You are on page 1of 23

แรงแผ่นดินไหว

ในบทนี้ จะกล่าวถึ งการคานวณแรงแผ่นดิ นไหวตามกฎกระทรวง กาหนดการรั บน้ าหนัก ความ


ต้านทาน และพื้นดิ นที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550
ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติ มมาจากกฎกระทรวง ฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) แต่ยงั คงอ้างอิ งวิธีการคานวณตาม
มาตรฐาน Uniform Building Code (UBC) 1985 ซึ่ งจะได้นามาอธิ บายเพิ่มเติมถึงที่มาและ
ความหมายของตัวแปรต่างๆที่นามาใช้ในการคานวณ
มาตรฐานการออกแบบส่ วนใหญ่จะกาหนดเงื่อนไขการออกแบบเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์
หลักคือ ลดการสู ญเสี ยชี วิตให้เหลือน้อยที่สุดสาหรับทุกโครงสร้างนัน่ คือต้องไม่พงั ทลายลงมา
และสาหรับอาคารสาธารณะจะต้องยังคงใช้งานได้ต่อไปหลังจากแผ่นดินไหว
2.1 แรงเฉือนฐานอาคาร (Base Shear, V)
V คือ แรงเฉื อนในแนวราบทั้งหมดกระทาที่ฐานของอาคารที่ระดับพื้นดิ น ซึ่ งที่มาของแรง
แผ่นดิ นไหวนั้นเกิ ดจากความเร่ ง พื้ นดิ นคู ณกับ มวลของโครงสร้ าง โดยระดับ ความเร่ ง พื้ นดิ น
ประมาณ 0.1g โดยที่ g คือความเร่ งจากแรงโน้มถ่วงโลก (9.81 เมตร/วินาที2) ก็มกั จะเพียง
พอที่จะทาความเสี ยหายให้แก่โครงสร้างที่ไม่แข็งแรงได้ ถ้าจะลองเปรี ยบเทียบกับความเร่ ง 1.0g
หรื อ 100% ของแรงโน้มถ่วง เราอาจลองนาอาคารมาวางตะแคงดังในรู ปที่ 2.1
F5 F6
F4
F2 F3
F1

รู ปที่ 2.1 เมื่ออาคารรับความเร่ ง 100% g


เทียบเท่ากับคานยืน่ ในแนวราบ
F  W  Building weight

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 11


การคานวณแรงแผ่นดิ นไหวโดยวิธีแรงสถิ ตเที ยบเท่า (Equivalent Static Load) จะ
เริ่ มต้นด้วยการคานวณแรงเฉื อนที่ฐานอาคาร จากนั้นกระจายแรงไปยังชั้นต่างๆของอาคาร ตาม
กฎกระทรวง พ.ศ. 2550 กาหนดให้คานวณแรงเฉื อนทั้งหมดในแนวราบที่ระดับพื้นดิน ดังนี้
V = ZIKCSW

เมื่อ V คือ แรงเฉื อนทั้งหมดในแนวราบที่ระดับพื้นดิน


Z คือ สัมประสิ ทธิ์ ความเข้มของแผ่นดินไหว
I คือ ตัวคูณเกี่ยวกับการใช้อาคาร
K คือ สัมประสิ ทธิ์ ของโครงสร้างอาคารที่รับแรงในแนวราบ
C คือ สัมประสิ ทธิ์ เกี่ยวกับคาบการสั่นไหวของโครงสร้าง
S คือ สัมประสิ ทธิ์ การประสานความถี่ธรรมชาติระหว่างอาคารและชั้นดิน
W คือ น้ าหนักของตัวอาคารทั้งหมดรวมทั้งน้ าหนักของวัสดุอุปกรณ์ซ่ ึ งยึดตรึ งกับที่โดย
ไม่รวมน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับอาคารทัว่ ไป หรื อน้ าหนักของตัวอาคารทั้งหมด
รวมกับร้อยละ 25 ของน้ าหนักบรรทุกจรสาหรับโกดังหรื อคลังสิ นค้า

2.2 สัมประสิทธิ์ความเข้มของแผ่นดินไหว V = ZIKCSW

ตามมาตรฐาน UBC จะแบ่งโซนแผ่นดินไหวออกเป็ น 6 โซนคือ 0, 1, 2A, 2B, 3 และ 4 ตั้งแต่


โซน 0 ไม่ มีค วามเสี่ ยงจนถึ ง โซน 4 ที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง สุ ด โดยมี แผนที่ แสดงการแบ่ง โซนตาม
บริ เวณที่ มี ค วามเสี่ ย งต่ อแผ่นดิ นไหว แต่ล ะโซนจะก าหนดค่ า ความเร่ ง สู ง สุ ดในแนวราบซึ่ ง มี
โอกาสที่จะเกิน 10% ภายใน 50 ปี

Zone 1 2A 2B 3 4

Z 0.075 0.15 0.2 0.3 0.4

ค่า Z ที่แสดงในตารางคือค่าสัดส่ วนของความเร่ งของแรงโน้มถ่วงโลก ตัวอย่างเช่น Z =


0.2 หมายถึงความเร่ งเท่ากับ 0.2g หรื อ 20% ของแรงโน้มถ่วงโลก

กฎกระทรวง พ.ศ. 2550 ได้ กาหนดบริเวณพืน้ ทีด่ ังนี้


“บริ เวณเฝ้ าระวัง”
คือพื้นที่หรื อบริ เวณที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวได้แก่ จังหวัดกระบี่
จังหวัดชุมพร จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง จังหวัดสงขลา และ จังหวัดสุ ราษฎร์ ธานี
“บริ เ วณที่ 1”
คื อพื้ นที่ หรื อบริ เ วณที่ เป็ นดิ นอ่ อ นมากที่ อาจได้รับ ผลกระทบจากแผ่นดิ นไหว
ระยะไกล ให้ ใ ช้ค่ า Z เท่ า กับ 0.19 หรื อมากกว่า ได้แ ก่ กรุ งเทพมหานคร จังหวัดนนทบุ รี
จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรปราการ และ จังหวัดสมุทรสาคร
Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 12
“บริ เวณที่ 2”คือพื้นที่หรื อบริ เวณที่อยูใ่ กล้รอยเลื่อนที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว ให้ใช้
ค่า Z เท่ากับ 0.38 หรื อมากกว่า ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุ รี จังหวัดเชี ยงราย จังหวัดเชี ยงใหม่
จังหวัดตาก จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแพร่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลาปาง และ จังหวัด
ลาพูน
2.3 ตัวคูณเกี่ยวกับการใช้งานอาคาร V = ZIKCSW
คื อตัวคู ณที่ พิ จารณาความส าคัญของอาคารเพื่อเพิ่มการเผื่อความปลอดภัยต่อการพังทลายของ
อาคาร อาคารสาธารณะที่ผูค้ นใช้งานจานวนมากและอาคารที่จาเป็ นต้องใช้งานได้ภายหลังเกิ ด
แผ่นดินไหวเช่นโรงพยาบาล และสถานีดบั เพลิง กฎกระทรวง พ.ศ. 2550 กาหนดดังนี้

ชนิดของอาคาร ค่ าของ I

(1) อาคารที่จาเป็ นต่อความเป็ นอยูข่ องสาธารณชน 1.5

(2) อาคารที่เป็ นที่ชุมนุมคนครั้งหนึ่งๆได้มากกว่า 300 คน 1.25

(3) อาคารอื่นๆ 1.00

2.4 สัมประสิทธิ์การรับแรงในแนวราบ V = ZIKCSW

คือตัวคูณที่พิจารณาความสามารถในการต้านทานแรงในแนวราบของอาคาร ขึ้นกับลักษณะและ
ระบบโครงสร้ า งที่ ใ ช้ โครงสร้ า งที่ ส ามารถต้า นแรงแนวราบได้ ดี ก ว่ า จะมี ค่ า K น้ อ ยกว่ า
กฎกระทรวง พ.ศ. 2550 กาหนดดังนี้

ระบบและชนิดโครงสร้ างรับแรงในแนวราบ ค่ าของ K

(1) โครงสร้างซึ่ งได้รับการออกแบบให้กาแพงรับแรงเฉื อน (Shear Wall) หรื อ 1.33


โครงแกงแนง (Braced Frame) รับแรงทั้งหมดในแนวราบ

(2) โครงสร้างซึ่งได้รับการออกแบบให้โครงต้านแรงดัดที่มีความเหนียว 0.67


(Ductile Moment-Resisting Frame) ต้านแรงทั้งหมดในแนวราบ

(3) โครงสร้างซึ่ งได้รับการออกแบบให้โครงต้านแรงดัดซึ่งมีความเหนียวร่ วมกับ 0.80


กาแพงรับแรงเฉื อนหรื อโครงแกงแนงต้านแรงในแนวราบ โดยมีขอ้ กาหนด
ในการคานวณออกแบบดังนี้
(ก) โครงข้อแข็งซึ่งมีความเหนียวต้องสามารถต้านทานแรงในแนวราบได้
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 25 ของแรงในแนวราบทั้งหมด
Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 13
(ข) กาแพงรับแรงเฉื อนหรื อโครงแกงแนงเมื่อแยกเป็ นอิสระจากโครงต้าน 0.80
แรงดัดที่มีความเหนียวต้องสามารถต้านแรงในแนวราบได้ท้ งั หมด
(ค) โครงต้านแรงดัดที่มีความเหนียวร่ วมกับกาแพงรับแรงเฉื อนหรื อ
โครงแกงแนงต้องสามารถต้านทานแรงในแนวราบได้ท้ งั หมด
โดยสัดส่ วนของแรงที่กระทาต่อโครงสร้างแต่ละระบบให้เป็ นไปตาม
สัดส่ วนความคงตัว (Rigidity) โดยคานึงถึงการถ่ายเทของแรงระหว่าง
โครงสร้างทั้งสอง
(4) หอถังน้ า รองรับด้วยเสาไม่นอ้ ยกว่า 4 ต้น และมีแกงแนงยึดและไม่ได้ต้ งั อยู่ 2.5
บนอาคาร
หมายเหตุ ผลคูณระหว่างค่า K กับค่า C ให้ใช้ค่าต่าสุ ดเท่ากับ 0.12 และ
ค่าสู งสุ ดเท่ากับ 0.25
(5) โครงต้านแรงดัดที่มีความเหนียวจากัดและโครงอาคารระบบอื่น ๆ นอกจาก 1.0
โครงอาคารตาม (1) (2) (3) หรื อ (4)

2.5 คาบการแกว่งตามธรรมชาติของอาคาร (T)


คาบการสั่ น ของอาคาร T อาจพิ จ ารณาได้จ ากการวิ เ คราะห์ หรื อ ค านวณค านวณตามสู ต ร
ดังต่อไปนี้
0.09 h n
สาหรับอาคารทัว่ ไปทุกชนิด: T 
D

สาหรับโครงต้านแรงดัดที่มีความเหนียว: T = 0.10 N

เมื่อ hn คือ ความสู งของพื้นอาคารชั้นสู งสุ ดวัดจากระดับผิวดิน, เมตร


D คือ ความกว้างของอาคารในทิศทางขนานแรงแผ่นดินไหว, เมตร
N คือ จานวนชั้นของอาคารทั้งหมดที่อยูเ่ หนื อระดับพื้นดิน
เราสามารถคานวณคาบการสั่น T ที่แม่นยาขึ้นโดยการวิเคราะห์ดว้ ยคอมพิวเตอร์ หรื อใช้สูตรของ
Rayleigh (ดูรูปที่ 2.2 และ 2.3) ดังนี้
n

W  i
2
i
T  2 i 1
n
g  Fi i
i 1

เมื่อ Wi คือ น้ าหนักของอาคารชั้นที่ i

i คือ การเคลื่อนที่ของอาคารชั้นที่ i

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 14


Fi คือ แรงกระทาด้านข้างที่ระดับชั้นที่ i

g คือ ความเร่ งโน้มถ่วงโลก (9.81 เมตร/วินาที2)


W 

V=F
W 2
T  2
gF 

รู ปที่ 2.2 การคานวณคาบการสั่นของอาคารชั้นเดียวตามสู ตรของ Rayleigh

4
F4 W4
3
F3 W3
2
F2 W2
1
F1 W1

V  F1  F2  F3  F4

1  W112  W222  W332  W424 


T  2  
g  F11  F22  F33  F44 

รู ปที่ 2.3 การคานวณคาบการสั่นของอาคารหลายชั้นตามสู ตรของ Rayleigh

2.6 สัมประสิทธิ์คาบการสั ่นไหว V = ZIKCSW

ในการคานวณแรงแผ่นดิ นไหวที่กระทาต่ออาคารหรื อส่ วนต่างๆของอาคาร ค่าสัมประสิ ทธิ์ (C)


ให้คานวณตามสู ตร ดังนี้
1
C 
15 T

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 15


ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ ที่คานวณได้มากกว่า 0.12 ให้ใช้เท่ากับ 0.12 ซึ่ งจะตรงกับค่า T เท่ากับ 0.31
วินาที ดังในรู ปที่ 2.4
C

0.12

0.31 T

รู ปที่ 2.4 ค่าสัมประสิ ทธิ์ คาบการสั่นไหว C

2.7 สัมประสิทธิ์การประสานความถี่ธรรมชาติ V = ZIKCSW


ระหว่างอาคารและชั้นดิน
ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของการประสานความถี่ ธรรมชาติระหว่างอาคารและชั้นดิ นที่ต้ งั อาคาร (S) มี
ดังต่อไปนี้

ลักษณะของชั้นดิน ค่ าของ S
(1) หิน 1.0

(2) ดินแข็ง 1.2

(3) ดินอ่อน 1.5

(4) ดินอ่อนมาก 2.5

“หิ น” หมายถึง หิ นทุกลักษณะไม่วา่ จะเป็ นหิ นคล้ายหิ นเชล (Shale) หรื อผลึกธรรมชาติ หรื อดิน
ลักษณะแข็งซึ่ งมี ความลึ กของชั้นดิ นไม่เกิ น 60 เมตร ที่ ทบั อยู่เหนื อชั้นหิ น และต้องเป็ นดิ นที่มี
เสถียรภาพดี เช่น ทราย กรวด หรื อดินเหนียวแข็ง
“ดินแข็ง” หมายถึง ดินลักษณะแข็งซึ่ งความลึกของชั้นดินมากกว่า 60 เมตร ที่ทบั อยูเ่ หนื อชั้นหิ น
และต้องเป็ นดินที่มีเสถียรภาพดี เช่น ทราย กรวด หรื อดินเหนียวแข็ง
“ดินอ่อน” หมายถึง ดินเหนียวอ่อนถึงดินเหนียวแข็งปานกลาง และดินเหนี ยวแข็งหนามากกว่า 9
เมตร อาจจะมีช้ นั ทรายคัน่ อยูห่ รื อไม่ก็ได้

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 16


“ดินอ่อนมาก” หมายถึง ดิ นเหนี ยวอ่อนที่มีกาลังต้านทานแรงเฉื อนของดินในสภาวะไม่ระบาย
น้ า (Undrained Shear Strength) ไม่มากกว่า 24 กิ โลปาสกาล (2,400 กิโลกรัมแรงต่อตาราง
เมตร) และมี ความหนาชั้นดิ นมากกว่า 9 เมตร เช่ น สภาพดิ นในท้องที่กรุ งเทพมหานคร จังหวัด
นนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดสมุทรสาคร
ถ้าผลคูณระหว่างค่า C กับค่า S มากกว่า 0.14 ให้ใช้เท่ากับ 0.14 เว้นแต่กรณี ดินอ่อนมาก ถ้า
ผลคูณดังกล่าวมากกว่า 0.26 ให้ใช้เท่ากับ 0.26

2.8 น้ าหนักของตัวอาคาร V = ZIKCSW

น้ าหนักของตัวอาคาร W ที่จะนามาคิดคือส่ วนของโครงสร้างที่จะโยกตัวไปกับอาคารด้วย ถ้าเป็ น


อาคารชั้นเดียวดังในรู ปที่ 2.2 จะคิดเฉพาะน้ าหนักของโครงสร้างครึ่ งชั้นบน ถ้าเป็ นอาคารหลาย
ชั้นก็จะใช้น้ าหนัก Wi ของแต่ละชั้นดังในรู ปที่ 2.3 โดยน้ าหนักที่นามาคิดนั้นนอกจากน้ าหนัก
ของโครงสร้ างแล้ว ต้องคิ ดน้ าหนักบรรทุ กคงที่ของส่ วนที่ ไม่เป็ นโครงสร้ างเช่ น ผนัง น้ าหนัก
บรรทุกเพิ่มจากการเททับหน้าพื้น และวัสดุ ปูผิว ตลอดจนเครื่ องจักร อุปกรณ์ ต่างๆ เพิ่มขึ้นด้วย
และถ้าเป็ นโกดังหรื อคลังสิ นค้าต้องรวมกับร้อยละ 25 ของน้ าหนักบรรทุกจร
ในการคานวณน้ าหนักทั้งหมด W ควรคานวณน้ าหนักของแต่ละชั้น Wi ดังในรู ป 2.5 โดย
กาหนดขอบเขตการแบ่งชั้นอยูร่ ะหว่างกึ่งกลางความสู งของชั้นที่อยูเ่ หนือกว่าและต่ากว่า

Column

Wall Wall

Equipment H
Direction of
2
earthquake
Floor

H
2
H = story height

Story weight = floor + columns + walls + equipment

รู ปที่ 2.5 การคานวณน้ าหนักของแต่ละชั้น

2.9 การกระจายแรงด้านข้าง
ให้กระจายแรงเฉื อนทั้งหมดในแนวราบที่ระดับพื้นดิ น (V) ออกเป็ นแรงในแนวราบที่กระทาต่อ
พื้นชั้นต่างๆ ดังต่อไปนี้ (ดูรูปที่ 2.6)
n
V  Ft  F
i 1
i

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 17


เมื่อ Ft คือ แรงในแนวราบที่กระทาต่อพื้นชั้นบนสุ ดของอาคาร ให้คานวณ ดังนี้
Ft  0.07 T V

FT
F5 ค่าของ Ft ที่ได้จากสู ตรนี้ให้ใช้ได้ไม่เกิน 0.25V

ถ้าหาก T มีค่าเท่ากับหรื อต่ากว่า 0.7 วินาที ให้ใช้ค่า Ft เท่ากับ 0


F4
ค่ า Ft แสดงถึ ง ผลกระทบของโหมดการสั่ น ไหวที่ สู ง กว่า ใน
โครงสร้างที่มีคาบการสั่นไหวยาวขึ้น
F3
ส่ วนที่เหลือของแรงเฉื อนทั้งหมด (V – Ft) จะถูกกระจายตลอดความ
F2 W
สู งรวมถึงที่ช้ นั บนสุ ดของอาคาร ดังนี้
(V  Ft ) Wx h x
Fx  n
F1 W h
i 1
i i

เมื่อ Fx คือ แรงในแนวราบที่กระทาต่อพื้นชั้นที่ x

V = Base Shear Wx คือ น้ าหนักของพื้นอาคารชั้นที่ x

รู ปที่ 2.6 การกระจายแรงด้านข้าง hx คือ ความสู งจากระดับพื้นดินถึงพื้นชั้นที่ x

แรงเฉื อนที่ระดับชั้นที่ x คือผลรวมของแรงด้านข้างในชั้นนั้นและชั้นที่สูงกว่า:


n
Vx  Ft  F
ix
i

โมเมนต์พลิกคว่าที่ระดับชั้นที่ x คือผลรวมของโมเมนต์คือแรงคูณด้วยผลต่างความสู งที่ระดับชั้น


นั้นและชั้นที่สูงกว่า:
n
M x  Ft (h n  h x )   F (h
ix
i i  hx )

2.10 ขีดจากัดการเคลื่อนตัวสัมััทธด้านข้าง
4 ในการคานวณการเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ดา้ นข้างระหว่าง
3 h4 ชั้นที่อยูต่ ิดกันของอาคาร (Story Drift) ที่เกิดจากแรง
ในแนวราบ ต้องไม่ เกิ นร้ อยละ 0.5 ของความสู ง
h3
2 ระหว่างชั้น
h2  x  0.005h x
1

h1
เมื่อ x คือ การเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ในชั้นที่ x

hx คือ ความสู งของชั้นที่ x


รู ปที่ 2.7 การเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ระหว่างชั้น
Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 18
ตัวอย่างการคานวณ
อาคารสานักงานคอนกรี ตเสริ มเหล็กระบบพื้นไร้คานสู ง 6 ชั้น ตั้งอยูใ่ นจังหวัดเชียงใหม่ มีขนาดแปลนดังในรู ป

5m

12 m

5m

5m 5m 5m 5m

22 m

ข้ อมูลอาคาร: ความสู งระหว่างชั้น 3.5 เมตร


หน้าตัดเสา 0.5  0.5 เมตร
ความหนาพื้น 0.15 เมตร
วิธีทา (1) พารามิเตอร์ แผ่นดินไหว
จังหวัดเชียงใหม่ อยูใ่ นบริ เวณที่ 2 ใช้ค่า Z = 0.38

ชนิดอาคารทัว่ ไป ใช้ค่าความสาคัญ I = 1.0

โครงต้านแรงดัดความเหนี ยวจากัด K = 1.0

ลักษณะของชั้นดิน เป็ นดินแข็ง S = 1.2

(2) สั มประสิ ทธิ์คาบการสั่ นไหว C

คานวณคาบการสัน่ ไหวจากสู ตร T  0.09 h n / D

ความสู งอาคาร hn = 6  3 = 18 เมตร


ความกว้างอาคาร D ในทิศทางแผ่นดินไหว = 12 เมตร
คาบการสั่น T = 0.09  18 / 12 = 0.47 วินาที

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 19


สัมประสิ ทธิ์ C = 1 / (150.47) = 0.097 < 0.12 OK

ผลคูณ C  S = 0.097  1.2 = 0.12 < 0.14 OK

(3) คานวณนา้ หนักอาคาร W

น้ าหนักเสา = 15  0.5  0.5  3.5  2.4 = 31.5 ตัน


น้ าหนักพื้น = 12  22  0.15  2.4 = 95.0 ตัน
น้ าหนักแต่ละชั้น Wx = 31.5 + 95.0 = 126.5 ตัน
รวมน้ าหนักทั้งหมด W = 6  126.5 = 759 ตัน
(4) คานวณแรงเฉือนทีฐ่ าน V
V = ZIKCSW

= 0.38  1.0  1.0  0.12  W = 0.0456 W หรื อ 4.56% ของน้ าหนักอาคาร


= 0.0456  759 = 34.6 ตัน
(5) กระจายแรงด้ านข้ าง Fx

เนื่องจากคาบการสั่น T (=0.47) น้อยกว่า 0.7 วินาที ดังนั้น Ft = 0


(V  Ft ) Wx h x
คานวณการกระจายแรงด้านข้างตามสู ตร Fx  n
ดังแสดงในตาราง
W h
i 1
i i

ชั้น Wx (ตัน) hx (ม.) Wxhx Wxhx/(Wh) Fx (ตัน)

6 126.5 21 2,656.50 0.2857 9.89

5 126.5 17.5 2,213.75 0.2381 8.24

4 126.5 14 1,771.00 0.1905 6.59

3 126.5 10.5 1,328.25 0.1429 4.94

2 126.5 7.0 885.50 0.0952 3.29

1 126.5 3.5 442.75 0.0476 1.65

รวม 759 9,297.75 1.0000 34.60

(6) แรงเฉือนทีแ่ ต่ ละระดับชั้น Vx และโมเมนต์ พลิกควา่ Mx


n n
เนื่องจาก Ft = 0 ดังนั้น Vx   Fi
ix
และ Mx   F (h
ix
i i  hx )

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 20


ชั้น Fx (ตัน) Vx (ตัน) hx (ม.) Mx (ตัน-ม.)

6 9.89 9.89 21 -

5 8.24 18.13 17.5 34.62

4 6.59 24.72 14 98.07

3 4.94 29.66 10.5 184.59

2 3.29 32.95 7.0 288.40

1 1.65 34.60 3.5 403.73

ฐาน 524.83

โมเมนต้านทาน MR = W  (D/2) = 759  (12/2) = 4,554 ตัน-เมตร

ความปลอดภัยต่อการพลิกคว่า = MR/M = 4,554 / 524.83 = 8.68 > 1.5 OK

(7) การเคลือ่ นตัวสั มพัทธ์ ระหว่างชั้น x

คานวณได้จาก x = Vx / K เมื่อ K คือสติฟเนสต้านแรงด้านข้าง


12  2.3 105 50  503
สติฟเนสของเสา Kcol = 12 EI / h = 3
 15 / 1,000
3503 12
= 502.9 ตัน/ซม.

ชั้น Vx (ตัน) Kcol (ตัน/ซม.) x (ซม.) x (ซม.)

6 9.89 502.9 0.0197 0.2983

5 18.13 502.9 0.0361 0.2786

4 24.72 502.9 0.0492 0.2425

3 29.66 502.9 0.0590 0.1933

2 32.95 502.9 0.0655 0.1343

1 34.60 502.9 0.0688 0.0688

การเคลื่อนตัวสัมพัทธ์  ต้องมีค่าไม่เกิน 0.005 hx = 0.005  350 = 1.75 ซม.

การเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ x ในแต่ละชั้นมีค่าไม่เกินขีดจากัด OK

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 21


ตัวอย่างการใช้โปรแกรม ETABS
 เริ่ มต้นโปรแกรม ETABS เลือกหน่วย Kgf-m แล้วคลิกปุ่ ม เพื่อเริ่ มสร้างโมเดลใหม่

 กาหนดจานวนเส้นกริ ดและจานวนชั้นดังในรู ป แล้วคลิกปุ่ ม Grid Only

 เมื่อคลิก OK เส้นกริ ดจะถูกสร้างขึ้นในหน้าต่าง Plan View และ 3-D View ดังในรู ป

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 22


 เปลี่ยนหน่วยเป็ น Kgf-cm แล้วสั่งเมนู Define > Material Properties เพื่อกาหนด
คุณสมบัติวสั ดุ

 เลือกวัสดุ CONC แล้วคลิกปุ่ ม Modify/Show Material… เพื่อปรับเปลี่ยนคุณสมบัติ


วัสดุคอนกรี ต

 ปรับเปลี่ยนค่าคุณสมบัติคอนกรี ตดังในรู ป

 สัง่ เมนู Define > Frame Sections เพื่อกาหนดหน้าตัดองค์อาคาร

 ในหน้าต่าง Define Frame Properties คลิกเลือก Add Rectangular เพื่อกาหนด


หน้าตัดสี่ เหลี่ยม ตั้งชื่อเป็ น C1 ขนาด 50  50 cm ดังในรู ป

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 23


 คลิกปุ่ ม Reinforcement… เพื่อกาหนดลักษณะการเสริ มเหล็ก

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 24


 สั่งเมนู Define > Wall/Slab/Deck Sections เพื่อกาหนดหน้าตัดพื้น โดยเลื อกพื้น
SLAB1 แล้วคลิกปุ่ ม Modify/Show Section…

 เปลี่ยนความหนาพื้นเป็ น 15 cm และใช้พ้น
ื ชนิด Shell

 เปลี่ยนตัวเลือกชั้นที่มุมล่างขวาของหน้าจอเป็ น Similar Stories

 คลิกไอคอนวางหน้าตัดเสา โดยเลือกหน้าตัดเสา C1 ที่สร้ างไว้ แล้วตีกรอบคลุมทุกจุดตัด


กริ ดในหน้าต่าง Plan View

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 25


 คลิกไอคอนเพื่อวาดพื้นสี่ เหลี่ยม โดยเลือกหน้าตัดพื้น SLAB1 แล้วคลิกลากจากจุดตัดกริ ด
A – 3 ลากทแยงมุมไปยังจุด E – 1

 กาหนด Building View Options เลือก Object Fill และ Extrusion โดยกาหนดให้
Apply to All Windows เพื่อให้แสดงในทุกหน้าต่างดังในรู ป

 เปลี่ ยนหน่ วยเป็ น Kgf-m คลิ กเลื อกพื้นทั้งแผ่น สั่งเมนู Edit > Expand/Shrink
Areas… ใส่ ค่าออฟเซต 1 m

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 26


 สั่งเมนู เพื่อกาหนดกรณี บรรทุกแผ่นดินไหว โดยตั้งชื่ อว่า
Define > Static Load Cases
EQKY1 เลือกชนิ ด QUAKE เป็ นแบบ User Coefficient แล้วคลิกปุ่ ม Add New
Load จะได้รายการกรณี บรรทุก EQKY1 ดังในรู ป

 คลิกปุ่ ม Modify Lateral Load เลือกทิศทาง Y Dir และใส่ ค่าสัมประสิ ทธิ์ การเฉื อนที่
ฐาน ซึ่ งเราได้คานวณไว้ก่อนหน้านี้แล้วคือ V = 0.0456 W

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 27


วิธีการนี้จะใช้ได้ในกรณี ที่คาบการสัน่ T น้อยกว่า 0.7 วินาที ซึ่ งจะไม่มีแรงด้านข้าง Ft ที่
ชั้นบนสุ ดเพิ่ม

ถ้ามีแรง Ft จะต้องใช้แบบ User Loads ซึ่งเราจะลองทาดูโดยสร้างเป็ นรายการกรณี


บรรทุก EQKY2 ดังในรู ป

 เมื่อคลิกปุ่ ม Modify Lateral Load จะมีตารางให้แรงใส่ ค่าแรงกระทาในแต่ละชั้น โดย


สามารถเลือกให้กระทาที่จุดศูนย์กลางมวลของแต่ละชั้น หรื อกาหนดจุดกระทาเองได้

 นาค่าแรงกระทาด้านข้างที่ เคยคานวณไว้มากรอกลงในตาราง สังเกตว่าเราต้องกาหนดไดอ


แฟรมเป็ น D1 ซึ่ งเราจะต้องการกาหนดต่อไป

 ในหน้าต่าง คลิกเลือกพื้นทั้งหมดทุกชั้น แล้วสั่งเมนู


Plan View Assign > Shell/Area
> Diaphragms… เลือกกาหนดให้เป็ น D1

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 28


 คลิกเลือกพื้นทุกชั้นอีกครั้ง สั่งเมนู Assign > Shell/Area  Area Object Mesh
Options… เพื่อกาหนดการแบ่งพื้นย่อยดังในรู ป

 กาหนด Building View Options เลือกให้แสดง Auto Area Mesh เพื่อให้แสดงการ


แบ่งในหน้าต่าง Plan View จะได้ดงั ในรู ป

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 29


 สั่งเมนู View > Set Plan View เลือกให้แสดงชั้น BASE ตีกรอบเลือกจุดรองรับ
ทั้งหมด

 สั่งเมนู Assign > Joint/Point  Restraints (Supports)… กาหนดให้เป็ นจุดรองรับ


แบบ Fixed ดังในรู ป

 เมื่อกาหนดแล้ว ลองซู มขยายดูในหน้าต่าง 3-D View จุดรองรับแบบ Fixed จะมีลกั ษณะ


ดังในรู ป

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 30


 สั่งรันการวิเคราะห์ Analyze  Run Analysis หรื อกด F5 เมื่อรันการคานวณผ่าน
โปรแกรมจะแสดงการเสี ยรู ปทรงของโครงสร้าง

 ตรวจสอบแรงแผ่นดิ นไหว โดยคลิ กหน้าต่าง 3-D View สั่งเมนู Display > Show
Loads  Joints/Points เลือกกรณี บรรทุก EQKY1

 คลิกเลือกหน้าต่างแล้วเปลี่ยนมุมมองเป็ น Elevation View บนเส้นกริ ด C เปรี ยบเทียบแรง


จากการกาหนดทั้งสองกรณี คือ EQKY1 และ EQKY2

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 31


จะเห็นว่าได้ค่าใกล้เคียงกัน แรงที่ช้ นั บนสุ ดมีค่าต่างกันเนื่ องจากเราใช้น้ าหนักทุกชั้นเท่ากัน
ในการค านวณแรงด้า นข้าง (User Loads) แต่ ที่ จริ ง แล้วชั้นบนสุ ดจะหนัก น้อยกว่า ซึ่ ง
โปรแกรม ETABS จะคานวณตามจริ งจึงทาให้แรงจากกรณี User Coefficient น้อยกว่า

 เลื อกหน่ วย Kgf-cm และหน้าต่าง Elevation View สั่งเมนู Display > Show
Deformed Shape เลือกกรณี บรรทุก EQKY1 และ EQKY2 แล้วคลิกขวาที่มุมอาคาร
ชั้นบนสุ ดเพื่อดูค่าการโยกตัวในทิศทาง Y
EQKY1 :

EQKY2 :

จะเห็นว่าแตกต่างจากที่คานวณด้วยมือคือ 0.2983 cm มากเนื่องจากสู ตรที่เราใช้มาจากการ


สมมุติให้ปลายเสายึดแน่นซึ่ งอาจใกล้เคียงในกรณี ที่คานมีขนาดใหญ่ แต่ในอาคารนี้ ไม่มีคาน
เสาจึงมีการเสี ยรู ปทรงโดยมีการยึดที่ปลายเสาไม่มากนัก

 เมื่อคลิกปุ่ ม ในหน้าต่าง Point


Lateral Drifts Displacements โปรแกรมจะแสดงค่า
Displacement และ Drift ที่แต่ละชั้น

การเคลื่อนตัวสัมพัทธ์  ต้องมีค่าไม่เกิน 0.005 hx = 0.005  350 = 1.75 ซม.

เราสามารถตรวจสอบได้โดยตรงจากค่าในคอลัมน์ DRIFT-Y ว่ามีค่าเกิน 0.005 หรื อไม่

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 32


 เปลี่ยนหน่วยเป็ น Ton-m สั่งเมนู Display > Show Tables… คลิกปุ่ ม Select Cases/
Combos เลือกกรณี บรรทุก EQKY1 และ EQKY2 แล้วเลือกให้แสดง Story Shear

 จากตารางที่แสดงขึ้นมา ค่า Story Shear คือคอลัมน์ VY และโมเมนต์พลิกคว่าคือ MX

Seismic Design : Seismic Load ตามกฎกระทรวง 2550 By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 33

You might also like