You are on page 1of 19

กฎกระทรวง

ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและพื้นดิน
ที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคาร
และพื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือน
ของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

Department of Public Works and Town & Country Planning


1
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร และพื้นดินที่รองรับอาคาร
ในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
พ.ศ. ๒๕๕๐

อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ (๓) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร


พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๘ (๓) แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัตค ิ วบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๓ อันเป็นกฎหมายทีม
่ บ
ี ทบัญญัตบ
ิ างประการ
เกี่ยวกับการจ�ำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓
มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๒ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท�ำได้
โดยอาศัยอ�ำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยค�ำแนะน�ำของ
คณะกรรมการควบคุมอาคารออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ให้ยกเลิ กกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๙ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความ


ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒

ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้

“บริ เ วณเฝ้า ระวั ง ” หมายความว่า พื้ น ที่ ห รื อ บริ เ วณที่ อ าจได้รั บ ผลกระทบ
จากแผ่นดินไหว ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง
จังหวัดสงขลา และจังหวัดสุราษฎร์ธานี

“บริเวณที่ ๑” หมายความว่า พื้นที่หรือบริเวณที่เป็นดินอ่อนมากที่อาจได้รับ


ผลกระทบจากแผ่นดินไหวระยะไกล ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี
จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดสมุทรสาคร

“บริเวณที่ ๒” หมายความว่า พื้นที่หรือบริเวณที่อยู่ใกล้รอยเลื่อนที่อาจได้รับ


ผลกระทบจากแผ่นดินไหว ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก
จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดล�ำปาง และจังหวัดล�ำพูน

ข้อ ๓ กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บังคับในบริเวณและอาคารดังต่อไปนี้

(๑) บริเวณเฝ้าระวังและบริเวณที่ ๑

(ก) อาคารที่จ�ำเป็นต่อความเป็นอยู่ของสาธารณชน เช่น สถานพยาบาล


ทีร่ บ
ั ผู้ปว่ ยไว้ค้างคืน สถานีดบ
ั เพลิง อาคารศูนย์บรรเทาสาธารณภัย อาคารศูนย์สอ
่ื สาร ท่าอากาศยาน
โรงไฟฟ้า โรงผลิตและเก็บน�้ำประปา

(ข) อาคารเก็ บ วั ต ถุ อั น ตราย เช่น วั ต ถุ ร ะเบิ ด วั ต ถุ ไ วไฟ วั ต ถุ มี พิ ษ


วัตถุกัมมันตรังสี หรือวัตถุที่ระเบิดได้

กรมโยธาธิการและผังเมือง
2
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

Ministerial Regulation
Prescribing load capacity, resistance, and durability of buildings, and
bearing capacity of soil supporting buildings in seismic resistance
B.E. 2550

By virtue of provision in Section 5(3) and Section 8(3) of the


Building Control Act, B.E. 2522 amended by the Building Control Act (No. 3), B.E.
2543 of which comprise of provision concerning restrictions of rights and liberty
of person, which shall be exercised by the provision of law in accordance with
Section 29 in conjunction with Section 32, Section 33, Section 41, Section 42,
and Section 43 of the Constitution of the Kingdom of Thailand, the Minister of
Interior, by advice of the Building Control Committee, issues the Ministerial
Regulation as follows:

Clause 1: Ministerial Regulation No. 49 (B.E. 2540), issued by


virtue of the Building Control Act, B.E. 2522, shall be repealed.

Clause 2: In this Ministerial Regulation,

“earthquake watch area” means an area or zone which may be


affected by the earthquake, including Krabi, Chumphon, Phangnga, Phuket, Ranong,
Songkhla and Surat Thani provinces;

“Zone 1” means an area or zone of very soft soil that could be


affected by a long-distance earthquake, including Bangkok, Nonthaburi,
Pathum Thani, Samut Prakan, and Samut Sakhon provinces; and

“Zone 2” means an area or zone near fault line that could be


affected by earthquake, including Kanchanaburi, Chiang Rai, Chiang Mai, Tak, Nan,
Phayao, Phrae, Mae Hong Son, Lampang, and Lamphun provinces.

Clause 3: This Ministerial Regulation shall apply to the following


areas and buildings.

(1) Earthquake watch area and Zone 1.

(a) Essential public facilities such as, healthcare center,


fire station, mitigation center, communication center, airport, power plants, and
water treatment and distribution facilities.

(b) Buildings used as storage of hazardous substances such


as, explosive substance, flammable substance, toxic substance,
radioactive materials, explosible substances.

Department of Public Works and Town & Country Planning


3
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

(ง) สถานศึกษาที่รับนักเรียนหรือนักศึกษาได้ตั้งแต่สองร้อยห้าสิบคน
ขึ้นไป
(จ) สถานรับเลี้ยงเด็กอ่อนที่รับเด็กอ่อนได้ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป

(ฉ) อาคารที่มีผู้ใช้อาคารได้ตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไป

(ช) อาคารที่มีความสูงตั้งแต่สิบห้าเมตรขึ้นไป

(ซ) สะพานหรือทางยกระดับที่มีช่วงระหว่างศูนย์กลางตอม่อ
ยาวตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป

(ฌ) เขื่อนเก็บกักน�้ำ เขื่อนทดน�้ำหรือฝายทดน�้ำ ที่ตัวเขื่อนหรือ


ตัวฝายมีความสูงตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป

(๒) บริเวณที่ ๒

(ก) อาคารที่จ�ำเป็นต่อความเป็นอยู่ของสาธารณชน เช่น สถานพยาบาล


ที่ รั บ ผู ้ป ่ว ยไว้ ค้า งคื น สถานี ดั บ เพลิ ง อาคารศู น ย์บ รรเทาสาธารณภั ย อาคารศู น ย์สื่ อ สาร
ท่าอากาศยาน โรงไฟฟ้า โรงผลิตและเก็บน�้ำประปา

(ข) อาคารเก็บวัตถุอันตราย เช่น วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุมีพิษ


วัตถุกัมมันตรังสี หรือ วัตถุที่ระเบิดได้

(ค) อาคารสาธารณะ ได้แก่ โรงมหรสพ หอประชุม หอศิลป์ พิพธิ ภัณฑสถาน


หอสมุด ศาสนสถาน สนามกีฬา อัฒจันทร์ ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานีรถ โรงแรม
สถานบริการ และอาคารจอดรถ

(ง) สถานศึกษา

(จ) สถานรับเลี้ยงเด็กอ่อน

(ฉ) อาคารที่มีผู้ใช้อาคารได้ตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไป

(ช) อาคารที่มีความสูงตั้งแต่สิบห้าเมตรขึ้นไป

(ซ) สะพานหรือทางยกระดับที่มีช่วงระหว่างศูนย์กลางตอม่อ
ยาวตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป

(ฌ) เขื่อนเก็บกักน�้ำ เขื่อนทดน�้ำหรือฝายทดน�้ำ ที่ตัวเขื่อนหรือตัวฝาย


มีความสูงตั้งแต่สิบเมตรขึ้นไป

กรมโยธาธิการและผังเมือง
4
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

(d) Educational institutions with occupancy of


two hundred fifty students or more.
(e) Child care centers with occupancy of fifty children
or more.
(f) Buildings with occupancy of five thousand people
or more.
(g) Buildings which is fifteen meters or more in height.

(h) Bridges or elevated roads which have the distance


between center of footings of ten meters or more.

(i) Storage dams and diversion dams or weirs


which the height of the dams is ten meters or more.

(2) Zone 2.

(a) Essential public facilities such as, in-patient health


facilities, fire station, mitigation center, communication center, airport,
power plants, and water treatment and distribution facilities.

(b) Buildings used as storage of hazardous substances such


as, explosive substance, flammable substance, toxic substance,
radioactive materials, or explosible substances.

(c) Public buildings, such as theater, auditorium, galleries,


museum, library building, religious place, stadium, grandstand, market,
department store, mall, bus terminal, hotel, entertainment venue, and
parking building.
(d) Educational institutions.

(e) Child care center.

(f) Buildings with occupancy of five thousand people


or more.
(g) Buildings which are fifteen meters or more in height.

(h) Bridges or elevated roads of which the distance


between center of footings is ten meters or more.

(i) Storage dams and diversion dams or weirs


which the height of the dam is ten meters or more.

Department of Public Works and Town & Country Planning


5
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

ข้อ ๔ การออกแบบโครงสร้างอาคารในข้อ ๓ ให้ผู้ค�ำนวณออกแบบค�ำนึงถึง


การจั ด รู ป แบบเรขาคณิ ต ให้มี เ สถี ย รภาพในการต้า นทานการสั่ น สะเทื อ นของแผ่น ดิ น ไหว
การก�ำหนดรายละเอียดปลีกย่อยชิ้นส่วนโครงสร้าง รวมทั้งบริเวณรอยต่อระหว่างปลายชิ้นส่วน
โครงสร้า งต่า ง ๆ และการจั ด ให้โ ครงสร้า งทั้ ง ระบบอย่า งน้อ ยให้มี ค วามเหนี ย วเที ย บเท่า
ความเหนี ย วจ� ำ กั ด (Limited Ductility) ตามมาตรฐานประกอบการออกแบบอาคาร
เพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวของ กรมโยธาธิการและผังเมือง หรือมาตรฐาน
ว่าด้วยการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวที่สภาวิศวกรรับรอง

การค� ำ นวณออกแบบโครงสร้า งอาคารแต่ล ะชิ้ น ส่ว น ให้ใ ช้ค า่ หน่ว ยแรง


ของผลจากแผ่นดินไหว หรือผลจากแรงลมตามที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๗)
ออกตามความในพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ที่ มี ต ่อ ชิ้ น ส่ว นโครงสร้า งนั้ น
ค่าใดค่าหนึ่งที่มากกว่า

ข้อ ๕ การค� ำ นวณออกแบบโครงสร้า งอาคารที่ มี รู ป ทรงไม่ส ม�่ ำ เสมอ หรื อ


โครงสร้า งอาคารอื่ น ๆ ที่ ไ ม่ใ ช่อ าคารตามที่ ก� ำ หนดในข้อ 6 และไม่อ ยู ่ใ นบริ เ วณเฝ้า ระวั ง
ผู ้ค� ำ นวณออกแบบต้อ งเป็น ผู ้ไ ด้รั บ ใบอนุ ญ าตเป็น ผู ้ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม ตั้ ง แต่
ระดับสามัญวิศวกรขึ้นไป และต้องค�ำนวณให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
โดยใช้วิธีการค�ำนวณเชิงพลศาสตร์หรือวิธีอื่นที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางทฤษฎีเชิงพลศาสตร์

การค�ำนวณตามวรรคหนึ่งต้องเป็นไปตามมาตรฐานว่าด้วยการออกแบบอาคาร
ต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวที่สภาวิศวกรรับรอง หรือที่จัดท�ำโดยส่วนราชการหรือ
นิ ติ บุ ค คลซึ่ ง ได้รั บ ใบอนุ ญ าตประกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม ซึ่ ง มี วิ ศ วกรระดั บ วุ ฒิ วิ ศ วกร
สาขาวิ ศ วกรรมโยธาตามกฎหมายว่า ด้ว ยวิ ศ วกร เป็น ผู ้ใ ห้ค� ำ แนะน� ำ ปรึ ก ษาและลงลายมื อ ชื่ อ
รับรองวิธีการค�ำนวณนั้น

กรมโยธาธิการและผังเมือง
6
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

Clause 4: For structural design according to Clause 3,


designer shall consider geometric arrangement to ensure stability for
seismic resistance, specification details of members including joints at
each ends of members, and ductility to all structural system at least equivalent
to limited ductility as seismic-resistant building design standard of
Department of Public Works and Town & Country Planning or seismic-resistant
building design standard approved by Council of Engineers.

Measurement of effect from earthquake or wind stress as


prescribed in Ministerial Regulation No. 6 (B.E. 2527), issued by virtue of
the building Control Act, B.E. 2522, shall be used in structural design calculation
of affected structural member by using the greater value.

Clause 5: The design calculations of irregular building structures


or other structures which are not buildings prescribed under Clause 6 and
not located in surveillance zone, persons who conduct such design calculations
shall be a chartered engineer or higher level with license for professional practice,
and must calculate the building to withstand seismic wave caused by earthquakes
with dynamics calculation method or other methods based on dynamics theory.

Calculation under Paragraph one shall be in accordance with the


seismic-resistant building design standard approved by Council of Engineers
approved or provided by authorities or corporation who obtained license
for professional practice with a senior professional civil engineers,
according to law on engineers, who is a consultant and endorse such calculation
method.

Department of Public Works and Town & Country Planning


7
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

ข้อ ๖ การค�ำนวณออกแบบโครงสร้างอาคารที่มีลักษณะเป็นตึก บ้าน เรือน โรง


หรื อ สิ่ ง ก่อ สร้า งอย่า งอื่ น ที่ มี ลั ก ษณะคล้า ยคลึ ง กั น และไม่อ ยู ่ใ นบริ เ วณเฝ้า ระวั ง ให้ผู ค
้ � ำ นวณ
ออกแบบค�ำนวณให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวได้ โดยค�ำนวณแรงเฉือน
ตามวิธีการดังต่อไปนี้

(๑) ให้ค�ำนวณแรงเฉือนทั้งหมดในแนวราบที่ระดับพื้นดิน ดังนี้

V = ZIKCSW

V คือ แรงเฉือนทั้งหมดในแนวราบที่ระดับพื้นดิน

Z คือ สัมประสิทธิ์ของความเข้มของแผ่นดินไหวตามที่ก�ำหนดในข้อ ๗

I คือ ตัวคูณเกี่ยวกับการใช้อาคารตามที่ก�ำหนดในข้อ ๘

K คื อ สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องโครงสร้า งอาคารที่ รั บ แรงในแนวราบตามที่ ก� ำ หนด


ในข้อ ๙

C คือ สัมประสิทธิ์ หาค่าได้จากสูตรในข้อ ๑๑

S คื อ สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องการประสานความถี่ ธ รรมชาติ ร ะหว่า งอาคารและ


ชั้นดินที่ตั้งอาคารตามที่ก�ำหนดในข้อ ๑๒

W คือ น�้ำหนักของตัวอาคารทั้งหมดรวมทั้งน�้ำหนักของวัสดุอุปกรณ์ซึ่งยึดตรึง
กับที่โดยไม่รวมน�้ำหนักบรรทุกจรส�ำหรับอาคารทั่วไป หรือน�้ำหนักของตัวอาคารทั้งหมดรวมกับ
ร้อยละ ๒๕ ของน�้ำหนักบรรทุกจรส�ำหรับโกดังหรือคลังสินค้า

กรมโยธาธิการและผังเมือง
8
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

Clause 6: The design calculations for structures of buildings,


houses, shelters, sheds, or similar structures and not located in
Earthquake watch area, persons who conduct design calculations
shall design the building to withstand seismic wave from earthquakes
by using following shear calculation method.

(1) Total shear at the base of the structure (base shear)


shall be calculated as below:

V = ZIKCSW; where

V is base shear;

Z is seismic zone coefficient as prescribed under Clause 7;



I is the occupancy importance factor as prescribed
under Clause 8;
K is coefficient of horizontal force resisting structure
as prescribed under Clause 9;

C is coefficient calculated from equation under Clause 11;

S is soil-structure resonance coefficient as prescribed


under Clause 12; and

W is total weight of the structure and permanent equipment but


not includes live loads of conventional buildings or total weight of structure
plus 25 percent of godown or warehouse live loads.

Department of Public Works and Town & Country Planning


9
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

(๒) ให้ก ระจายแรงเฉื อ นทั้ ง หมดในแนวราบที่ ร ะดั บ พื้ น ดิ น ออกเป็น แรง


ในแนวราบที่กระท�ำต่อพื้นชั้นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

(ก) แรงในแนวราบที่กระท�ำต่อพื้นชั้นบนสุดของอาคาร ให้ค�ำนวณ ดังนี้

Ft = ๐.๐๗ TV

ค่าของ Ft ที่ได้จากสูตรนี้ไม่ให้ใช้เกิน ๐.๒๕ V และถ้าหาก T มีค่าเท่ากับ


หรือต�่ำกว่า ๐.๗๐ วินาที ให้ใช้ค่าของ Ft เท่ากับ ๐

(ข) แรงในแนวราบทีก
่ ระท�ำต่อพืน
้ ชัน
้ ต่าง ๆ ของอาคาร รวมทัง้ ชัน
้ บนสุด
ของอาคารด้วย ให้ค�ำนวณ ดังนี้

Ft คือ แรงในแนวราบที่กระท�ำต่อพื้นชั้นบนสุดของอาคาร

Fx คือ แรงในแนวราบที่กระท�ำต่อพื้นชั้นที่ x ของอาคาร



T คือ คาบการแกว่งตามธรรมชาติของอาคาร มีหน่วยเป็นวินาที
หาค่าได้ตามสูตรในข้อ ๑๐

V คือ แรงเฉือนทั้งหมดในแนวราบที่ระดับพื้นดิน

wx,wi คือ น�้ำหนักของพื้นอาคารชั้นที่ x และชั้นที่ i ตามล�ำดับ

hx,hi คือ ความสูงจากระดับพื้นดินถึงพื้นชั้นที่ x และชั้นที่ i ตามล�ำดับ

i = 1 ส�ำหรับพื้นชั้นแรกที่อยู่สูงถัดจากพื้นชั้นล่างของอาคาร

x = 1 ส�ำหรับพื้นชั้นแรกที่อยู่สูงถัดจากพื้นชั้นล่างของอาคาร

n คือ จ�ำนวนชัน ้ ทัง้ หมดของอาคารทีอ่ ยู่เหนือระดับพืน


้ ชัน
้ ล่างของอาคาร
ในการค� ำ นวณออกแบบโครงสร้า งอาคารที่ มี รู ป ทรงตามที่ ร ะบุ ใ นวรรคหนึ่ ง
ผู ค
้ � ำ นวณออกแบบอาจใช้วิ ธี อื่ น ได้ แต่วิ ธี ก ารค� ำ นวณออกแบบต้อ งเป็น ไปตามมาตรฐาน
ว่าด้วยการออกแบบอาคารต้านทานการสัน ่ สะเทือนของแผ่นดินไหวทีส ่ ภาวิศวกรรับรอง หรือทีจ่ ด
ั ท�ำ
โดยส่วนราชการหรือนิติบุคคลซึ่งได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ซึ่งมีวิศวกร
ระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร เป็นผู้ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาและ
ลงลายมือชื่อรับรองวิธีการค�ำนวณนั้น

กรมโยธาธิการและผังเมือง
10
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

(2) Total base shear shall be distributed to base shear at each


floor as below:

(a) base shear at the top floor of the building shall be


calculated as follow:
Ft = 0.07 TV

Use of Ft more than 0.25V in this equation shall not be


allowed. In addition, if T is equal to or less than 0.7 seconds, Ft shall be
equal to 0;
(b) base shear at every floor of the building,
include the highest floor of the building shall be calculated as follow:

Ft is base shear at the top floor of the building

Fx is base shear at floor level x of the building.

T is fundamental period of vibration of the structure


in second, calculated by equation in Clause 10.

V is total shear at the base.

wx, wi are total weight of floor level x and floor level i


respectively.
hx, hi are height from ground to floor level x and
floor level i respectively.
i = 1 is for the first floor immediately above ground floor.

x = 1 is for the first floor immediately above ground floor

n is total floor level of the building above the ground floor.


Structural design calculations of a building which its appearance
is as specified in Paragraph one, the person who design calculations can use
another method but the method must be in accordance with seismic-resistant
building design standard approved by Council of Engineers or provided by
authorities or corporation who obtained license for professional practice with
a senior professional civil engineers, according to law on engineer,
who is a consultant and endorses such calculation method.

Department of Public Works and Town & Country Planning


11
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

ข้อ ๗ ค่า สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องความเข้ม ของแผ่น ดิ น ไหว (Z) ของบริ เ วณที่ ๑
ให้ใช้เท่ากับ ๐.๑๙ หรือมากกว่า และบริเวณที่ ๒ ให้ใช้เท่ากับ ๐.๓๘ หรือมากกว่า

ข้อ ๘ ตัวคูณเกี่ยวกับการใช้อาคาร (I) ให้ใช้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๙ ค่า สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องโครงสร้า งอาคารที่ รั บ แรงในแนวราบ (K)


ให้ใช้ ดังต่อไปนี้

กรมโยธาธิการและผังเมือง
12
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

(7) Seismic zone coefficient (Z) of Zone 1 shall be 0.19 or more


and Zone 2 shall be 0.38 or more.

Clause 8: Occupancy importance factor (I) shall be as follow:


Clause 9: Coefficient of horizontal force resisting structure (K)


shall be as follow:

Department of Public Works and Town & Country Planning


13
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

ข้อ ๑๐ คาบการแกว่งตามธรรมชาติของอาคาร (T) ถ้าไม่สามารถค�ำนวณหา


คาบการแกว่งตามธรรมชาติของอาคารได้ถูกต้องโดยวิธีอื่น ให้ค�ำนวณตามสูตร ดังต่อไปนี้

(๑) ส�ำหรับอาคารทั่วไปทุกชนิดให้ค�ำนวณตามสูตร

(๒) ส�ำหรับอาคารที่มีโครงต้านแรงดัดที่มีความเหนียว
ให้ค�ำนวณตามสูตร

T = ๐.๑๐ N

hn คื อ ความสู ง ของพื้ น อาคารชั้ น สู ง สุ ด วั ด จากระดั บ พื้ น ดิ น


มีหน่วยเป็นเมตร

D คื อ ความกว้า งของโครงสร้า งของอาคารในทิ ศ ทางขนานกั บ


แรงแผ่นดินไหว มีหน่วยเป็นเมตร

N คือ จ�ำนวนชั้นของอาคารทั้งหมดที่อยู่เหนือระดับพื้นดิน

ข้อ ๑๑ ในการค�ำนวณแรงแผ่นดินไหวที่กระท�ำต่ออาคารหรือส่วนต่าง ๆ ของ


อาคาร ค่าสัมประสิทธิ์ (C) ให้ค�ำนวณตามสูตร ดังต่อไปนี้

ถ้าค�ำนวณค่าสัมประสิทธิ์ได้มากกว่า ๐.๑๒ ให้ใช้เท่ากับ ๐.๑๒

กรมโยธาธิการและผังเมือง
14
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

Clause 10: if fundamental period of vibration (T) cannot be


calculated correctly by other methods, the following equation shall be used.

(1) For all conventional buildings, the following equation shall


be used

(2) For building with ductile moment-resisting frame, the


following equation shall be used.

T = 0.10 N

hn is the height in meters of the highest floor measured


from ground level.

D is the width in meters of the building structure in


the direction parallel to seismic force.

N is the number of floors of whole building above


ground level.

Clause 11: To calculate seismic force which acts on a building


or any parts of a building, Coefficient (C) shall be calculated from the following
equation.

If calculation of the coefficient of greater than 0.12, 0.12 shall be used.

Department of Public Works and Town & Country Planning


15
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

ข้อ ๑๒ ค่าสัมประสิทธิ์ของการประสานความถี่ธรรมชาติระหว่างอาคาร
และชั้นดินที่ตั้งอาคาร (S) มีดงั ต่อไปนี้


“หิน” หมายถึง หินทุกลักษณะไม่ว่าจะเป็นหินคล้ายหินเชล (Shale) หรือ
ที่เป็นผลึกตามธรรมชาติ หรือดินลักษณะแข็งซึ่งมีความลึกของชั้นดินไม่เกิน ๖๐ เมตร ที่ทับอยู่เหนือ
ชั้นหิน และต้องเป็นดินที่มีเสถียรภาพดี เช่น ทราย กรวด หรือดินเหนียวแข็ง

“ดิ น แข็ ง ” หมายถึ ง ดิ น ลั ก ษณะแข็ ง ซึ่ ง มี ค วามลึ ก ของชั้ น ดิ น มากกว่า


๖๐ เมตร ที่ทับอยู่เหนือชั้นหิน และต้องเป็นดินที่มีเสถียรภาพดี เช่น ทราย กรวด หรือดินเหนียวแข็ง

“ดิ น อ่อ น” หมายถึ ง ดิ น เหนี ย วอ่อ นถึ ง ดิ น เหนี ย วแข็ ง ปานกลาง


ที่หนามากกว่า ๙ เมตร อาจจะมีชั้นทรายคั่นอยู่หรือไม่ก็ได้

“ดินอ่อนมาก” หมายถึง ดินเหนียวอ่อนทีม ่ ก


ี ำ� ลังต้านทานแรงเฉือนของดิน
ในสภาวะไม่ร ะบายน�้ ำ (Undrained Shear Strength) ไม่ม ากกว่า ๒๔ กิ โ ลปาสกาล
(๒,๔๐๐ กิโลกรัมแรงต่อตารางเมตร) และมีความหนาชั้นดินมากกว่า ๙ เมตร เช่น สภาพดิน
ในท้อ งที่ ก รุ ง เทพมหานคร จั ง หวั ด นนทบุ รี จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ และ
จังหวัดสมุทรสาคร

ถ้าผลคูณระหว่างค่า C กับค่า S มากกว่า ๐.๑๔ ให้ใช้เท่ากับ ๐.๑๔


เว้นแต่กรณีดินอ่อนมาก ถ้าผลคูณดังกล่าวมากกว่า ๐.๒๖ ให้ใช้เท่ากับ ๐.๒๖

ข้อ ๑๓ ในการค� ำ นวณการเคลื่ อ นตั ว สั ม พั ท ธ์ด า้ นข้า งระหว่า งชั้ น


ที่อยู่ติดกันของอาคาร (Story Drift) ที่เกิดจากแรงในแนวราบตามที่ระบุในข้อ ๖ (๑) และ (๒)
การเคลื่อนตัวดังกล่าวต้องไม่เกินร้อยละ ๐.๕ ของความสูงระหว่างชั้น

ข้อ ๑๔ อาคารที่ได้รับใบอนุญาตหรือได้รับใบรับแจ้งการก่อสร้างหรือ
อาคารที่มีอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐

พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

กรมโยธาธิการและผังเมือง
16
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

Clause 12: Soil-structure resonance coefficients are as follow:

“rock” means all kinds of rocks, including shale or


natural crystal stone or hard soil with the maximum depth of 60 meters above
bedrock and must be soil with good stability, such as, sand, gravel, or hard clay.

“hard soil” means hard soil with the depth greater than 60 meters
above bedrock and must be soil with good stability, such as, sand, gravel, or
hard clay.
“soft soil” means soft clay or medium hard clay which is
thicker than 9 meters and may be separated with sand horizon.

“very soft soil” means soft soil which has maximum undrained
shear strength of 24 kilopascals (2,400 kilograms per square meter) and
thickness more than 9 meters, such as soil in Bangkok area, Nonthaburi, Pathumthani,
Samutprakarn, and Samutsakorn provinces.

If product of C and S is greater than 0.14, 0.14 shall be used.


In case of Softer soil, if such product is greater than 0.26, 0.26 shall be used.

Clause 13: To calculate story drift which is caused by base shear


as specified in Clause 6 (1) and (2), the story drift shall not exceed 0.5 percent
of the story height.

Clause 14: Buildings with permission or receipt of notice for


building construction issued before the date of enforcement of
this Ministerial Regulation shall be exempted from complying with
this Ministerial Regulation.

Given on the 18th November, B.E. 2550;

General Surayut Chulanon

Minister of Interior

Department of Public Works and Town & Country Planning


17
โครงการศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบและการแปลกฎหมายในกลุ่มประเทศอาเซียนในเรื่อง

กฎกระทรวงที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน

หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ก ฎกระทรวงฉบั บ นี้ คื อ เนื่ อ งจากผลการศึ ก ษาพบว่า


พืน
้ ทีบ
่ ริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นชัน ้ ดินอ่อน จึงส่งผลให้เกิดการขยายแรงสัน ่ สะเทือน
ของแผ่น ดิ น ไหว ท� ำ ให้อ าคารในบริ เ วณดั ง กล่า วมี ค วามเสี่ ย งภั ย จากแผ่น ดิ น ไหวในระยะไกล
ประกอบกั บ พื้ น ที่ ภ าคใต้บ างส่ว นของประเทศไทยตั้ ง อยู ่ใ นบริ เ วณรอยเลื่ อ นระนองและ
รอยเลือ ่ นคลองมะรุ่ย ซึง่ มีการสัน
่ สะเทือนอยู่บ่อยครัง้ ท�ำให้อาคารในบริเวณดังกล่าวมีความเสีย ่ งภัย
จากแผ่นดินไหว ประกอบกับหลักเกณฑ์การรับน�้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร และ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๙
(พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน
ไม่ครอบคลุมบริเวณเสี่ยงภัยดังกล่าว และไม่สามารถต้านทานแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้
ตามมาตรฐานสากล ดังนั้น เพื่อให้เกิดความปลอดภัย จึงสมควรขยายพื้นที่การควบคุมอาคาร
ในบริเวณดังกล่าว รวมทั้งปรับปรุงหลักเกณฑ์การรับน�้ำหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร
และพื้ น ดิ น ที่ ร องรั บ อาคารในการต้า นทานแรงสั่ น สะเทื อ นของแผ่น ดิ น ไหวเสี ย ใหม่ จึ ง จ� ำ เป็น
ต้องออกกฎกระทรวงนี้

กรมโยธาธิการและผังเมือง
18
กฎกระทรวง
ก�ำหนดการรับน�้ำหนักความต้านทานความคงทนของอาคารและ
พื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550

Remarks: - Reason for promulgation of this Ministerial Regulation is because


research shows that Bangkok and greater metropolitan is an area with soft soil
which can cause expansion of seismic activities. The buildings in such area
are at risk of distant earthquakes. And some area in Southern Thailand is
close to Ranong and Klong Marui faults which seismic vibrations occurs frequently
and cause buildings in such area to be at risk from earthquake.
Furthermore, standard of load capacity, resistance, and durability of buildings,
and bearing capacity of soils supporting building in seismic resistance pursuant
to Ministerial Regulation No. 49 (B.E. 2540), issued under the Building Control Act,
B.E. 2522 which is still enforced at present, does not include such hazard area
and cannot resist seismic from an earthquake, according to international standard.
Therefore, it is appropriate to expand building control area in such region
to ensure safety and revise standard of load capacity, resistance, and
durability of buildings and ground support to withstand seismic. Therefore,
it is necessary to issue this Ministerial Regulation.

Department of Public Works and Town & Country Planning


19

You might also like