You are on page 1of 35

บรรยากาศ

1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30
1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30
1 2 3 4 5 6
7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18
19 20 21 22 23 24
25 26 27 28 29 30
บรรยากาศ
องค์ประกอบของอากาศ
อากาศเป็ นของผสมที่ประกอบด้ วยส่ วนประกอบหลักที่สาคัญดังต่ อไปนี้
1. แก๊ ส
 นั ก วิ ท ยาศาสตร์ แบ่ งบรรยากาศ
ออกเป็ นชั้ นๆ โดยใช้ เกณฑ์ ในการแบ่ ง
หลายรู ปแบบ เช่ น แบ่ งตามความ
แตกต่ างของอุณหภูมิ สมบัติของแก๊ ส
หรื อแบ่ งตามสมบัตทิ างอุตุนิยมวิทยา
 การแบ่ งชั้ นบรรยากาศโดย
ใช้ อุณหภู มิเป็ นเกณฑ์ มี 5
ชั้น
เอกโซสเฟี ยร์

เทอร์ โมสเฟี ยร์

เมโซสเฟี ยร์
สตราโทสเฟี ยร์

โทรโพสเฟี ยร์
1. Troposphere
• อยู่สูงจากผิวโลกขึน้ ไป10-12
กิ โ ลเมตร เป็ นชั้ น ที่ มี อ ากาศ
ร้ อยละ 80ของอากาศทั้งหมด
จึง เป็ นชั้ นที่ มีค วามหนาแน่ น
มากทีส่ ุ ด และใกล้ ผวิ โลกที่สุด โทรโพสเฟี ยร์
• ในชั้ นนี้จะเกิดปรากฏการณ์
ที่สาคัญ ๆ ได้ แก่ เมฆ ฝน หิมะ
พายุ
2. Stratosphere  อยู่ที่ระดับความสู งเหนื อชั้ น
โทรโพสเฟี ยร์ ขึ้ น ไปจนถึ ง
50 กิโลเมตรจากพืน้ โลก
 ในชั้นนีแ้ ทบจะไม่ มไี อนา้ เลย
 มีก๊าซโอโซนทีร่ ะยะสู ง
48 กิโลเมตร
 อุณหภูมส ิ ู งขึน้ ตามระดับ
สตราโทสเฟี ยร์ ความสู งเพราะมีก๊าซโอโซน
ดูดกลืนรังสี อุลตราไวโอเล็ต
จากดวงอาทิตย์ เอาไว้
ความสาคัญของบรรยากาศชั้น Stratosphere
• โอโซนในชั้นนีช้ ่ วยกรองแสง UV ที่
เป็ นอันตรายจาก ดวงอาทิตย์ ได้ ถึง
99% ทาให้ มนุษย์ รอดพ้นจากการ
เป็ นมะเร็งที่ผวิ หนังและการเป็ นต้ อ
ที่ดวงตา
• บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟี ยร์ มี
ความสงบ เครื่ องบินจึงนิยมบินใน
ตอนล่ างของบรรยากาศชั้นนี้ เพื่อ
สตราโทสเฟี ยร์ หลีกเลีย่ งสภาพอากาศทีร่ ุ นแรงใน
ชั้นโทรโพสเฟี ยร์
3. Mesosphere
 เป็ นชั้นทีอ
่ ยู่ถัดจากชั้นสตราโทส
เฟี ยร์ ขนึ้ ไปอีก 40 กิโลเมตร
 ชั้นนีม้ ีโอโซนน้ อยมาก
 ช่ วยป้ องกันวัตถุจากนอกโลกตก
มีโซสเฟี ยร์ มายังพืน้ โลก
4. Thermosphere
เทอร์ โมสเฟี ยร์  เป็ นชั้นทีอ
่ ยู่ระหว่ างความสู ง
90 - 800 กิโลเมตร
 มีอุณหภูมิสูงกว่ า 500 ºC
 การทีอ่ ุณหภูมิ สู งขึน้ ก็เพราะการ
ดูดกลืนรังสี UV โดย O2 และ N2
ซึ่งโมเลกุลส่ วนใหญ่ อยู่ในรู ปของ
อิออน
5. Exosphere
เอกโซสเฟี ยร์
 อยู่ในระดับความสู งจากผิวโลก
500 กิโลเมตรขึน้ ไป
 ไม่ มีแรงดึงดูดของโลก
 ดาวตกและอุกบาตรจะไม่ ลุกไหม้
ในชั้นนี้ เนื่องจากมีแก๊ สเบาบาง
มาก จนไม่ ถือว่ าเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของบรรยากาศ
ครูแจ็ค...ชี้แนะเทคนิคการจา
ชั้นบรรยากาศ สิ่ งที่เกิดขึน้
1. ชั้นโทรโพสเฟี ยร์ เกิดปรากฏการณ์ ทสี่ าคัญ ๆ ได้ แก่ เมฆ ฝน หิมะ พายุ
2. ชั้นสตราโทสเฟี ยร์ โอโซนในชั้นนีช้ ่ วยกรองแสง UV , ชั้นของเครื่ องบิน , สงบ
3. ชั้นมีโซสเฟี ยร์ มีโอโซนน้ อยมาก , ช่ วยป้ องวัตถุจากนอกโลกตกมาพืน้ โลก
4. ชั้นเทอร์ โมสเฟี ยร์ มีอุณหภูมสิ ู งกว่ า 500 ºC , ชั้นของยานอวกาศ , สะท้ อนคลื่น
5. ชั้นเอกโซสเฟี ยร์ บรรยากาศเบาบางมากจนไม่ ถือว่ าเป็ นส่ วนหนึ่งของ
บรรยากาศ

(โทร-สตรา-มี-เทอร์ -เอก) + (เมฆ-โซน-ตก-คลื่น-ไม่ )


-

ชื่ อเรียกระหว่ างช่ วงต่ อของแต่ ละชั้นบรรยากาศ


โดยใช้ อุณหภูมิเป็ นเกณฑ์
 บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟี ยร์ และ สตราโตสเฟี ยร์
เรียกว่ า “ โทรโพพอส ”
 บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟี ยร์ และ มีโซสเฟี ยร์
เรียกว่ า “ สตราโตพอส ”
 บรรยากาศชั้นมีโซสเฟี ยร์ และ เทอร์ โมสเฟี ยร์
เรียกว่ า “ มีโซพอส ”
ครูแจ็ค...ชี้แนะเทคนิคการจา
 บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟี ยร์ และ สตราโตสเฟี ยร์
เรียกว่ า “ โทรโพพอส ”
 บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟี ยร์ และ มีโซสเฟี ยร์
เรียกว่ า “ สตราโตพอส ”
 บรรยากาศชั้นมีโซสเฟี ยร์ และ เทอร์ โมสเฟี ยร์
เรียกว่ า “ มีโซพอส ”
 การแบ่ งชั้ นบรรยากาศโดย
ใช้ สมบัติของแก๊ ส มี 4 ชั้น
1. โทรโพสเฟี ยร์ (troposphere)
เป็ นชั้ น บรรยากาศที่อ ย่ ู ใ นระดับ ความสู ง
โดยเฉลี่ ย ประมาณ 10 กิ โ ลเมตร จาก
ระดับน้าทะเล ประกอบด้ วยส่ วนผสมของ
แก๊ สหลายชนิด และไอนา้ เป็ นส่ วนใหญ่
2. โอโซโนสเฟี ยร์ (ozonosphere)
เป็ นชั้ น บรรยากาศที่ อ ย่ ู เ หนื อ ระดั บ โทร
โพสเฟี ยร์ ขึ้นไป คื อในช่ วงระยะความสูง
10-50 กิโลเมตรจากระดับน้าทะเล มีแก๊ ส
โอโซนอยู่ อ ย่ า งหนาแน่ น ท าหน้ า ที่ ช่ วย
-

ดูดกลื นรั งสี อัลตราไวโอเลตที่มาจากดวง


อาทิตย์ ไว้
3. ไอโอโนสเฟี ยร์ (ionosphere)
เป็ นชั้ น บรรยากาศที่อ ย่ ู เ หนื อ ระดั บ โอโซ
โนสเฟี ยร์ ขนึ้ ไปประมาณ 50-600 กิโลเมตร
จากระดับน้าทะเลประกอบด้ วยอนุภาคที่มี
ประจุ ไ ฟฟ้ า ซึ่ ง เรี ย กว่ า ไอออน (ion)
สามารถสะท้ อนคลื่นวิทยุความถี่ไม่ สูงนัก
ได้
4. เอกโซสเฟี ยร์ (exosphere)
เป็ นบรรยากาศชั้ นนอกสุ ดของโลกมี
อากาศเบาบางมากส่ วนใหญ่ เป็ นก๊ า ซ
ไฮโดรเจนและฮีเลียม


ครูแจ็ค...ชี้แนะเทคนิคการจา
ชั้นบรรยากาศ สิ่ งที่เกิดขึน้
1. ชั้นโทรโพสเฟี ยร์ มีส่วนผสมของแก๊สหลายชนิด และไอนา้ เป็ นส่ วนใหญ่
2. ชั้นโอโซโนสเฟี ยร์ มีแก๊สโอโซนอยู่อย่ างหนาแน่ น
3. ชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ มีประจุไฟฟ้ า ซึ่งเรียกว่ า ไอออน (ion)
4. ชั้นเอกโซสเฟี ยร์ ชั้นนอกสุ ดของโลกมีอากาศเบาบางมาก

(โทร-โอ-ไอ-เอก) + (นา้ -โอ-ออน-บาง)


 การแบ่ งชั้ นบรรยากาศโดย
ใช้ สมบัติทางอุตุนิยมวิทยา
มี 5 ชั้น
1. บริเวณที่มีอทิ ธิพลของความฝื ด
จากพื้นผิวโลกขึน
้ ไปถึงระดับความสูงประมาณ
2 กิ โ ลเมตร บริ เ วณนี้ ก ารไหลเวี ย นของมวล
อากาศโครงสร้ างในชั้ น นี้ จ ะแปรเปลี่ ย นตาม
ความสั มพันธ์ ของการถ่ ายเทความร้ อนระหว่ าง
ผิวของโลกกับอากาศบริเวณนั้นๆ
2. โทรโพสเฟี ยร์ ช้ันกลาง และชั้นบน
เป็ นชั้ น บรรยากาศที่ มี ค วามฝื ดจะมี ผ ลต่ อ การ
ไหลเวียนของมวลอากาศน้ อยมาก อุณหภูมิช้ันนี้
จะลดลงอย่ า งสม่ า เสมอตามระดั บ ความสู งที่
เพิม่ ขึน้
อุณหภูมิ

ความสู ง
3. โทรโพพอส -

เป็ นชั้ น อากาศที่ อ ย่ ู ร ะหว่ า งโทรโพสเฟี ยร์ แ ละ


สตราโทสเฟี ยร์ เป็ นเขตของบรรยากาศที่
แบ่ งชั้นที่มไี อนา้ และไม่ มีไอนา้

ไอน้ า ไอน้ า ไอน้ า ไอน้ า


4. สตราโตสเฟี ยร์
มีลกั ษณะอากาศเหมือนกับสตราโทสเฟี ยร์ ที่แบ่ ง
โดยใช้ อณุ หภูมเิ ป็ นเกณฑ์
อุ ณ หภู มิ ช้ ั น นี้ จ ะเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งสม่ า เสมอตาม
ระดับความสูงที่เพิม่ ขึน้
ความสู ง อุณหภูมิ
5. บรรยากาศชั้นสูง
 เป็ นชั้ น ที่ อ ย่ ู เ หนื อสตราโตสเฟี ยร์ ถึงขอบนอก
สุ ดของบรรยากาศ
ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ
1.ช่ วยปรั บอุณหภูมิของโลกให้ เหมาะ
กั บ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ถ้ า ไ ม่ มี ชั้ น
บรรยากาศ กลางวั น โลกอุ ณ หภู มิ
110 องศาเซลเซี ยส กลางคื น
อุณหภูมิ -180 องศาเซลเซียส
ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ
2. ช่ วยป้ องกันอันตรายจากรั งสี
ต่ า ง ๆ จากดวงอาทิ ต ย์ เช่ น
รั ง สี อั ล ตร้ าไวโอเลต จะถู ก
โอโซนดูดซั บไว้ บางส่ วน ซึ่ ง
เป็ นสาเหตุให้ เซลล์ ผวิ หนังถูก
ท าลายและอาจท าให้ เป็ น
มะเร็งผิวหนังได้
ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ
3. ช่ วยป้ องกั น อั น ตรายจาก
อนุ ภ าคต่ า ง ๆที่ ม าจากนอก
โลก เช่ นอุกกาบาตหรื อสะเก็ด
จากดาวเคราะห์ ต่ า ง ๆ เป็ น
ต้ น

*
ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ
4. ส่ วนผสมของแก๊ สต่ าง ๆ ในอากาศ
ช่ วยให้ เกิดกระบวนการบางอย่ างที่
จ า เ ป็ น ต่ อ ก า ร ด า ร ง ชี วิ ต ข อ ง
สิ่ ง มี ชี วิ ต เช่ นแก๊ ส ออกซิ เ จนเป็ น
แก๊ สที่ใช้ ในกระบวนการหายใจของ
สิ่ ง มี ชี วิ ต และช่ วยให้ ไฟติ ด แก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ เป็ นแก๊ สที่ใช้ ใน
กระบวนการสั ง เคราะห์ ด้ ว ยแสง
ของพืช

You might also like