในแนวตั้ง (Clouds of Vertical Development)


เมฆคิวมูลัส (Cumulus)
เป/นกFอนหนา ฐานเมฆมักแบนราบ อาจเกิดเป/นกFอนเดี่ยว ๆ หรือรวมตัวกันเป/นกFอนใหญ3 ทำใหFมองเห็นคลFายดอกกะหล่ำขนาดใหญ3 ก3อ
ตัวในแนวตั้ง ฐานเมฆเป/นสีเทาเนื่องจากมีความหนามากพอที่จะบดบังแสง จนทำใหFเกิดเงา มักปรากฏใหFเห็นเวลาอากาศดี ทFองฟXาเป/นสี
ฟXาเขFม
เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)
เป/นเมฆหนากFอนใหญ3 ก3อตัวสูงมากในแนวตั้ง พัฒนามาจากเมฆคิวมูลัส มีขนาดใหญ3มาก ทำใหFเกิดพายุฝนฟXาคะนอง หากกระแสลมชั้น
บนพัดแรง ก็จะทำใหFยอดเมฆรูปกะหล่ำ กลายเป/นรูปทั่งตีเหล็ก ต3อยอดออกมาเป/นเมฆเซอโรสตราตัส หรือเมฆเซอรัส
เมฆระดับสูง 6,000
เมตรขึ้นไป

เซอรUโรคิวมูลัส (Cirrocumulus : Cc) เซอรUโรสตราตัส (Cirrostratus : Cs) เซอรUรัส (Cirrus : Ci)


2,000-6,000 เมตร
เมฆระดับกลาง

อัลโตคิวมูลสั (Altocumulus : Ac) อัลโตสตราตัส (Altostratus : As)


ต่ำกว.า 2,000 เมตร
เมฆระดับต่ำ

คิวมูลัส สตราตัส สตราโตคิวมูลัส นิมโบสตราตัส คิวมูโลนิมบัส


(Cumulus : Cu) (Stratus : St) (Stratocumulus : Sc) (Nimbostratus : Ns) (Cumulonimbus : Cb)
ตารางการแปรผลปริมาณเมฆปกคลุมจากค?าประมาณปริมาณเมฆปกคลุมที่ตรวจวัด

ปริมาณเมฆปกคลุม คDาปริมาณเมฆปกคลุมพื้นที่ทั้งหมด
ไม4มีเมฆ ท@องฟEาไม4มีเมฆปกคลุม หรือไม4สามารถมองเห็นเมฆได@
ท@องฟEาแจ4มใส ปริมาณเมฆปกคลุมท@องฟEาน@อยกว4า 10%
เมฆบางส4วน ปริมาณเมฆปกคลุมท@องฟEา 10%-25%
เมฆกระจัดกระจาย ปริมาณเมฆปกคลุมท@องฟEา 25%-50%
เมฆเป+นหย4อม ๆ ปริมาณเมฆปกคลุมท@องฟEา 50%-90%
เมฆครึ้ม เมฆปกคลุมท@องฟEามากกว4า 90%
เหตุ ใ ดเมฆที ่ อ ยู / ร ะดั บ สู ง จึ ง ประกอบไปด; ว ยผลึ ก น้ ำ แข็ ง เกื อ บ
ทั้งหมด หน;า 144
ในวันที่ปริมาณไอน้ำในอากาศสูง เมฆที่พบน/าจะมีลักษณะอย/างไร
หน;า 144
ในวันที่มีลมแรง ปริมาณเมฆปกคลุมน/าจะเปPนอย/างไร หน;า 145
เมฆมีสีเข;มหรือดำเนื่องจากมีมลพิษอากาศอยู/ในเมฆนั้น ข;อความ
นี้กล/าวถูกหรือผิด อย/างไร
หมอก (Fog)
หมอก (Fog) เกิดจากไอน้ำเปลี่ยนสถานะควบแนDนเปEน
หยดน้ำเล็ก ๆ เชDนเดียวกับเมฆ เมฆเกิดจากการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิเนื่องจากการยกตัวของกลุDมอากาศ แตDหมอกเกิดขึ้น
จากความเย็นของพื้นผิว หรือการเพิ่มปริมาณไอน้ำในอากาศ
หมอก (Fog)
หมอกสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุหลาย
ประการ ตัวอยDางดังนี้
• ในวั น ที ่ ม ี อ ากาศชื ้ น และท3 อ งฟ6 า ใส
พอตกกลางคื น พื ้ น ดิ น จะเย็ น ตั ว อยB า ง
รวดเร็ว ทำให3ไอน้ำในอากาศที่อยูBเหนือ
พื ้ น ดิ น ควบแนB น เปJ น หยดน้ ำ หมอกซึ ่ ง
เกิดขึ้นโดยวิธีนี้มีอุณหภูมิต่ำและมีความ
หนาแนB น สู ง เคลื ่ อ นตั ว ลงสู B ท ี ่ ต ่ ำ และ
มีอยูBอยBางหนาแนBนในหุบเหว ตัวอยBางเชBน
ทะเลหมอก ดังภาพ
หมอก (Fog)
หมอกสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุหลายประการ ตัวอย:างดังนี้
• เมื ่ อ มวลอากาศอุ , น ที ่ ม ี ค วามชื ้ น สู ง ปะทะกั บ พื ้ น ผิ ว ที ่ ม ี ค วาม
หนาวเย็น เช,น ผิวน้ำในทะเลสาบ อากาศจะควบแน,นกลายเปEน
หยดน้ำ เรามองเห็นเปEนควันสีขาวลอยขึ้นเหนือพื้นน้ำ
• (ลักษณะเช,นเดียวกับหยดน้ำซึ่งเกาะอยู,รอบแกNวน้ำแข็ง)
หมอก (Fog)
หมอกสามารถเกิดขึ้นจากสาเหตุหลายประการ ตัวอย:างดังนี้
• เมื่ออากาศรNอนซึ่งมีความชื้นสูง ปะทะกับอากาศเย็นซึ่งอยู,ขNางบน
แลNวควบแน,นเปEนหยดน้ำ เช,น เวลาหลังฝนตก ไอน้ำที่ระเหยขึ้น
จากพื ้ น ถนนซึ ่ ง รN อ น ปะทะกั บ อากาศเย็ น ซึ ่ ง อยู , ข N า งบน
แลNวควบแน,นกลายเปEนหมอก เรามองเห็นเปEนควันสีขาวลอยขึ้น
จากพื้นถนน
• (ลักษณะเช,นเดียวกับการควบแน,นของไอน้ำจากลมหายใจปะทะ
กับอากาศเย็นของฤดูหนาว)
น้ำค/าง (Dew)
น้ำค%างเกิดขึ้นจากการกลั่นตัวของไอน้ำในอากาศที่ระดับผิวโลก ทั้งนี้เพราะ
อุณหภูมิของอากาศไมGสามารถรับไอน้ำได%ทั้งหมดอีกตGอไป เรียกอุณหภูมินี้วGา
จุ ด น้ ำ ค( า ง และถ% า อากาศยั ง คงเย็ น ลงตG อ เรื ่ อ ย ๆ จนกระทั ่ ง ลดต่ ำ ลงจนถึ ง
จุดเยือกแข็ง จะทำให%เกิดเปPน น้ำค(างแข็ง เกาะตามพืชหรือพื้นผิวโลกทั่วไป
หยาดน้ำฟ5า (Precipitation)
หยาดน้ำฟTา เป#นชื่อเรียกรวมของ หยดน้ำ และน้ำแข็ง
ที่เกิดจากการควบแน@นของไอน้ำแลBวตกลงมาสู@พื้น เช@น ฝน
ลูกเห็บ หิมะ เป#นตBน
หยาดน้ ำ ฟI า แตกต@ า งจากหยดน้ ำ หรื อ ละอองน้ ำ ใน
กBอนเมฆ (Cloud droplets) ตรงที่หยาดน้ำตBองมีขนาด
ใหญ@และมีน้ำหนักมากพอที่จะชนะแรงตBานอากาศ และตกสู@
พื้นโลกไดBโดยไม@ระเหยเป#นไอน้ำเสียก@อน
ละอองหมอก (Mist)

เปPนหยดน้ำขนาด 0.005 –0.05 มิลลิเมตร เกิดจากเมฆสราตัส


ทำให;เรารู;สึกชื้นเมื่อเดินผ/าน มักพบบนยอดเขาสูง
ฝนละออง (Drizzle)
เปPนหยดน้ำขนาดเล็กกว/า
0.5 มิ ล ลิ เ มตร เกิ ด จากเมฆสเตรตั ส พบเห็ น บ/ อ ยบน
ยอดเขาสูง ตกต/อเนื่องเปPนเวลานานหลายชั่วโมง
ฝน
ฝน
มีลักษณะเป0นเม็ดของเหลวมีเส/นผ&านศูนยlกลางประมาณ 0.5 – 5 มิลลิเมตร
เกิดจากไอน้ำกลั่นตัวกลายเป0นหยดน้ำ แล/วรวมกันเป0นเม็ดโตจนมีน้ำหนักมากพอที่จะลงสู&พื้น
ฝนส&วนใหญ&ตกลงมาจากเมฆนิมโบสเตรตัส และเมฆคิวมูโลนิมบัส
§อุปกรณfวัดน้ำฝน
(Rain gauge)
ขนาดมาตรฐานเป#น
ท ร ง ก ร ะบ อ ก ข นาด เ ส B นผ @ า น
ศูนย^กลาง 20 เซนติเมตร บนปาก
กระบอกมีกรวยรอรับน้ำฝน ใหBตก
ลงสู@กระบอกตวงซึ่งอยู@ภายในซึ่งมี
เสBนผ@านศูนย^กลางขนาดเล็กกว@า
กระบอกนอก 10 เท@ า (เสB น ผ@ า น
ศูนย^กลาง 2 เซนติเมตร)
อุปกรณDวัดน้ำฝน
เครื่องวัดฝน (rain gauge)
แบบต:าง ๆ

สถาบันส'งเสริมการสอนวิทยาศาสตร4และเทคโนโลยี
- ในการวัดปริมาณน้ำฝน เราใชVหนDวยวัดเปEนมิลลิเมตร
- เชDน ถVาฝนตกลงมาทำใหVระดับน้ำฝนในภาชนะที่รองรับสูงขึ้น
10 มิลลิเมตร หมายความวDา ฝนตกวัดไดV 10 มิลลิเมตร

10
เกณฑ+ปริมาณฝนเพื่อเตือนภัย
•หากปริมาณฝนตกเกินกว@า 100 มิลลิเมตรต@อวัน จะถือ
ว@าอยู@ในระดับเสี่ยงต@อการเกิดดินถล@มและน้ำปgาไหล
หลาก
ฝนตกเนื่องจากเมฆมีมวลมาก ข;อความนี้กล/าวถูกหรือผิด อย/างไร
การเพิ่มขนาดของผลึกน้ำแข็ง
ในเขตที่มีอากาศหนาวเย็น เช4น ในเขตละติจูดสูงหรือบนเทือกเขาสูง รูปแบบของ
การเกิดหยาดน้ำฟEาจะแตกต4างไปจากเขตรGอน หยดน้ำบริสุทธิ์ในกGอนเมฆไม4ไดGแข็งตัวที่
อุณ หภูม ิ 0 °C แต4แข็งตัวที่อ ุณ หภูม ิประมาณ -40 °C เราเรียกน้ำ ในสถานะของเหลวที่
อุณหภูม ิต่ำกว4า 0 °C นี้ว4า “น้ำเย็นยิ่งยวด” (Supercooled water) น้ำเย็นยิ่งยวดจะ
เปลี่ยนสถานะเปeนของแข็งไดGก็ต4อเมื่อกระทบกับวัตถุของแข็งอย4างทันทีทันใด ยกตัวอย4าง
เมื่อเครื่องบินเขGาไปในเมฆชั้นสูง ก็จะเกิดน้ำแข็งเกาะที่ชายปgกดGานหนGา
หิมะ (Snow)
หิมะ เป#นผลึกน้ำแข็งขนาดประมาณ 1 – 20
มิลลิเมตร ซึ่งเกิดจากไอน้ำจากน้ำเย็นยิ่งยวด ระเหิดกลับ
เป#นผลึกน้ำแข็ง แลBวตกลงมา
หิมะ (Snow)
เมื ่ อ ผลึ ก น้ ำ แข็ ง มี ข นาดใหญ7 แ ละมี น ้ ำ หนั ก มากพอที ่ จ ะชนะแรงพยุ ง
(Updraft) มั น จะตกลงมาดL ว ยแรงโนL ม ถ7 ว งของโลก และปะทะกั บ หยดน้ ำ เย็ น
ยิ่งยวดซึ่งอยู7ดLานล7าง ทำใหLเกิดการเยือกแข็งและรวมตัวใหLผ ลึกมีขนาดใหญ7
ยิ่งขึ้นไปอีก นอกจากนั้นผลึกอาจจะปะทะกันเอง จนทำใหLเกิดผลึกขนาดใหญ7
ที่เรียกว7า “เกล็ดหิมะ” (Snow flake) ในเขตอากาศเย็น หิมะจะตกลงมาถึงพื้น
แต7ในวันที่มีอากาศรLอน หิมะจะเปลี่ยนสถานะกลายเปaน “ฝน” เสียก7อนแลLวจึงตก
ถึงพื้น
ลูกเห็บ (Hail)
ลูกเห็บ เป*นก,อนน้ำแข็งขนาดใหญ7ก ว7า 5 เซนติเมตร เกิดขึ้นจากกระแสใน
อากาศไหลขึ้น (updraft) และไหลลง (downdraft) ภายในเมฆคิวมูโลนิมบัส
กระแสอากาศที่พัดขึ้นและลงสลับกันในแนวดิ่งจะทำให,หยดน้ำที่เกิดขึ้นสะสมตัว
กันจนมีขนาดใหญ7 และหากถูกพัดให,สูงขึ้นสู7ด,านบนซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว7าจุดเยือก
แข็ง ก,อนน้ำแข็งที่เกิดขึ้นประทะกับน้ำเย็นยิ่งยวด แล,วสะสมตัวกันเป*นชั้น ๆ
จนมีขนาดใหญ7แล,วตกลงมาเป*นลูกเห็บ (Hail) ซึ่งถ,าหากพิจารณาภาคตัดขวาง
ของลูกเห็บจะเห็นว7า มีลักษณะเป*นเปลือกห7อหุ,มกันเป*นชั้น ๆ
การพยากรณ'อากาศ
สถาบันส'งเสริมการสอนวิทยาศาสตร4และเทคโนโลยี

การทำงานของนักอุตุนิยมวิทยาในการพยากรณGอากาศ
ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา, 2560
¡การพยากรณfอากาศ คือ การคาดหมายสภาวะอากาศ
และปรากฏการณf ท างธรรมชาติ ที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น ใน
ช/วงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต

¡ส/วนมากจะเกี่ยวข;องกับสภาวะอากาศที่เกิดขึ้นใกล;ตัว
เรา เช/น ฝน อุณหภูมิ เมฆ หมอก คลื่นลม รวมทั้งภัย
ธรรมชาติที่รุนแรงและไม/รุนแรง ได;แก/ พายุหมุนเขต
ร;อน, พายุฝนฟTา คะนอง, การเกิดอุทกภัย, ภัยแล;ง
ฯลฯ
การพยากรณ+ อ ากาศ คื อ การคาดคะเน
ลั ก ษณะอากาศล1 ว งหน5 า โดยเจ5 า หน5 า ที ่ ข องกรม
อุตุนิยมวิทยา
อุตุนิยมวิทยา คือ วิชาวิทยาศาสตรCที่ศึกษา
เกี่ยวกับอากาศ และการเปลี่ยนแปลงของอากาศ
แผนที่อากาศ คือ แผนที่ที่แสดงลักษณะของ
อากาศในเวลาขณะใดขณะหนึ่งที่ผ1านมาในแต1ละวัน
ระยะเวลาของการพยากรณDอากาศ
การพยากรณDปUจจุบัน (nowcast)

หมายถึ ง การรายงานสภาวะอากาศที ่ เ กิ ด ขึ ้ น ใน
ปOจจุบันและการคาดหมายสภาพลมฟTาอากาศสำหรับ
ชVวงเวลาไมVเกิน 2 ชั่วโมง
การพยากรณDระยะสั้นมาก

คือ การพยากรณ+สำหรับชVวงเวลาไมVเกิน 12 ชั่วโมง


การพยากรณDระยะสั้น

หมายถึง การพยากรณ+สำหรับระยะเวลาเกินกวVา
12 ชั่วโมงขึ้นไปจนถึง 3 วัน
การพยากรณDอากาศระยะปานกลาง

คือ การพยากรณ+สำหรับชVวงเวลาที่เกินกวVา 3 วัน


ขึ้นไปจนถึง 10 วัน
การพยากรณDระยะยาว
คือ การพยากรณ+สำหรับชVวงเวลาระหวVาง 10 ถึง
30 วัน
การพยากรณDระยะนาน
คือ การพยากรณ+ตั้งแตV 30 วัน จนถึง 2 ป] ซึ่งยัง
แบVงยVอยออกเป_น 3 ชนิด คือ
• การคาดหมายรายเดือน
• การคาดหมายรายสามเดือน
• การคาดหมายรายฤดู
การพยากรณDภูมิอากาศ
คือ การพยากรณ+สำหรับชVวงเวลามากกวVา 2 ป]ขึ้นไป
โดยแบVงเป_น
• การพยากรณ+ ก ารผั น แปรของภู ม ิ อ ากาศ คื อ
การพยากรณ+ที่เกี่ยวขbองกับการผันแปรไปจาก
คVาปกติเป_นรายป]จนถึงหลายสิบป]
• การพยากรณ+ภูมิอากาศ คือ การพยากรณ+สภาพ
ภูมิอากาศในอนาคตโดยพิจารณาทั้ง สาเหตุจาก
ธรรมชาติและจากการกระทำของมนุษย+
ขั้นตอนในการพยากรณDอากาศ
• การตรวจอากาศ เพื ่ อ ใหb ท ราบสภาวะอากาศ
ปOจจุบัน
• การสื่อสาร เพื่อรวบรวมขbอมูลผลการตรวจอากาศ
• การวิเคราะห+ขbอมูล เพื่อการคาดหมาย
การตรวจอากาศ
ข/อมูลอุตุนิยมวิทยาที่ตรวจวัดเพื่อการพยากรณlอากาศ ได/แก& ตัวแปรที่มีความสัมพันธlโดยตรง
กับลักษณะอากาศที่เกิดขึ้นในแต&ละวัน ซึ่งสถานีอุตุนิยมวิทยาแต&ละแห&งจะต/องติดตั้งอุปกรณl
ทำการตรวจวัด ดังนี้
1. ความกดอากาศ ตรวจวัดดGวยบารอมิเตอรj (Barometer)
2. ลม ตรวจวั ด ดG ว ยเครื ่ อ งวั ด ทิ ศ ทางลม (Wind vane) และเครื ่ อ งวั ด ความเร็ ว ลม
(Anemometer)
3. อุณหภูมิอากาศ ตรวจวัดดGวยเทอรjมอมิเตอรjชนิดสูงสุดต่ำสุด (Max-min thermometer)
4. ความชื้นสัมพัทธj ตรวจวัดดGวยไฮโกรมิเตอรjชนิดกระเปาะเปgยกกระเปาะแหGง (Wet dry bulb
hygrometer)
5. ชนิดและปริมาณเมฆที่ปกคลุมทGองฟEา ตรวจวัดดGวยสายตา เรดารj และดาวเทียม
6. หยาดน้ำฟEา ตรวจวัดดGวยอุปกรณjวัดปริมาณน้ำฝน
7. ทัศนวิสัย ตรวจวัดดGวยสายตา
วีดิทัศนG เรื่อง เครื่องมือตรวจวัดองคGประกอบของลมฟnาอากาศ

http://ipst.me/7607
การตรวจอากาศ
เครื่องมือที่ใช-ในระบบการพยากรณ6อากาศสามารถแบ;งออก
ได-เป?นประเภทใหญ; ๆ ได-ดังนี้
1. เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้น
สถานีอุตุนิยมวิทยาแต;ละแห;งจะติดตั้งอุปกรณ6ตรวจวัด
อากาศผิวพื้นตามที่กล;าวมาแล-วข-างต-น โดยจะทำการตรวจวัด
อากาศตามเวลาที่กำหนดไว-ในแต;ละวัน ซึ่งจะมีเวลาหลักของการ
ตรวจวัด คือ 07.00 น. และเวลา 19.00 น. โดยในระหว;างเวลา
หลักเหล;านี้ อาจมีการตรวจวัดเพิ่มเติมได-ตามที่กำหนดไว-เพื่อ
ความเหมาะสม
การตรวจอากาศ
2. เครื่องมือตรวจอากาศชั้นบน
เนื ่ อ งจากการเปลี ่ ย นแปลงของลั ก ษณะอากาศบน
พื้นผิว มีความเกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
ชั้นบนของโทรโพสเฟMยรC โดยใช5บอลลูนติดตั้งอุปกรณCตรวจ
อากาศซึ่งได5กล1าวมาแล5วในเบื้องต5น และข5อมูลซึ่งรายงาน
โดยนักบิน ได5แก1 ทัศนวิสัย อุณหภูมิ ทิศทางและความเร็วลม
ปริมาณและชนิดเมฆ
การตรวจอากาศ
3. เครื่องมือตรวจอากาศพิเศษ
เปTนเครื่องมือที่ใช5สำหรับตรวจวัดปรากฏการณCหรือ
ลั ก ษณะอากาศที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เพื ่ อ ช1 ว ยเสริ ม ในการวิ เ คราะหC
พยากรณCอากาศ ได5แก1 เรดารCตรวจอากาศ และดาวเทียม
อุตุนิยมวิทยา
การตรวจอากาศ
เรดาร+ตรวจอากาศ (Radar ย&อมาจาก Radio Detection And Ranging)
เป#นอุปกรณ*ที่ใช0สำหรับจับตำแหน9งและทิศทางการเคลื่อนที่ของเมฆ
และพายุ โดยการส9งคลื่นแม9เหล็กไฟฟMาออกไปกระทบแล0วสะท0อนกลับมา
แล0 ว คำนวณเปรี ย บเที ย บระยะเวลาที ่ ค ลื ่ น เดิ น ทางออกไปแล0 ว สะท0 อ น
กลับมา ทำให0ทราบว9าเมฆหรือพายุอยู9ห9างออกไปเท9าไร นอกจากนั้นแล0ว
ยั ง ใช0 ค ำนวณว9 า เมฆหรื อ พายุ ก ำลั ง เคลื ่ อ นที ่ เข0 า ใกล0 ห รื อ ออกห9 า งด0 ว ย
ความเร็วเท9าไร เสาอากาศของเรดาร*ตรวจอากาศหมุนรอบตัวเพื่อตรวจ
สภาพอากาศที่อยู9รอบ ๆ ซึ่งมีรัศมีทำการได0ไกลหลายร0อยกิโลเมตร
ภาพจากเรดารUตรวจอากาศที่สนามบินสุวรรณภูมิ แสดงใหEเห็นความหนาแนHน
ของกลุHมเมฆทางทิศตะวันออกในเขตจังหวัดฉะเชิงเทราและชลบุรี สีเขียว สีเหลือง และ
สีแดง คือเมฆที่มีความหนาแนHนจากนEอยไปมากตามลำดับ
ตามปกติเรดารjตรวจอากาศจะถูกติดตั้งอยู4ภายในโดมทรงกลมบนยอดอาคารอุตุนิยมวิทยา
เพื่อปEองกัน ลม แสงแดด ความชื้นและฝน (คลื่นวิทยุสามารถเดินทางผ4านผนังโดมไดG)
การตรวจอากาศ
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Satellite)
ติดตั้งอุปกรณ-ถ/ายภาพบรรยากาศโลกจากมุมสูงระยะทางไกล ทำใหC
มองเห็นภาพรวมของสภาพอากาศซึ่งปกคลุมเหนือพื้นผิว ตลอดจนทิศทางการ
เปลี่ยนแปลง ทำใหCสามารถช/วยเตือนภัยและพยากรณ-สภาพอากาศล/วงหนCาไดC
เปRนอย/างดี ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาแบ/งตามวงโคจรไดCเปRน 2 ชนิดคือ
• ดาวเทียมอุตนุ ยิ มวิทยาวงโคจรคCางฟUา (Geostationary Meteorological
Satellite)
• ดาวเที ย มอุ ต ุ น ิ ย มวิ ท ยาวงโคจรใกลC ข ั ้ ว โลก (Near Polar Orbiting
Meteorological Satellite)
การตรวจอากาศ
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาวงโคจรคbางฟTา (Geostationary
Meteorological Satellite)
โคจรรอบโลกใช0เวลา 24 ชั่วโมง ไปพร0อม ๆ กับการหมุนรอบตัวเอง
ของโลก ทำให0ตำแหน9งดาวเทียมจะสัมพันธ*กับตำแหน9งบนพื้นโลกในบริเวณ
เดิมเสมอ ดาวเทียมชนิดนี้จะอยู9ในตำแหน9งเส0นศูนย*สูตรของโลกมีความสูง
จากพื้นโลกประมาณ 35,800 กิโลเมตร ทำให0ได0ภาพถ9ายที่ปกคลุมพื้นที่เป#น
บริ เวณกว0 า ง คลอบคลุ ม ทั ้ ง ทวี ป และมหาสมุ ท ร สามารถติ ด ตามการ
เปลี ่ ย นแปลงของสภาพภู ม ิ อ ากาศได0 โดยถ9 า ยภาพซ้ ำ เพื ่ อ ทำการ
เปรียบเทียบ
การตรวจอากาศ
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาวงโคจรใกลbขั้วโลก (Near Polar
Orbiting Meteorological Satellite)
เป#นดาวเทียมที่มีระดับความสูงจากพื้นโลกเพียง 850 กิโลเมตร จึงให0
ภาพรายละเอียดสูง แต9ปกคลุมพื้นที่เป#นบริเวณแคบ ๆ จึงเหมาะสำหรับใช0
สังเกตรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศระดับภูมิภาค
เครือขDายตรวจอากาศ
ขGอมูลที่ไดGจากเครื่องมือตรวจอากาศทั้งบนพื้นดิน พื้นน้ำ ในอากาศและ
อวกาศ จะถูกนำมาใชGประโยชนjร4วมกันในการพยากรณjอากาศ
ในระบบเครือข4าย
การสื่อสาร
เพื่อรวบรวมและแลกเปลี่ยนขNอมูลของการตรวจอากาศที่ไดNจาก
แหล,งต,าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยสถานีตรวจอากาศในแต,
ละแห,งเมื่อตรวจอากาศตามเวลาที่กำหนดแลNว จะตNองรีบส,งผลการตรวจ
แปลงศูนยXพยากรณXอากาศโดยเร็ว การรายงานผลการตรวจอากาศจึงตNอง
เปEนขNอความที่สั้นที่สุด แต,ไดNใจความ เพื่อใหNเสียเวลาในการส,งนNอยที่สุด
และตNองมีระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพดี ปZจจุบันนี้การติดต,อสื่อสาร
ระหว,างสถานีตรวจอากาศและศูนยXพยากรณXอากาศจะใชNระบบวิทยุโทร
พิมพX โทรสาร จดหมายอิเล็กทรอนิกสX และอินเทอรXเน็ต ซึ่งสามารถส,ง
รายงานไดNรวดเร็วมาก
การวิเคราะหDข/อมูล
ขั้นตอนแรก
เปeนการบันทึกผลการตรวจอากาศที่ไดGรับทั้งหมด ทั้งจากในประเทศและจากต4างประเทศ ลงบน
แผนที่หรือแผนภูมิทางอุตุนิยมวิทยาชนิดต4าง ๆ เช4น แผนที่อากาศผิวพื้น แผนที่อากาศชั้นบน
แผนภูมิการหยั่งอากาศ ดGวยสัญลักษณjมาตรฐานทางอุตุนิยมวิทยา
ขั้นตอนที่สอง
คือการวิเคราะหjผลการตรวจอากาศที่ไดGจากขั้นตอนแรก โดยการลากเสGนแสดงค4าองคjประกอบ
ทางอุตุนิยมวิทยา เช4น เสGนความกดอากาศเท4าที่ระดับน้ำทะเลเฉลี่ยเพื่อแสดงตำแหน4ง และความ
รุนแรงของระบบลมฟEาอากาศ เสGนทิศทางและความเร็วลมในระดับความสูงต4าง ๆ เพื่อแสดง
ลักษณะอากาศในระดับบน และเสGนแสดงการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิตามความสูงเพื่อแสดง
เสถียรภาพของบรรยากาศ ซึ่งเปeนป‰จจัยสำคัญในการเกิดเมฆและฝน

*** 2 ขั้นตอนนี้เปeนการเขียนแผนที่อากาศ ***


การวิเคราะหDข/อมูล
ขั้นตอนที่สาม
คือการคาดหมายการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนที่ของตัวระบบลมฟ;าอากาศที่
วิเคราะห>ได@ในขั้นตอนที่สอง โดยใช@วิธีการพยากรณ>อากาศแบบตJาง ๆ
ขั้นตอนที่สี่
คือการออกคำพยากรณ> ณ ชJวงเวลาและบริเวณที่ต@องการ โดยพิจ ารณาจาก
ตำแหนJงและความรุนแรงของระบบลมฟ;าอากาศที่ได@ดำเนินการไว@แล@วในขั้นตอนที่
สาม สJวนขั้นตอนสุดท@ายคือการสJงคำพยากรณ>อากาศไปยังสื่อมวลชนเพื่อเผยแพรJ
ตJ อ ไปสู J ป ระชาชน และสJ ง ไปยั ง หนJ ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข@ อ งเพื ่ อ ดำเนิ น การตJ อ ไป
ตามความเหมาะสม เชJน การป;องกันและบรรเทาภัยพิบัติ
วีดิทัศนG เรื่อง การพยากรณGอากาศ

http://ipst.me/7795
การที ่ ส ถานี อ ุ ต ุ น ิ ย มวิ ท ยามี ก ารใช; เ ครื ่ อ งมื อ ตรวจวั ด
องคfประกอบของลมฟTาอากาศ จัดว/าอยู/ในขั้นตอนใด
ของการพยากรณfอากาศ หน;า 152
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
ในแผนที่อากาศ จะมีสัญลักษณjต4าง ๆ ดังนี้

ตัวอักษร H แทนบริเวณที่
มีความกดอากาศสูง
ในแผนที่อากาศมีอะไร?

ตัวอักษร L แทนบริเวณที่
มีความกดอากาศต่ำ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?

เสGนโคGงที่ลากขวางอยู4ใน
แผนที ่ อ ากาศ คื อ เสG น ที่
แสดงว4าบริเวณนั้นมีความ
กดอากาศเท4ากัน เรียกว4า
เส/นไอโซบารl
ในแผนที่อากาศมีอะไร?

สัญลักษณGแสดงลักษณะของสภาพอากาศ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณRแสดงความเร็วลมที่ใชVในแผนที่อากาศ(หน&วย kn)
0-2 48-62
3-7 53-57
13-17 58-62
18-22 63-67
23-27 98-102
28-32 102-107
33-37
38-42
43-47
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณRแสดงปริมาณเมฆที่ใชVในแผนที่อากาศ
ท/องฟ_าไม&มีเมฆ
มีเมฆ 1 ส&วน
มีเมฆ 3 ส&วน
มีเมฆ 5 ส&วน
มีเมฆเกิน 5 ส&วน
มีเมฆ 8 ส&วน
มีเมฆเกิน 8 ส&วน
มีเมฆ 9 ส&วน
มีเมฆเกิน 9 ส&วน
มีเมฆเต็มท/องฟ_า
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณRแสดงสภาพอากาศที่ใชVในแผนที่อากาศ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณRแสดงชนิดของเมฆที่ใชVในแผนที่อากาศ
สัญลักษณ%
เซอรัส Ci
เซอโรคิวมูลัส Cc
เซอโรสเตรตัส Cs
อัลโตคิวมูลัส Ac
อัลโตสเตรตัส As
นิมโบสเตรตัส Ns
สเตรโตคิวมูลัส Sc
สเตรตัส St
คิวมูลัส Cu
คิวมูโลนิมบัส Cb
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณRแสดงชนิดของเมฆชั้นสูงที่ใชVในแผนที่อากาศ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณRแสดงชนิดของเมฆชั้นกลางที่ใชVในแผนที่อากาศ
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
สัญลักษณRแสดงชนิดของเมฆชั้นต่ำที่ใชVในแผนที่อากาศ
สัญลักษณ+ต-าง ๆ
1. วงกลม แสดงปริ ม าณเมฆปกคลุ ม เหนื อ สถานี
สีขาว: ไม4มีเมฆ สีดำ: เมฆมาก
2. ลูกศร แสดงทิศทางลมที่พัดเขGาหาสถานี ขีดฉากที่
ปลายลูกศรแสดงความเร็วลม ขีดยิ่งมาก ลมยิ่งแรง
3. ความกดอากาศที่ระดับน้ำทะเล แสดงดGวยตัวเลข
ขวามือดGานบน เปeนตัวเลขสามหลัก หมายถึง ตัวเลข
ทG า ยสองหลั ก และทศนิ ย มหนึ ่ ง หลั ก (107 หมายถึ ง
1010.7 hPa)
4. แนวโน/ ม ของความกดอากาศเปรี ย บเที ย บกั บ
3 ชั ่ ว โมงที ่ แล/ ว แสดงดGวยตัว เลขทางดGา นขวามือ มี
หน4วยเปeน hPa ค4า + หมายถึงความกดอากาศสูงขึ้น,
ค4า - หมายถึงความกดอากาศต่ำลง
5. อุณหภูมิจุดน้ำค/าง แสดงดGวยตัวเลขซGายมือดGานล4าง
6. ลักษณะอากาศ แสดงดG4วยสัญลักษณjอุตุนิยมวิทยา
ทางดGานซGายมือ
7. อุณหภูมิอากาศ แสดงดGวยตัวเลขดGานซGายบน
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
การพยากรณfอากาศใช;ข;อมูลองคfประกอบลมฟTาอากาศ
เฉพาะท;องถิ่นเท/านั้น กล/าวถูกหรือผิดอย/างไร

https://www.tmd.go.th/supportData/synopticCharts แผนที่อากาศป•จจุบัน
https://www.windy.com/-Visibility-visibility?visibility,19.062,53.438,3 สภาพลมฟ]าอากาศ
พายุฝนฟ(าคะนอง
พายุฟNาคะนอง
พายุฝนฟ7าคะนอง (Thunderstorm)
§เกิดจากเมฆที่ก/อตัวขึ้นในแนวดิ่งขนาดใหญ/ที่เรียกว/า
เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)
§เปPนสาเหตุสำคัญที่ทำให;เกิดสภาพอากาศรุนแรง เช/น
ลมกระโชก ฟTาแลบ และฟTาผ/า ฝนตกหนัก อากาศ
ปxyนปzวนรุนแรงทำให;มีลูกเห็บตก และอาจเกิดน้ำแข็ง
เกาะจับเครื่องบินที่บินอยู/ในระดับสูง
พายุฝนฟ5าคะนอง (Thunderstorm)
• การเกิดพายุฝนฟIาคะนองมีลำดับ 3 ขั้นตอน ไดBแก@ ขั้นก@อตัว
ขั้นเจริญเต็มที่ และขั้นสลายตัว
ขั้นกiอตัว (Cumulus stage)
• เมื่อกลุ/มอากาศรCอนลอยตัวขึ้นสู/บรรยากาศ พรCอมกับการมีแรงมา
กระทำหรือผลักดันใหCมวลอากาศยกตัวขึ้นไปสู/ความสูงระดับหนึ่ง โดย
มวลอากาศจะเย็นลงเมื่อลอยสูงขึ้นและควบแน/นเปRนละอองน้ำเล็ก ๆ
เปRนการก/อตัวของเมฆคิวมูลัส ในขณะที่ความรCอนแฝงจากการกลั่นตัว
ของไอน้ำจะช/วยใหCอัตราการลอยตัว ของกระแสอากาศภายในกCอนเมฆ
เร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งเปRนสาเหตุใหCขนาดของเมฆคิวมูลัสมีขนาดใหญ/ขึ้น
และยอดเมฆสูงเพิ่มขึ้นเปRนลำดับ จนเคลื่อนที่ขึ้นถึงระดับบนสุดแลCว
(จุดอิ่มตัว) จนพัฒนามาเปRนเมฆคิวมูโลนิมบัส เราเรียกกระแสอากาศที่
ไหลขึ้นว/า "อัพดราฟต-" (Updraft)
ขั้นเจริญเต็มที่ (Mature stage)
• เป#นช&วงที่กระแสอากาศมีทั้งไหลขึ้นและไหลลง ปริมาณความร@อนแฝงที่เกิดขึ้น
จากการควบแน&นลดน@อยลง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่หยาดน้ำฟKาที่ตกลงมามี
อุณหภูมิต่ำ ช&วยทำให@อุณหภูมิของกลุ&มอากาศเย็นกว&าอากาศแวดล@อม ดังนั้น
อัตราการเคลื่อนที่ลงของกระแสอากาศจะมีค&าเพิ่มขึ้นเป#นลำดับ กระแสอากาศ
ที่เคลื่อนที่ลงมาซึ่งเรียกว&า "ดาวนSดราฟตS" (Downdraft) จะแผ&ขยายตัวออก
ด@านข@าง ก&อให@เกิดลมกระโชกรุนแรง อุณหภูมิจะลดลงและความกดอากาศจะ
เพิ่มขึ้นอย&างรวดเร็ว แผ&ออกไปไกลถึง 60 กิโลเมตรได@ โดยเฉพาะส&วนที่อยู&
ด@านหน@าของทิศทางการเคลื่อนที่ของพายุ นอกจากนั้นกระแสอากาศเคลื่อนที่
ขึ้นและลงจะก&อให@เกิดลมเฉือน (Wind shear) ซึ่งจะก&อให@เกิดอ@นตรายต&อ
เครื่องบินที่กำลังจะขึ้นและร&อนลงสนามบินเป#นอย&างยิ่ง
ขั้นสลายตัว
• เป#นระยะที่พายุฝนฟIาคะนองมีกระแสอากาศเคลื่อนที่ลง
เพียงอย@างเดียว หยาดน้ำฟIาตกลงมาอย@างรวดเร็วและหมด
ไป พรBอม ๆ กับกระแสอากาศที่ไหลลงก็จะเบาบางลง
พายุฝนฟ5าคะนอง (Thunderstorm)
การเกิดพายุฝนฟMาคะนองในแต9ละครั้ง จะกินเวลานานประมาณ
2 - 4 ชั่วโมง ซึ่งพอจะลำดับเหตุการณ*ได0ดังนี้
ú อากาศรVอนอบอVาว เนื่องจากมวลอากาศร0อนยกตัวลอยขึ้น
เมื่อปะทะกับอากาศเย็นด0านบนแล0วควบแน9นกลายเป#นละออง
น้ำในเมฆ และคายความร0อนออกมาในรูปของรังสีอินฟราเรด
ú ทV อ งฟ^ า มื ด มั ว อากาศเย็ น เนื ่ อ งจากการก9 อ ตั ว ของ
เมฆคิวมูโลนิมบัสมีขนาดใหญ9มากจนบดบังแสงอาทิตย* ทำให0
อุณหภูมิพื้นผิวลดต่ำลง
ú กระแสลมกรรโชกและมี ก ลิ ่ น ดิ น เกิ ด ขึ ้ น เนื ่ อ งจากดาวน*
ดราฟต* (Downdraft) ภายในเมฆคิ ว มู โ ลนิ ม บั ส เปm า ลงมา
กระแทกพื้นดินและกลายเป#นลมเฉือน (Wind shear)
• ฟYาแลบ ฟYาผ;า ฟYาร-อง เนื่องจากกระแสลมพัดขึ้นและ
ล ง ( Updraft แ ล ะ Downdraft) ท ำ ใ ห - เ ก ิ ด ก า ร
เหนี่ยวนำของประจุไฟฟYาในก-อนเมฆและบนพื้นดิน
• ฝนตกหนั ก เกิ ด จากการสลายตั ว ของก- อ นเมฆ
เปลี่ยนเป?นหยาดน้ำฟYาตกลงมาฝน และในบางครั้งมี
ลูกเห็บตกลงมาด-วย
• รุ-งกินน้ำ เกิดจากละอองน้ำซึ่งยังตกค-างอยู;ในอากาศ
หลังฝนหยุด หักเหแสงอาทิตย6ทำให-เกิดสเปกตรัม
§ขณะเกิ ด พายุ ฝ นฟI า คะนองจะเกิ ด ฟI า แลบ โดย
เกิดขึ้นพรBอมกับฟIารBอง
§มนุษย^เรามองเห็นฟIาแลบก@อ นไดBยินเสียงฟIารBอ ง
เนื่องจากแสงเดินทางเร็วกว@าเสียง (แสงมีอัตราเร็ว
300,000 กิโลเมตร/วินาที ส@วนเสียงมีอัตราเร็ว 1/3
ของแสง)
§ประกายไฟฟIาของฟIาแลบ 1 ครั้ง มีปริมาณไฟฟIา
จำนวนสูงถึง 200,000 แอมแปร^ และมีความต@าง
ศักย^ถึง 30 ลBานโวลต^
§ฟ\าแลบ เกิดจากประจุไฟฟ\าเคลื่อนที่จากกNอนเมฆสู,กNอนเมฆ
§ฟ\าผ,า เกิดจากประจุไฟฟ\าเคลื่อนที่สู,พื้นดิน
§โดยมีขั้นตอนคือ ประจุไฟฟ\าที่เคลื่อนที่ถ,ายเทในกNอนเมฆมีการ
เคลื่อนที่หลุดออกมาและถ,ายเทสู,อาคารสิ่งก,อสรNาง หรือตNนไมN
สูงบนพื้นดิน
§เหตุการณXเหล,านี้ใชNเวลานNอยกว,า 1 วินาที และเกิดเปEนแสงของ
ฟ\าแลบ ซึ่งบางครั้งลำแสงมีความยาวถึง 60 - 90 เมตร
§ การเกิดฟIารBอง เกิดจากประกายไฟฟIาของฟIาแลบทำใหB
อากาศในบริเวณนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นถึงประมาณ 25,000
องศาเซลเซี ย ส อย@ า งเฉี ย บพลั น มี ผ ลทำใหB อ ากาศมี ก าร
ขยายตัวอย@างรวดเร็วและรุนแรง ทำใหBเกิดเสียง "ฟIารBอง”
พายุคืออะไร?
• ลมพายุ คือ ลมที่พัดด0วยความเร็วสูง เกิดจากความแตกต9างของ
ความกดอากาศใน 2 บริเวณมีความแตกต9างกันมาก
• เราเรียกลมพายุที่หมุนรอบจุดศูนย*กลางว9า พายุหมุน (Cyclonic
storm)
• เนื่องจากในการเกิดพายุหมุน โลกเกิดการหมุนรอบตัวเองอยู9แล0ว
ทำให0ทิศทางของลมพายุที่เกิดในซีกโลกเหนือมีทิศทางการพัดเข0า
หาศู น ย* กลางในทิ ศทวนเข็ มนาyิ กา และมี ท ิ ศทางของลมเข0 า สู9
ศูนย*กลางในทิศตามเข็มนาyิกา ในซีกโลกใต0
พายุหมุนเขตร8อน
พายุหมุนเขตรZอน

อากาศรEอนชื้นลอยตัวขึ้น

อากาศบริเวณรอบขEางเขEามาแทนที่

• เกิดขึ้นบริเวณเหนือพื้นมหาสมุทรในเขตรcอน เมื่อน้ำในมหาสมุทรมีอุณหภูมิสูง จะเกิดการระเหย


กลายเปfนไอน้ำปริมาณมาก อากาศจะรcอนชื้นและลอยตัวขึ้นอย3างรวดเร็วเปfนบริเวณกวcาง อากาศ
บริเวณรอบขcาง จึงเคลื่อนตัวเขcามาแทนที่ และเมื่อประกอบกับการหมุนรอบตัวเองของโลกทำใหc
อากาศพัดเวียนเขcาหาจุดศูนยGกลางของบริเวณนั้น
พายุหมุนเขตร8อน
พายุหมุนเขตร0อน ประกอบด0วยส9วนต9าง ๆ ดังนี้
1. ศู น ย* ก ลางพายุ : มี เ ส0 น ผ9 า นศู น ย* ก ลางประมาณ
15-60 กิโลเมตร ความกดอากาศต่ำ
2. ตาพายุ : เป# น บริ เวณจุ ด ศู น ย* ก ลางของพายุ ท ี ่ ม ี ร ู ป ร9 า งรี
มีความกดอากาศต่ำที่สุด อุณหภูมิบริเวณนี้จะสูง
3. บริเวณรอบ ๆ พายุ (แขนของพายุ) : เป#นส9วนที่มีความเร็วลม
สูง ก9อให0เกิดเมฆและฝนอย9างรุนแรง
เราจะเรียกชื่อพายุไดbอยVางไร
เรียกตามบริเวณที่เกิด
ชื่อพายุ บริเวณที่เกิด
• ไตLฝุcน (Typhoon) ทะเลจีนใตLและมหาสมุทรแปซิฟhก
• ไซโคลน (cyclone) อ7าวเบงกอลและมหาสมุทรอินเดีย
• เฮอริเคน (Hurricane) มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ
ทะเลแคริบเบียนและอ7าวเม็กซิโก
• วิลลี-วิลลี (Willy-willy) ออสเตรเลียและนิวซีแลนดq
• บาเกียว (Baguio) ฟhลิปปhนสq
พายุหมุนเขตรVอนที่มีอิทธิพลตDอลมฟ^าอากาศของประเทศไทย
มีการแบ9งเกณฑ*ความรุนแรงของพายุตามข0อตกลงระหว9าง
ประเทศ โดยใช0ความเร็วลมใกล0ศูนย*กลางพายุเป#นเกณฑ* ดังนี้

ความเร็วลมสูงสุดใกลVศูนยRกลางของพายุ
ประเภท
กิโลเมตรตDอชั่วโมง นอต
พายุดีเปรสชัน < 63 < 34
พายุโซนรVอน 63-117 34-63
พายุไตVฝุ]น > 117 > 63

1 นอต = 1 ไมลlทะเลต&อชั่วโมง = 1.85 กิโลเมตรต&อชั่วโมง


เกณฑ+การตั้งชื่อพายุ

• หากพายุนั้นมีความเร็วลมสูงสุดใกลLศูนยqกลางของพายุมากกว7า 63 กิโลเมตร/
ชั่วโมง พายุลูกนั้นจะสามารถตั้งชื่อไดL
• ชื่อของพายุจะถูกเรียกตามคอลัมนqแรกที่ตัวบนสุด และจะวนต7อไปเรื่อย ๆ
จนถึงคอลัมนqสุดทLาย
• เมื่อเกิดพายุตัวต7อไปขึ้นและมีความเร็วลมใกลLเสLนที่กำหนด พายุลูกนั้นจะถูก
ใชLชื่อถัดลงมาจากคอลัมนqที่ 1
• เมื่อใชLจนหมดคอลัมนqแลLว พายุลูกต7อไปที่เกิดขึ้นจะใชLชื่อจากคอลัมนqที่อยู7
ถัดไป
• เมื่อใชLครบทั้ง 5 คอลัมนqแลLวใหLวนกลับมาใชLที่คอลัมนqแรกอีกครั้ง
เกณฑ+การตั้งชื่อพายุ

• ประเทศไทยตั้งอยู7ในโซนมหาสมุทรแปซิฟhกตะวันตกตอนบนและทะเลจีนใตL
ร7วมกับประเทศสมาชิกอื่น ๆ ไดLแก7 จีน เกาหลีเหนือ เกาหลีใตL กัมพูชา ญี่ปุcน
ลาว มาเกzา มาเลเซีย ไมโครเนีย ฟhลิปปhนสq สหรัฐฯ และเวียดนาม ซึ่งจะแบ7ง
พายุเปaน 5 กลุ7ม กลุ7มละ 28 ชื่อ โดยจะเริ่มจากอักษรภาษาอังกฤษ เริ่มจาก
ประเทศกัมพูชาเปaนประเทศแรก และปhดทLายดLวยประเทศเวียดนามเปaน
ประเทศสุดทLาย
ตาพายุ

ทิศทางของลมพายุในซีกโลกภาคเหนือพัดเข/าหาศูนยlกลางในทิศทวนเข็มนา‚ิกา
และจะมีทิศเข/าสู&ศูนยlกลางในทิศตามเข็มนา‚ิกาในซีกโลกภาคใต/
ตาพายุ

ไซโคลนในซีกโลกเหนือ
พายุฝนฟ;าคะนองในระยะใดส@งผลกระทบมากที่สุด
เพราะเหตุใด ? หน8า 166
เหตุใดอากาศที่มีความชื้นเมื่อลอยตัวสูงขึ้นสู@บริเวณที่
มีอุณหภูมิต่ำกว@า จึงเกิดการควบแน@นเปSนละอองน้ำ ?
หน8า 166
พายุลดกำลังลงหรือสลายตัวเมื่อเคลื่อนที่เข8าสู@แผ@นดิน
หรือบริเวณอุณหภูมิต่ำกว@า 26-27 °C ได8อย@างไร ?
หน8า 168
บริเวณขั้วโลกเกิดพายุหมุนเขตร8อนได8หรือไม@ เพราะ
เหตุใด ? หน8า 168
พายุฝนฟ;าคะนองและพายุหมุนเขตร8อน พายุชนิดใด
ก@อให8เกิดความเสียหายมากกว@ากัน เพราะเหตุใด ?
หน8า 170
พายุหมุนเขตร8อนก@อตัวได8ในทุกพื้นที่ทั้งในเขตอบอุ@น
หรือเขตหนาว ข8อความนี้กล@าวถูกหรือผิดอย@างไร ?

You might also like