You are on page 1of 21

coral resources

By Group 4
TOPICS
1. สถานการณ์ ของปะการัง ตั้งแต่ปี
2561-2564
2. ปะการังฟอกขาว
3. ผลกระทบทางบวกและทางลบ
4. แนวทางการแก้ไข
สถานการณ์ ปี 2561
จากข้อมูลของ National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA)
พบว่าอุณหภูมิน้ำทะเลมีแนวโน้มสูงขึ้นตั้งแต่ประมาณสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคม
2561 เป็นต้นมา โดยสาเหตุของการฟอกขาวดังกล่าวเกิดจากอุณหภูมิน้ำทะเลที่สูงขึ้น
ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงฤดูร้อนของประเทศไทย
ประกอบกับความล่าช้าของการเกิดลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (ซึ่งปกติจะต้องเกิดขึ้น
ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคม) ทำให้อุณหภูมิน้ำทะเลสูงอยู่เป็นเวลานาน
และปริมาณแสงที่ค่อนข้างมากในช่วงฤดูร้อนจนทำให้ปะการังเริ่มเกิดการฟอกขาวได้
สถานการณ์ ในปี 2561
สถานการณ์ ในปี 2562
เป็นสภาวะที่ปะการังสูญเสียสาหร่ายซูแซนเทลลี่ ซึ่งเป็นสาหร่าย
เซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ภายในเนื้อเยื่อ ทำให้ปะการังอ่อนแอ
เพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ และปะการังอาจตายไปในที่สุด หากไม่
สามารถทนต่อสภาวะนี้ได้
สาเหตุที่ทำให้ปะการังฟอกขาวเป็นพื้นที่กว้างครอบคลุมพื้นที่น่ านน้ำ
ในระดับประเทศหรือกินอาณาเขตกว้างในระดับภูมิภาคได้ คือ อุณหภูมิ
น้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างผิดปกติ
สถานการณ์ ในปี 2562
สถานการณ์ ปี 2563
ข้อมูลอุณหภูมิน้ำทะเลตรวจวัดจริงในพื้นที่ พบว่าอุณหภูมิสูงที่สุด
ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมและลดลงอย่างชัดเจนในสัปดาห์ สุดท้าย
ของเดือนพฤษภาคม แนวปะการังในทะเลอ่าวไทยได้รับผลกระทบจาก
อุณหภูมิน้ำทะเลที่สูงขึ้นมากกว่าทะเลอันดามัน โดยที่ฝั่ งอ่าวไทยแนว
ปะการังพบปะการังฟอกขาวได้ตั้งแต่ฟอกขาวเล็กน้อย (5%) - ฟอกขาว
รุนแรง (90%) พบฟอกขาวมากที่สุดในช่วงต้นเดือนมิถุนายน ในขณะที่
อันดามันไม่มีรายงานสถานีที่พบปะการังฟอกขาว (พบเพียงปะการังมีสี
จางลงในบางพื้นที่)
สถานการณ์ ในปี 2563
สถานการณ์ ในปี 2564
สถานภาพแนวปะการังในน่ านน้ำไทย 17 จังหวัด ในปี พ.ศ. 2564
พบว่าแนวปะการังฝั่ งทะเลอันดามันอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ดี ร้อยละ 54.8
สมบูรณ์ ปานกลาง ร้อยละ 26.3 และเสียหายร้อยละ 18.9
ส่วนฝั่ งอ่าวไทยแนวปะการังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ดี ร้อยละ 49.7 สมบูรณ์
ปานกลางร้อยละ 21.3 เสียหายร้อยละ 29.0 โดยจังหวัดที่มีพื้นที่แนวปะการัง
สถานภาพสมบูรณ์ ดีสูงที่สุด คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รองลงมา
คือ จังหวัดพังงา ส่วนจังหวัดที่มีพื้นที่แนวปะการังสถานภาพเสียหายสูงที่สุด
คือ จังหวัดตราด ทั้ งนี้ภาพรวมแนวปะการังฝั่ งทะเลอันดามันมีสถานภาพ
สมบูรณ์ มากกว่าฝั่ งอ่าวไทย
ปะการังฟอกขาว
CORAL BLEACHING

เป็นปรากฏการณ์ ที่เนื้อเยื่อปะการัง
มีสีซีดหรือจางลง จากการสูญเสีย
สาหร่ายซูแซนเทลลี (zooxanthellae)
ปะการังฟอกขาว
CORAL BLEACHING
ปะการังที่เกิดการฟอกขาวสามารถกลับคืนสู่
สภาพปกติได้ หากสาหร่ายซูแซนเทลลีกลับเข้าสู่
ปะการัง ภายใน 2-3 สัปดาห์ หลังจากนั้ นถ้าปะการัง
ยังขาดสาหร่ายซูแซนเทลลีอยู่ก็จะตายในที่สุด
ปะการังช่วงฟอกขาว

ปกติ ซีดจาง ฟอกขาว


ผลกระทบด้านลบ
ต่อปะการัง

อัตราการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ของปะการังบาง
ชนิดมีแนวโน้มลดลง อัตราการสูญพันธุ์เพิ่มมากขึ้น
ความหลากหลายทางสายพันธุ์ลดลง
ผลกระทบด้านลบ
ต่อมนุษย์์และสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศน์ เสื่อมโทรม
การใช้ชีวิตของชาวประมงแย่ลง เนื่องจากส่งผล
กระทบต่อการหาปลาและหาอาหาร
ความสวยงามของทะเลลดลง ซึ่งกระทบต่อการ
ท่องเที่ยว
ปะการังบางชนิดที่เป็นส่วนประกอบของยาหรือ
เวชสำอางบางชนิดก็จะขาดแคลน
ผลกระทบด้านบวก
ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลสมบูรณ์ มากยิ่งขึ้น
กระตุ้นเศรษฐกิจประเทศจากการที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว
ช่วยให้ชาวบ้านที่อยู่อาศัยบริเวณชุมชุนละแวกนั้ นมีกิจกรรมทำร่วมกัน
มนุษย์มีแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ และยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำและพืช
ที่อาศัยเฉพาะในแนวปะการัง เช่น เต่าทะเล และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
แนวปะการังเป็นแหล่งที่มาของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่น ปูนขาว
กระเบื้อง ทราย การมีแนวปะการังจะช่วยลด
การกัดเซาะชายฝั่ งของคลื่นและกระแสน้ำ
แนวทางการแก้ไข
สำหรับภาครัฐ
จากภาครัฐ การใช้เทคโนโลยีและแนวทางใหม่ๆ
ในการสำรวจติดตาม ลาดตระเวนปกป้ องธรรมชาติ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดค่าใช้จ่ายในด้านต่างๆ
เช่น Smart Patrol ทั้ งในทะเล และบนบก
แนวทางการแก้ไข
สำหรับภาคเอกชน
จากภาคเอกชน เช่น การขนส่งน้ำมันทางท่อ
ใต้ทะเล และตรวจเช็คสภาพท่อเป็นประจำเพื่อไม่
ให้เกิดการรั่วไหลของน้ำมันลงสู่ทะเล
แนวทางการแก้ไข
ตามความคิดเห็นของกลุ่ม
สามารถเริ่มได้จากตัวเราได้ด้วยวิธีการดังนี้
ลดการเผาสิ่งปฏิกูล
หลีกเลี่ยงการทำลายแนวปะการัง เช่น การทำระบบบำบัดน้ำเสีย
ระวังการใช้สารเคมีในการเกษตร เพราะเมื่อถูกชะล้างลงสู่ทะเล
จะส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง เช่น การล้างหน้าดินของภาคใต้
ไม่ทิ้งขยะตามชายฝั่ งทะเล
สมาชิกกลุ่ม 4
1.นายณพวีร์ ตุ้มหิรัญ 6330300259
2.นายภูมิอภิ​ลักษมณ์ ​พิมเสน​ 6330300682
3.นายนรเศรษฐ์ นาล้วน 6430300455
4.นางสาวเวธกา กล้าเผชิญโชค 6430300927
5.นายอัคราทร ทับพร 6430301087
6.นายซัลมาน ส่าหัส 6430300251
7.นางสาวพนิดา สุทธิสาร 6430300617
8.นางสาวเกศแก้ว จันทร 6530106600
9.นางสาวพิยดา สมัยคำ 6530106740
10.นางสาวโยธกาญจน์ อุปกา 6530106774
11.นางสาวนาตาชา วิเศษฐา 6530110771
THANK YOU

You might also like