You are on page 1of 61

Introduction to Earthquake Engineering

FACULTY OF ENGINEERING
CHULALONGKORN UNIVERSITY
Content
• ภาพเหตุการณ์แผ่นดินไหวในอดีต
• สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว
• กลไกของแผ่นดินไหว
• คลื่นแผ่นดินไหว และคลื่นสึนามิ
• ขนาดของแผ่นดินไหว และความถี่บ่อย
• ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง
• แผ่นดินไหวในประเทศไทย
• กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ภาพเหตุการณ์ในอดีต

Chi-Chi Earthquake, Taiwan 1999, 7.6 Richter


ภาพเหตุการณ์ในอดีต

Kobe Earthquake, JAPAN 1995, 6.9 Richter (20 km)


ภาพเหตุการณ์ในอดีต

Tohoku Earthquake, JAPAN 2011 9.0 Richter (150 km)


สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างกระจัดกระจาย
เท่ากันในทุกที่บนพื้นโลก หากแต่พบว่าเกิดถี่มาก
เฉพาะในแนวหรือบริเวณที่จากัด

ปัจจุบันเชื่อกันว่าเกิดมาจาก 2 สาเหตุหลักคือ
1. แผ่นดินไหวที่เกิดจากธรรมชาติ
2. แผ่นดินไหวที่เกิดจากมนุษย์

ข้อมูลแผ่นดินไหวบริเวณประเทศไทย พ.ศ. 2455-2550


กลไกของแผ่นดินไหว
แกนในเปลือกโลกไม่ใช่หินหรือโลหะแข็งทั้งหมด
กลไกของแผ่นดินไหว

ยุคดึกดาบรรพ์
กลไกของแผ่นดินไหว

Plate Tectonic
กลไกของแผ่นดินไหว

Plate Boundary
กลไกของแผ่นดินไหว
รอยเลื่อน (Faults) คือรอยแตกที่พบในชั้นเปลือกโลก ซึ่งแสดงถึง
การเคยเลื่อนตัวสัมพัทธ์กันของแผ่นโลก 2 ข้างรอยเลื่อนนั้น โดยที่
การเลื่อนตัวดังกล่าวอาจอยู่ในแนวดิ่ง แนวนอน หรือทั้งสองแนว
ร่วมกันก็ได้ และไม่จาเป็นที่ทุกรอยเลื่อนจะต้องมีการเคลื่อนตัวอีกใน
อนาคต จะนิยามเป็น Active เมื่อคาบการเกิดน้อยกว่า 10,000 ปี

1. รอยเลื่อนปกติ (Normal Faults)


2. รอยเลื่อนย้อน (Reverse Faults)
3. รอยเลื่อนตามแนวระดับ (Strike-Slip Faults)
กลไกของแผ่นดินไหว

รอยเลื่อนปกติ (Normal Faults) รอยเลื่อนย้อน (Reverse Faults)

geothai.net
กลไกของแผ่นดินไหว

รอยเลื่อนตามแนวระดับ (Strike-Slip Faults)


geothai.net
กลไกของแผ่นดินไหว
การขุดสารวจรอยเลื่อน (Trenching)
กลไกของแผ่นดินไหว
ตัวอย่างรอยเลื่อนปกติที่ จ.เชียงราย
กลไกของแผ่นดินไหว
ตัวอย่างแผนที่รอยเลื่อน จ.กาญจนบุรี
คลื่นแผ่นดินไหว
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter)
คลื่นแผ่นดินไหว
Seismic Waves
การกระจายพลังงานของแผ่นดินไหว จะส่งผ่านชั้นหินและดินไปในทุก
ทิศทาง (3D radiation) จากจุดศูนย์กลางของการเกิดแผ่นดินไหว ใน
ลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหว(คลืน่ สัน่ สะเทือน) โดยเป็นการผสมระหว่างคลื่น
3 ลักษณะคือ
คลื่นแผ่นดินไหว
คลื่นอัด
5,800 m/s
P-Wave

คลื่นเฉือน 3,000 m/s


S-Wave

คลื่นพื้นผิว
2,700 m/s
R-Wave
คลื่นสึนามิ
คลื่นสึนามิ
ระดับความรุนแรง (Intensity)
เป็นค่าแสดงความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น โดยวัดจาก
ความรู้สึกของผู้คน ความเสียหายของอาคารบ้านเรือนหรือการ
เปลี่ยนแปลงของพื้นดินที่สังเกตุ ได้ มาตราที่นิยมใช้กันคือ
Modified Mercalli Intensity Scale ซึ่งแบ่งระดับชั้นของ
ความรุนแรงออกเป็น 12 ระดับแทนด้วยอักษรโรมันจาก I ถึง XII
โดยมีตั้งแต่ระดับที่คนไม่สามารถรู้สึกได้ (I) จนถึงระดับที่รุนแรง
มากจนสิ่งปลูกสร้างพังทลายจนหมดสิ้น (XII)
ระดับความรุนแรง
ขนาดของแผ่นดินไหว (Magnitude)
เป็นค่าการตรวจวัดพลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมา ณ จุดกาเนิด
แผ่นดินไหวในรูปแบบของการสั่นสะเทือน การระบุขนาดของ
แผ่นดินไหวนิยมใช้มาตราริคเตอร์ (Richter scale) ตาม
มาตรฐาน ML ซึ่งแทนค่าขนาดของแผ่นดินไหวด้วยตัวเลข โดย
คานวณจากค่าระยะการเคลื่อนตัวสูงสุดของชั้นดินและช่วงเวลา
การแยกคลื่นแผ่นดินไหว P และ S-wave ซึ่งบันทึกได้ด้วย
อุปกรณ์ตรวจจับแผ่นดินไหว (Seismometer)
ขนาดของแผ่นดินไหว
Richter scale
 A
M log10  
 A0 
where
A  Amplitude at 100 km distance
A0  0.001 mm

Because of the logarithmic basis :


- Force is about 10 times
- Energy is about 30 times
พลังงานของแผ่นดินไหว
จุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว
ขนาดของแผ่นดินไหวและความถี่บ่อย
ข้อมูลบันทึกแผ่นดินไหว 1990-2013
ขนาดของแผ่นดินไหวและความถี่บ่อย
ข้อมูลบันทึกแผ่นดินไหว 2000 - 2020

Magnitude 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020

8.0+ 1 1 0 1 2 1 2 4 0 1 1 1 2 2 1 1 0 1 1 1 0

7–7.9 14 15 13 14 14 10 9 14 12 16 23 19 12 17 11 18 16 6 16 9 9

6–6.9 146 121 127 140 141 140 142 178 168 144 150 185 108 123 143 127 130 104 117 135 112

5–5.9 1344 1224 1201 1203 1515 1693 1712 2074 1768 1896 2209 2276 1401 1453 1574 1419 1550 1455 1674 1492 1312

Estimated
231 21357 1685 33819 298101 87992 6605 708 88708 1790 226050 21942 689 1572 756 9624 1297 1012 4535 244 NA
Deaths

https://www.usgs.gov/natural-hazards/earthquake-hazards/lists-maps-and-statistics
ขนาดของแผ่นดินไหวและความถี่บ่อย
ขนาดของแผ่นดินไหวและความถี่บ่อย
ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง
รุนแรงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปัจจัย
1. ขนาดของแผ่นดินไหว
2. ความลึกของจุดกาเนิด
3. ระยะห่างจากจุดศูนย์กลาง
4. ชั้นดินใต้สิ่งปลูกสร้าง
5. ความแข็งแรงของอาคาร
6. ความถี่ธรรมชาติของอาคาร
ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง

Taiwan 1999 Thailand 2014


ขนาด 7.6 เสียชีวิต 2,375 คน ขนาด 6.3 เสียชีวิต 1 คน
ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง
ระยะห่างจากจุดศูนย์กลาง
ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง
ชั้นดินใต้สิ่งปลูกสร้าง
ผลกระทบต่อสิ่งปลูกสร้าง
ปัจจัยความถี่ธรรมชาติของอาคาร

Mexico City (1985): Only buildings with 6-20 stories were seriously damaged
แผ่นดินไหวในประเทศไทย
ข้อมูลแผ่นดินไหว
บริเวณประเทศไทย
พ.ศ. 2455-2550
แผ่นดินไหวในประเทศไทย
กลุ่มรอยเลื่อนมีพลัง 14 กลุ่ม
1. แม่จัน
2. แม่อิง
3. แม่ทา
4. พะเยา
5. ปัว
6. แม่ฮ่องสอน
7. อุตรดิตถ์
8. เถิน
9. เพชรบูรณ์
10. เมย
11. ศรีสวัสดิ์
12. เจดีย์สามองค์
13. ระนอง
14. คลองมะรุ่ย
แผ่นดินไหวในประเทศไทย
ตัวอย่าง
แผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
ของประเทศไทย
กฎหมายเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร (2522), ฉบับที่ 2 (2535) และฉบับที่ 3 (2543)
o กฎกระทรวงฉบับที่ 6 (2527)
กาหนดน้าหนักบรรทุกขั้นต่าในอาคาร แต่ไม่บังคับให้คานึงถึงแรงแผ่นดินไหว
o กฎกระทรวงฉบับที่ 49 (2540)
บังคับให้คานึงถึงแรงแผ่นดินไหว ในพื้นที่ภาคเหนือและตะวันตก
o กฎกระทรวงกาหนดการรับน้าหนัก ฯลฯ (2550)
บังคับให้คานึงถึงแรงแผ่นดินไหว เพิ่มบางพื้นที่ เช่น กทม. และปริมณฑล
o กฎกระทรวงกาหนดการรับน้าหนัก ฯลฯ (2564)
บังคับให้คานึงถึงแรงแผ่นดินไหว เพิ่มบางพื้นที่ เช่น ภูเก็ต กาแพงเพชร
ภาพรวมกฎหมายเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
ลักษณะการบังคับควบคุม สิ่งปลูกสร้างในบังคับ
2527 กาหนดน้าหนักบรรทุกขั้นต่า + ไม่คานึงแรงแผ่นดินไหว อาคารทุกประเภท
2540 เขตภาคเหนือ + ตะวันตก (9 จังหวัด) อาคารสาธารณะ/ชุมนุมคน/สาคัญ/จาเป็น
อาคารอันตราย/อาคารสูง (15ม.)
รุนแรง: เขตภาคเหนือ + ตะวันตก (9 จังหวัด) อาคารสาธารณะ/ชุมนุมคน/สาคัญ/จาเป็น
ปานกลาง: กรุงเทพฯ + ปริมณฑล (5 จังหวัด) อาคารอันตราย/สนามกีฬา/สถานศึกษา
2550
เฝ้าระวัง: เขตภาคใต้ (7 จังหวัด) ศูนย์การค้า/โรงแรม/อาคารสูง (15ม.)

อาคารสาธารณะ/ชุมนุมคน/สาคัญ/จาเป็น
รุนแรง: เขตภาคเหนือ + ตะวันตก (12 จังหวัด) อาคารอันตราย/สนามกีฬา/สถานศึกษา
2564 ปานกลาง: กรุงเทพฯ + กลาง + ใต้ (17 จังหวัด) ศูนย์การค้า/โรงแรม/อาคารชุด/หอพัก
เฝ้าระวัง: เขตภาคใต้+อีสาน+กลาง (14 จังหวัด) อาคารจอดรถ/อาคารสูง (15ม.)
กฎหมายเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
กฎหมายเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อน
1. แผ่นดินไหวเกิดบ่อยขึ้น ?
2. สามารถเกิดแผ่นดินไหวขนาดมากกว่า 10 ?
3. แผ่นดินไหวสามารถทานายได้ ?
4. เกิดแผ่นดินไหวแล้วจะไม่เกิดอีก ?
5. แผ่นดินไหวเล็กจะกระตุ้นแผ่นดินไหวใหญ่ ?
6. มนุษย์สามารถสร้างแผ่นดินไหวได้ ?
7. มนุษย์สามารถหยุดแผ่นดินไหวได้ ?
8. อาคารที่ออกแบบรับแผ่นดินไหวจะไม่เสียหาย ?
Earthquake Evaluation
of Buildings
งานรวบรวมข้อมูลอาคาร

ศึกษารวมรวมข้อมูลแบบแปลนอาคาร แบบรายละเอียดโครงสร้าง และแปลนการใช้งาน


งานรวบรวมข้อมูลอาคาร
ข้อมูลของอาคาร
• ระบบโครงสร้างของอาคาร • สร้างแบบจาลองของอาคาร
• ลักษณะอาคาร • การประมาณน้าหนักบรรทุก
• พื้นที่ • คานวณความเสียหาย
• ลักษณะการใช้สอย
งานทดสอบกาลังวัสดุก่อสร้าง
งานทดสอบพฤติกรรมอาคาร

Vibration Sensor
งานจาลองคลื่นแผ่นดินไหว
กาญจนบุรี กรุงเทพมหานคร
6.0-7.0 ริคเตอร์

คลื่นแผ่นดินไหวจาลอง 15 คลื่น
นิยามสมรรถนะของอาคาร (Seismic Performance) -- ระดับ IO (อยู่อาศัยต่อได้)

IO IO

IO IO CP+ (Collape)

Chi-Chi Earthquake, Taiwan 7.6 Richter (1999)


นิยามสมรรถนะของอาคาร (Seismic Performance) -- ระดับ LS (ชีวิตปลอดภัย)

LS
LS

IO

Bologna, Italy Earthquake 6.2 Richter (2012), 35 km away


นิยามสมรรถนะของอาคาร (Seismic Performance) -- ระดับ CP (ใกล้ถล่ม)

CP CP

Beichuan Earthquake, China 7.9 Richter (2008)


วิเคราะห์อาคารรับแผ่นดินไหว

ตัวอย่างผลการวิเคราะห์อาคาร ทาให้ทราบรูปแบบการวิบัติเสียหาย
งานประเมินความสูญเสียและเสี่ยงภัย

เสียหายระดับวิบัติ
มีโอกาสสูญเสียชีวิต เสียหายระดับรุนแรง
มีโอกาสบาดเจ็บแต่ไม่ถึงชีวิต

เสียหายระดับปานกลาง
ไม่เสี่ยงต่อการบาดเจ็บ

IO LS CP
ผลการประเมินเชิงพฤติกรรมของโครงสร้างอาคารที่ 2 ชัน้ ที่ 9
ตัวอย่างผลประเมินความสูญเสียในแต่ละชั้นของอาคาร
ภายใต้แผ่นดินไหวรุนแรงระดับ 1
งานประเมินความสูญเสียและเสี่ยงภัย
แผ่นดินไหวรุนแรงระดับ 1
ประมาณการมูลค่าความเสียหาย (ล้านบาท)
สูญเสียชีวติ
อาคาร
โครงสร้างอาคาร รอยร้าวในคาน ค่าเช่าออฟฟิ ศ เสียหายรวม (จานวนคน)
อาคาร 1 70.6 9.1 334.4 414.1 0
อาคาร 2 139.0 6.0 401.2 546.2 10
อาคาร 6 87.2 0.3 0.0 87.5 10

แผ่นดินไหวรุนแรงระดับ 2
ประมาณการมูลค่าความเสียหาย (ล้านบาท)
สูญเสียชีวติ
อาคาร
โครงสร้างอาคาร รอยร้าวในคาน ค่าเช่าออฟฟิ ศ เสียหายรวม (จานวนคน)
อาคาร 1 560.2 18.2 1,337.6 1,915.8 30
อาคาร 2 205.2 12.0 902.7 1,119.9 20
อาคาร 6 194.4 0.6 0.0 195.0 15

หมายเหตุ : ค่าเสียหายข้างต้นไม่รวมถึงความสูญเสียเชิงธุรกิจ
งานเสนอแนวทางป้องกัน/ลดผลกระทบ

เสนอแนะแนวทางเสริมความแข็งแรงอาคาร และงบประมาณที่ใช้

You might also like