You are on page 1of 5

บทความแผนกชางฝูงบิน 201 ประจำเดือน มิถุนายน 2565

เดือนมิถุนายนเขาสูฤดูฝน ขอใหกำลังพลแผนกชางทุกทานดูแลสุขภาพกันใหดีๆครับ โควิดยังอยู ไขหวัดก็


มี ไขเลือดออกก็ยังคงมีอยู ยังไงก็เฝาสังเกตุอาการตัวเองและคนที่เรารักใหมีสุขภาพแข็งแรงกันทุกคนนะครับ
เดือนนี้นำเสนอการดูเมฆครับ เพราะเรื่องของฝน ฟา อากาศ นับเปนเรื่องใกลตัว ยิ่งรูลวงหนา เราก็จะ
สามารถวางแผนและเตรียมตัวไดทัน ซึ่งวันนี้ เราสามารถเช็คพยากรณอากาศงายๆ จากหนาจอสมารทโฟน
แตทราบหรือไมวา แทนที่เราจะกมหนามองสมารทโฟนในมือ เรายังสามารถแหงนหนาขึ้นฟา มองกอนเมฆ
แลวทายสภาพอากาศดวยตัวเองไดดวย
แตกอนอื่น เราตองทำความเขาใจความหมายของ “เมฆ” กันใหไดกอน ซึ่ง "กอนเมฆ" ก็คือกลุมของ
ละอองน้ำขนาดเล็ก เกิดจากการควบแนนของหยดน้ำในอากาศ และที่เราเห็นวากอนเมฆเปนสีขาว
นั้น เนื่องจากหยดน้ำและผลึกน้ำแข็งที่อยูในเมฆชั้นสูงๆ และมีอุณหภูมิต่ำกวาจุดเยือกแข็ง มีพื้นผิวที่
สามารถสะทอนแสงได ตางจากไอน้ำหรือน้ำบริสุทธิ์ที่ไมสามารถมองเห็นได จึงทำใหเราเห็นเปนกอนสีขาว
หรือในบางครั้งก็มองเห็นกอนเมฆเปนสีเทา ซึ่งขึ้นอยูกับความหนาแนนของหยดน้ำในกอนเมฆนั้น ลักษณะ
กอนเมฆ แบงออกเปน 2 แบบ คือ "เมฆแบบกอน" จะเรียกวา เมฆคิวมูลัส (Cumulus) และ "เมฆแบบ
แผน" จะเรียกวา เมฆสตราตัส (Stratus) ซึ่งหากเมฆทั้ง 2 แบบลอยมาติดกัน จะเรียกวา เมฆสตราโต
คิวมูลัส (Stratocumulus) และเมื่อใดก็ตามที่มี "ฝน" เขามาเกี่ยวของ ชื่อเรียกจะเพิ่มคำวา "นิม
โบ" หรือ "นิมบัส" เขามาดวย โดยเปนไดทั้งขางหนาหรือขางหลังของลักษณะกอนเมฆ ยกตัวอยางเชน ถา
"ฝนตกปรอยๆ" เมฆจะเปนลักษณะเมฆแผน เรียกวา เมฆนิมโบสตราตัส แตเมื่อเกิด "ฝนฟา
คะนอง" เรียกวา เมฆคิวมูโลนิมบัส

ทั้งนี้เมฆสามารถแบงประเภทไดตามระดับความสูง ประกอบดวย 3 กลุม คือ


1. กลุมเมฆชั้นต่ำ ระดับความสูงของฐานเมฆต่ำกวา 2,000 เมตร หรือ 6,500 ฟุต
2. เมฆชั้นกลาง ระดับความสูงของฐานเมฆอยูที่ 2,000-6,000 เมตร หรือ 6,500-25,000 ฟุต
3. เมฆชั้นสูง ระดับความสูงของฐานเมฆตั้งแต 6,000 เมตรขึ้นไป หรือ 20,000 ฟุตขึ้นไป

เมฆทั้งสามกลุม แยกยอยดังนี้

• เมฆชั้นสูง

1.เมฆเซอรัส หรือซีรรัส (Cirrus) หากเห็นเมฆประเภทนี้บงบอกไดเลยวาวันนั้นลักษณะอากาศดี โดย


ลักษณะเปนเสนใยละเอียดสีขาว คลายปุยขนสัตวหรือเหลือมเปนมันเงา เกิดขึ้นเปนหยอมหรือแถบก็ได แต
จะไมมีเงาเมฆ เมฆชนิดนี้อาจทำใหเกิดปรากฏการณวงแสงรอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทร แตยังไมเต็มวง
ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

2.เมฆเซอโรคิวมูลัส หรือซีรโรคิวมูลัส (Cirrocumulus) เมฆลักษณะนี้ก็บงบอกลักษณะอากาศดี


เชนกัน ลักษณะเปนหยอม แผน หรือชั้นบางๆ สีขาว คลายเมฆกอนเล็กๆ มีทั้งที่อยูคิดกันและแยกกันเรียง
ตัวอยางเปนระเบียบ เมฆชนิดนี้อาจทำใหเกิดปรากฏการณวงแสงรอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทรทรง
กลด และปรากฏการณแถบสี หรือรุง

ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

3.เมฆเซอโรสเตรตัส หรือซีรโรสเตรตัส (Cirrostratus) เมฆลักษณะนี้ไมทำใหเกิดน้ำฟา มีลักษณะโปรงแสง


คลายมานบางๆ สีขาว หรือปุยขนสัตว สามารถมองเห็นขอบดวงอาทิตยผานเมฆนี้ไดอยางชัดเจน ไมมีเงา
เมฆ และทำใหเกิดปรากฏการณวงแสงรอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทรทรงกลด

ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

• เมฆชั้นกลาง
1.อัลโตคิวมูลัส (Altocumulus) เมฆนี้ไมทำใหเกิดน้ำฟา บงบอกวาลักษณะอากาศดี โดยเฉพาะหลังพายุ
ฝน มีลักษณะเปนกอนเล็กๆ เปนหยอม แผน หรือชั้น คลายเกล็ด กอนกลมหรือมวน มีทั้งสีเทาหรือทั้งสอง
สี บางครั้งอาจเห็นคลายปุยหรือฝา ซึ่งประกอบดวยละอองน้ำจำนวนมาก มักทำใหเกิดปรากฏการณวงแสง
รอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทรทรงกลด

ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

2.อัลโตสเตรตัส (Altostratus) เมื่อเห็นเมฆชนิดนี้อาจทำใหเกิดฝน หิมะ หรือลูกปรายน้ำแข็ง โดยจะมี


ลักษณะเปนปุย แผน หรือเนื้อเดียวกัน พบไดทั้งสีเทาหรือสีฟาออน อาจทำใหเมื่อมองดวงอาทิตยจะเห็นได
แบบสลัวๆ เหมือนมองผานกระจกฝา

ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

3.นิมโบสเตรตัส (Nimbostratus) เมฆแผนสีเทา เมื่อสังเกตเห็นเมฆชนิดนี้ มักจะเกิดฝนพรำ ระยะเวลา


ราว 2-3 ชั่วโมง ฝนตกแตแดดออก หรือทำใหเห็นสายฝนที่ตกลงมาจากฐานเมฆ แตยังไมมีพายุฝนฟา
คะนอง ลักษณะจะเปนเมฆสีเทา ซึ่งจะทำใหทองฟาดูสลัว เนื่องจากมีความหนาที่ทำใหบังดวงอาทิตยได
ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

• เมฆชั้นต่ำ

1.เมฆสเตรตัส หรือสตราตัส (Stratus) เมฆชนิดนี้มักเกิดขึ้นชวงเชา หรือหลังฝนตก และอาจทำใหเกิดฝน


ละอองขึ้นได ลักษณะเปนแผนบาง สีเทา ลอยเหนือพื้นไมมากนัก เชน เมฆปกคลุมยอดเขา เปนตน

ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

2.เมฆสเตรโตคิวมูลัส หรือสตราโตคิวมูลัส (Stratocumulus) ทำใหเกิดฝนตกเล็กนอย มักเกิดขึ้นในเวลาที่


อากาศไมดี ลักษณะเปนกอนลอยติดกันเปนแพ ไมมีรูปทรงที่ชัดเจน มีชองวางระหวางกอนเล็กนอย สีเทา
หรือคอนขางขาว แตก็มีสวนที่มืดครึ้มอยูดวย และอาจทำใหเห็นปรากฏการณดวงอาทิตยหรือดวงจันทรทรง
กลดไดเชนกัน และปรากฏการณแถบสี หรือรุง

ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

3.เมฆคิวมูลัส (Cumulus) เมฆชนิดนี้มี 2 ลักษณะ หากอยูเปนกอนเดี่ยวๆ ลักษณะปุกปุย กอตอใน


แนวตั้ง สีขาว สวนฐานเมฆจะมีสีเทา มีความหนาที่สามารถบดบังแวงจากดวงอาทิตยได หากเห็นลักษณะนี้
แสดงวาอากาศดี ประกอบกับทองฟามีสีฟาเขม แตเมื่อเริ่มจับตัวเปนกลุมกอนใหญขึ้นมา จะทำใหเกิดฝนฟา
คะนองขึ้นได ซึ่งอาจทำใหเกิดปรากฏการณทรงกลดและรุงได
ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

4.เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) หรือเมฆฝนฟาคะนอง ทำใหเกิดฝนฟาคะนอง ฝนตกหนัก ลม


กระโชกแรง หรือมีลูกเห็บ เปนเมฆที่มีขนาดใหญมาก กอนใหญ หนาทึบ กอตัวเปนแนวตั้งขึ้นไปสูง
มาก ฐานเมฆจะมืดครั้มมาก ปกคลุมพื้นที่ครอบคลุมไดทั้งจังหวัด

ที่มา : ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร

ที่มา : lesa.biz, ipst, cmmet.tmd,

You might also like