You are on page 1of 22

เมฆ (Cloud) และฝน (rain)

By
Ukrit Chaimongkon
Demonstration School University of
Phayao
เมฆ (Cloud) และฝน (rain)
 เมฆ คือ อนุภาคน้ำหรื อผลึกน้ำแข็งขนาดเล็กลอยอยู่ใน
อากาศ ประกอบไปด้ วย
 น้ำหรือน้ำแข็ง หรือ น้ำและน้ำแข็ง
 เมฆเกิดจาการกลั่นตัวของไอน้ำขณะลอยตัวขึน้ และเย็นลง
“สิ่งทีช่ ่ วยให้ ไอน้ำกลั่นตัวเป็ นก้ อนเมฆ คือ ฝุ่ นผงเล็ก ๆ
หรื อเกลือในบรรยากาศ”
ชนิดของเมฆ
 เมื่อใช้ ความสูงของฐานเมฆเป็ นเกณฑ์ สามารถแบ่ งเมฆได้ เป็ น 4 ประเภท
ดังนี ้
- เมฆชัน้ สูง (High Could) มีความสูงของฐานเมฆ 7,000 – 10,000
m มียอดสูงไม่ แน่ นอน เช่ น
1. เมฆซีร์รัส (Cirrus)
2. เมฆซีร์โรคิวมูลัส (Cirrocumulus)
3. เมฆซีร์โรสเตรตัส (Cirrostratus)
มีความสูงของฐานเมฆ 7,000 – 10,00 m

ภาพ 1 แสดงกลุ่มเมฆชัน้ สูง (High Cloud)


ชนิดของเมฆ
-เมฆชัน้ ต่ำ (Low Could) มีความสูงของฐานเมฆ 2,000 m มีความสูงยอด
เมฆ 6,000 m เช่ น

1. เมฆอัลโตคิวมูลัส (Altocumulus)
2. เมฆอัลโตสเตรตัส (Altostratus)
ความสูงของฐานเมฆ 2,000 m

ภาพ 2 แสดงกลุ่มเมฆชัน้ กลาง (Medium Cloud)


ชนิดของเมฆ
-เมฆชัน้ ต่ำ (Low Could) มีความสูงของยอดเมฆ 2,000 m เช่ น

1. เมฆสเตรตัส (Stratus)
2. เมฆสเตรโตคิวมูลัส (Stratocumulus)
3. เมฆนิมโบสเตรตัส (Nimbostratus)
ความสูงของยอดเมฆ 2,000 m

ภาพ 3 แสดงกลุ่มเมฆชัน้ ต่ำ (Low Cloud)


ชนิดของเมฆ
-เมฆที่ก่อตัวในแนวตัง้ (Vertical development cloud) มี ความสูงของเมฆ
เฉลี่ย 500 m (ความสูงของยอดเมฆเฉลี่ยถึงระดับเมฆซีร์รัส) เช่ น

1. เมฆคิวมูลัส (Cumulus)
2. เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)
ภาพ 4 แสดง เมฆที่ก่อตัวในแนวตัง้ (Vertical development cloud)
เมฆ (Cloud)
เมฆนัน้ แบ่ งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ แบบเป็ นชัน้ (layered) ใน
แนวนอน และ แบบลอยตัวสูงขึน้ (convective) ในแนวตัง้ โดยจะ
มีช่ ือเรี ยกว่ า สเตรตัส (stratus ซึ่งหมายถึงลักษณะเป็ นชัน้ ) และ
คิวมูลัส (cumulus ซึ่งหมายถึงทับถมกันเป็ นกอง) ตามลำดับ
นอกจากนีแ้ ล้ วยังมีคำที่ใช้ ในการบอกลักษณะของเมฆอีกด้ วย
สเตรตัส (stratus) หมายถึง ลักษณะเป็ นชั้น
คิวมูลัส (cumulus) หมายถึง ลักษณะเป็ นกองสุม
ซีร์รัส (cirrus) หมายถึง ลักษณะเป็ นลอนผม หรือ เป็ นริ้ว ๆ คล้ ายขนสัตว์
นิมบัส (nimbus) หมายถึง ฝน
เมฆ (Cloud)
เมฆซีร์โรสเตรตัส ทำให้ เกิดดวงอาทิตย์ ทรงกรด หรื อดวง
จันทร์ ทรงกรด
ดวงอาทิตย์ ทรงกรด หรือดวงจันทร์ ทรงกรด เกิดจาก แสง
อาทิตย์ หรื อแสงจันทร์ ส่องมากระทบกับเกล็ดน้ำแข็งในเมฆ
ซีร์โรสเตรตัสในมุมทีเ่ หมาะสม ทำให้ เกิดการหักเหของแสง
ทำให้ เกิดรุ้ งรอบดวงอาทิตย์ หรือดวงจันทร์ มักเกิดในวันที่
อากาศปรอดโปร่ ง
เมฆ (Cloud)
เมฆเมฆนิมโบสเตรตัส (Nimbostratus) ทำให้ เกิด ฝนพรำ
ๆ ต่ อเนื่องเป็ นเวลานาน
เมฆ (Cloud)
เมฆเมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) ทำให้ เกิด ฝน
ตกหนัก ลมแรง เกิดพายุฟ้าคะนอง
ส่ วนประกอบของเมฆในแต่ ละระดับ
เมฆที่อยู่ในระดับสูง (ตัง้ แต่ 6000 m ขึน้ ไป) ประกอบไป
ด้ วยผลึกน้ำแข็งเกือบทั้งหมด
 เมฆที่อยู่ในระดับปานกลาง (ตัง้ แต่ 2000-6000 m) ประกอบไป
ด้ วยผลึกน้ำแข็งและอนุภาคของน้ำ
 เมฆที่อยู่ในระดับต่ำ (ตัง้ แต่ 0-2000 m ) ประกอบไปด้ วยอนุภาค
ของน้ำเกือบทั้งหมด
ลักษณะของเมฆแต่ ละชนิดทำให้ ทราบถึง
แนวโน้ มลักษณะของสภาวะอากาศที่จะเกิดขึน้ ล่ วง
หน้ าเช่ น
ถ้ าเมฆในท้ องฟ้ามีเมฆคิวมูโลนิมบัส จะหมาย
ถึงการเกิดพายุฟ้าคะนอง จะทำให้ เกิดฝน
ตกหนัก มีฟ้าแลบ ฟ้าร้ อง ฟ้าผ่ า เมฆชนิดนี เ้ ป็ น
อันตรายกับเครื่องบินขนาดเล็ก
นักอุตุนิยมวิทยาใช้ ปริมาณเมฆในท้ องฟ้า บอกสภาพอากาศ
ดังนี ้ ลักษณะท้ องฟ้า ปริมาณเมฆ
1. ท้ องฟ้าแจ่ มใส ไม่ มีเมฆ หรือมีน้อยกว่ า 1 ส่ วน
2. ท้ องฟ้าโปร่ ง มากกว่ า 1/10 ส่ วนแต่ ไม่ เกิน 3/10 ส่ วน
3. เมฆบางส่ วน มากกว่ า 3/10 ส่ วนแต่ ไม่ เกิน 5/10 ส่ วน
4. เมฆเป็ นส่ วนมาก มากกว่ า 5/10 ส่ วนแต่ ไม่ เกิน 8/10 ส่ วน
5. เมฆมาก มากกว่ า 8/10 ส่ วนแต่ ไม่ เกิน 9/10 ส่ วน
6. เมฆเต็มท้ องฟ้า 10/10 ส่ วน

• ละอองน้ำในเมฆมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลางประมาณ 20 ไมโครเมตร


• หยดน้ำฝนมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลางประมาณ 2000 ไมโครเมตร
ดังนัน้ หยดน้ำฝนมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลางเป็ น 100 เท่ าของ ละอองน้ำ
น้ำฟ้า

• คือ ฝน หิมะ หรื อลูกเห็บที่ตกลงมา เกิดจากอนุภาคน้ำหรื อเกร็ดน้ำ


แข็งในเมฆที่มีขนาดใหญ่ ขึน้ และมีความหนาแน่ นมากขึน้ จนอากาศ
ไม่ สามารถอุ้มน้ำหรื อน้ำแข็งไว้ ในเมฆได้ น้ำฟ้าที่ตกมาในเมืองไทย
ส่ วนใหญ่ คือ ฝน แต่ บางครั ง้ จะมีลูกเห็บตกลงมาด้ วย
* หมอก น้ำค้ าง น้ำค้ างแข็งไม่ ใช่ หยาดน้ำฟ้า เพราะไม่ ได้ ตกลงมาจาก
บรรยากาศ

* ในประเทศไทยมีปริมาณฝนเฉลี่ยมากที่สุดในเดือนกันยายน และน้ อยสุดใน


เดือนกุมภาพันธ์
ลูกเห็บ
• คือ ฝนที่ตกลงมาแล้ วถูกลมพัดกลับไปในชัน้ บรรยากาศที่มีอุณหภูมิ
ต่ำ ทำให้ หยดน้ำฝนกลายเป็ นก้ อนน้ำแข็งแล้ ว ถูกลมหอบกลับขึน้
ไปอีกครั ง้ จนกว่ าลมจะหอบกลับขึน้ ไปไม่ ได้ จึงตกลงมาเป็ นลูกเห็บ
การวัดปริมาณน้ำฝน
• เมื่อเรานำภาชนะทรงกระบอกทีเ่ หมือนกัน แต่ มีขนาดต่ างกันไปวาง
รับน้ำฝน ณ ช่ วงเวลาเดียวกัน พบว่ า ความสูงของน้ำในภาชนะทั้ง
สองเกือบเท่ ากัน แต่ เมื่อพิจารณาปริมาตร พบว่ าภาชนะทรง
กระบอกทีม่ ีขนาดใหญ่ กว่ าจะมีปริมาณน้ำทีม่ ากกว่ า
เครื่องวัดปริมาณน้ำฝน
หน่ วยที่ใช้ วัดปริมาณน้ำฝน
คือ “มิลลิเมตร (mm)”
การวัดปริมาณน้ำฝน
• เกณฑ์ ในการวัดปริมาณน้ำฝนภายใน 24 hr เป็ นดังนี ้
ฝนตกเล็กน้ อย Slight rain มีปริมาณ 0.1 - 10 มิลลิเมตร
ฝนตกปานกลาง Moderate rain มีปริมาณ 10.1 - 35 มิลลิเมตร
ฝนตกหนัก Heavy rain มีปริมาณ 35.1 - 90 มิลลิเมตร
ฝนตกหนักมาก Very Heavy rain มีปริมาณ 90.1 มิลลิเมตร ขึน้ ไป
Thank you for Your Attention !

You might also like