You are on page 1of 2

ระดับการเตือนภัยนํ้าท่วม ลักษณะของอุทกภัย

ลักษณะการเตือนภัยมี 4 ประเภท มีความรุนแรงต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะภูมปิ ระเทศ และสิง่ แวดล้อม


1. การเฝ้าระวังนํ้าท่วม : มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดนํ้าท่วมและ ของแต่ละพื้นที่
อยู่ในระหว่างสังเกตการณ์
2. การเตือนภัยนํ้าท่วม : เตือนภัยจะเกิดนํ้าท่วม l น้�ำ ป่าไหลหลาก หรือน้ำ�ท่วม
3. การเตือนภัยนํ้าท่วมรุนแรง : เกิดนํ้าท่วมอย่างรุนแรง ฉับพลัน เกิดจากฝนตกหนัก
4. ภาวะปกติ : เหตุการณ์กลับสู่ภาวะปกติหรือเป็นพื้นที่ไม่ได้รับ บนภูเขาเป็นเวลานาน มีปริมาณ
ผลกระทบจากภาวะนํ้าท่วม มากจนพื้นดินและต้นไม้ดูดซับ
ไม่ไหวไหลลงสู่ที่ราบต่ำ�อย่าง
รวดเร็ว

l น้ำ�ท่วมขัง เกิดจากปริมาณ
น้ำ�ฝนสะสมจำ�นวนมากไหลบ่า
ในแนวระนาบ เข้าท่วมอาคาร

อุทกภัย
สาเหตุการเกิดอุทกภัย l จากฝนตกหนักบนภูเขา บ้านเรือน เรือกสวนไร่นา หรือ
ในเขตเมือง
ในประเทศไทยเกิดจากฝนตกหนักหรือฝนต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทำ�ให้ปริมาณน้ำ�บนภูเขา
อันเนื่องมาจาก หรื อ แหล่ งต้ น น้ำ�ไหลเชี่ ย ว
รุนแรงและไหลลงสูท่ ร่ี าบเชิงเขา l น้ำ�ล้นตลิ่ง เกิดจากปริมาณ
แนวปฏิบัติ จากธรรมชาติ หรือเรียกว่าน้ำ�ท่วมฉับพลัน น้ำ�ระบายลงสู่พื้นที่ลุ่มต่ำ�หรือ
ออกสู่ปากน้ำ�ไม่ทัน ทำ�ให้น้ำ�ล้น
ตลิ่งเข้าท่วมบ้านเรือน
เพื่ อความปลอดภัย l จากพายุฝนฟ้าคะนอง
มี ป ริ ม าณฝนตกหนั ก มาก
l จากน้ำ�ทะเลหนุน เมื่อระดับ
น้ำ�ทะเลขึ้นสูงจะหนุนให้ระดับ
3 ขั้นตอนพร้อมรับอุทกภัย
...เตรียมการรับมือ
จนไม่อาจระบายได้ทัน จึงไหล น้ำ�ในแม่น้ำ�สูงขึ้น ทำ�ให้น้ำ�
ลงสู่พื้นที่ลุ่มต่ำ� มักเกิดในช่วง ไม่อาจไหลลงสู่ทะเลได้ ก่อให้
ฤดูฝนหรือฤดูร้อน เกิดน้ำ�เอ่อท่วมล้นตลิ่ง
1 ติดตามข่าวสาร
ตรวจสอบสภาพอากาศ ประกาศ

อุทกภัย คือ ภัยหรืออันตรายที่เกิดจาก l จากพายุหมุนเขตร้อน


l จากมรสุมกำ�ลังแรง
ลมมรสุ ม ตะวั น ตกเฉี ย งใต้
เตือนภัย ระดับการขึน้ ลงของน้ำ�
พร้อมปฏิบัติตามคำ�เตือนอย่าง
น้ำ�ท่วม หรืออันตรายอันเกิดจากสภาวะที่น้ำ�ไหลเอ่อ ที่มีความรุนแรงมากทำ�ให้
และลมมรสุ ม ตะวั น ออก
เคร่งครัด
ล้นฝั่งแม่น้ำ� ลำ�ธาร หรือทางน้ำ� เข้าท่วมพื้นที่ หรือ เกิดพายุลมแรง ฝนตกหนัก
เฉียงเหนือทำ�ให้มีฝนตกหนัก
เกิดจากการสะสมน้ำ�บนพื้นที่ซึ่งระบายออกไม่ทัน เป็ น บริ เ วณกว้ า งและมี
น้ำ�ท่วมขัง
และเกิดน้ำ�ท่วมเป็นบริเวณ 2 วางแผนเตรียมรับมือ
เตรียมสิ่งของที่จำ�เป็น
ทำ�ให้พื้นที่นั้นปกคลุมไปด้วยน้ำ� กว้าง
l

ไว้ในถุงหรือกระเป๋าที่ป้องกันนํ้า สำ�เนาทะเบียนบ้าน

จากการกระทำ�ของมนุษย์ เช่น บัตรประชาชน ทะเบียนบ้าน


อาหารแห้ง นํ้าดื่ม ยาประจำ�ตัว
l การตัดไม้ทำ�ลายป่า เมื่อเกิด l การก่อสร้างขวางทางน้ำ� และอุ ป กรณ์ ป ฐมพยาบาล
ฝนตกหนักจะทำ�ให้น้ำ�ไหลเร็วขึ้น ธรรมชาติ ทำ�ให้กระทบต่อการ ไฟฉายพร้อมถ่าน เป็นต้น
ท้องน้ำ�ตื้นเขิน ไม่สามารถระบายน้ำ� ระบายน้ำ�และก่อให้เกิดน้ำ�ท่วม
ได้ทันที l แบ่งหน้าที่ ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
การขยายเขตเมืองลุกล้ำ� ในการเก็บและขนย้ายสิ่งของ
l
l การออกแบบทางระบายน้ำ� l ดูแลสมาชิกในครอบครัว ตัดสินใจ
พื้นที่ลุ่มต่ำ� ทำ�ให้ไม่มีที่รับน้ำ� ไม่เพียงพอ ทำ�ให้น้ำ�ล้นเอ่อใน
เมื่อน้ำ�ล้นตลิ่งก็จะเข้าไปท่วมพื้นที่ ย้าย เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ป่วย ออกนอก
เขตเมือง เนื่องจากการระบายน้ำ�ช้า
ลุ่มต่ำ�ซึ่งเป็นเขตเมือง พื้นที่โดยเร็ว
3 ลงมือเพื่ อป้องกันอุทกภัย l ระบบสื่อสาร เตรียม
โทรศัพท์มือถือ วิทยุพกพา
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กระทรวงมหาดไทย
เพื่อติดตามข่าวสาร และ
l กำ�แพงบ้าน ให้เสริม ขอความช่วยเหลือ
ความแข็งแรงด้วยการก่อ
ถุ ง ทรายมาวางไว้ ด้ า นใน การอพยพอย่างปลอดภัย
รั้วบ้าน l ชาร์จอุปกรณ์ พร้อมใช้ l อย่าใช้ยานพาหนะบนถนนที่น้ำ�ไหลเชี่ยว
24 ชั่วโมง เช่น ไฟฉาย วิทยุ เพราะความรุนแรงของน้ำ�อาจพัดพาหนะ
l ท่อระบายนํ้า เตรียม
ถุงทรายใส่ถุงดำ�อุดรูนํ้า
บริเวณพื้นห้องน้ำ� และ
โทรศัพท์มือถือ ให้เกิดอันตรายได้
l อย่าอพยพข้ามลำ�น้ำ�ที่มีระดับน้ำ�สูง
เหนือเข่า อาจไม่ปลอดภัยเพียงพอ
อุทกภัย
สุขภัณฑ์
GAS
l ย้ายสิ่งของไว้ในที่สูง
เช่น รถยนต์ อุปกรณ์
l เมื่อได้ยินเสียงน้ำ�ป่า ให้รีบวิ่งขึ้นไปอยู่บนที่สูงโดยทันที เพราะอาจถูก

สายน้ำ�พัดอันตรายได้ แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย
l ระวังต้นไม้ล้มทับบ้าน
ไฟฟ้า ถังก๊าซ เฟอร์นิเจอร์
หนังสือ เป็นต้น
l อย่าวางใจน้ำ�ท่วมเพียงอย่างเดียว
ในระหว่างหนีภัยน้ำ�ท่วมอาจเกิด ...เตรียมการรับมือ
ทำ�การคํ้ายันลำ�ต้นเอาไว้ ดินโคลนถล่มทำ�ให้เราเกิดอันตรายได้
ก่อนนํ้าจะท่วม l อย่าหนีภัยใกล้เสาไฟฟ้า อาจถูก

ไฟฟ้าดูดหรือช๊อตอันตรายถึงชีวิต
l พลาสติกกันนํ้า จะเป็น
l ปลั๊กไฟ สวิตซ์ ไฟ ตัดกระแสไฟ วัสดุทม่ี ปี ระโยชน์ โดยเฉพาะ การใช้ชีวิตอย่างปลอดภัย
ภายนอกบ้านป้องกันไฟฟ้าวิ่งเข้า แผ่นพลาสติกใช้หมุ้ อุปกรณ์
อุปกรณ์ และย้ายปลั๊กไฟให้สูงกว่า ต่างๆ ของบ้าน แม้กระทัง่ การ
l ควรดื่มน้ำ�ต้มสะอาด และปรุงอาหาร
ระดับน้ำ�ที่เคยท่วมถึง หุ้มป้องกันตัว ให้สุกก่อนรับประทาน เพื่อป้องกันอาการ
ท้องร่วง
l ป้องกันเชื้อโรคระบาด ต้องรวบรวมขยะ เศษ
l ป้องกันสัตว์เลือ้ ยคลาน l อาหาร นํ้าดื่ม และยา อาหารไว้ในถุงขยะ หรือทิ้งในที่ปลอดภัย
ควรอุดช่องประตูหน้าต่าง ให้เตรียมพร้อมสำ�หรับ
หรือที่ผนังบ้าน และเตรียม ทุกคนประมาณ 3-7 วัน l หมั่นติดตามข่าวสาร เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ยาฉีดกันแมลง เช่น ยาแก้ปวดลดไข้ แก้ จากเจ้าหน้าที่ผู้ช่วยเหลือ และอาสาสมัคร
ท้องเสีย ยารักษาโรคนํา้ กัด
และยาประจำ�ตัว อันตรายที่พึงระวัง
l สุขา ให้อุดด้วยถุงทราย l ต้องระวังอันตรายจากกระแสไฟฟ้าทั้งในและนอกบ้าน
และปิดฝาผูกเชือกให้แน่น l พึงระวังอันตรายจากสัตว์มีพิษพวกสัตว์เลื้อยคลาน
ป้องกันแรงดันน้ำ�จากภายนอก l วางแผนอพยพ ว่าจะ l อย่าปล่อยให้เด็กเล็กว่ายน้ำ� หรือพายเรือเล่นตามลำ�พัง
ปูนขาว
อย่างดี จะทำ�ให้ “ระเบิด” เดินทางไปที่ใด เช่น ทางเรือ l ควรเช็คระดับความลึกของน้ำ�ก่อนออกนอกบ้านทุกครั้ง
ทางรถ พักที่ใด กับใคร

l ประตู หน้าต่าง เสริม


ความแน่นหนา โดยใช้ไม้
ตีพาดขวาง ซึ่งช่วยรับ
แรงดันนํ้าได้ หลักสำ�คัญด้านจิตใจ
คือการตั้งสติให้รอบคอบ
ไม่ตระหนกจนเกินไป กองเผ ยแพร่และประชาสัมพันธ์
ซึ่งจะทำ�ให้ผู้ประสบภัย
สามารถช่วยเหลือ ตนเองและ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย , ,
ผ ู้อื่นได้ตามศักยภาพ ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย
ของตนเอง 3/12 ถนนอู่ทองนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทรศัพท์ / โทรสาร : 0 - 2243 - 0674, 0 - 2243 - 2200 สายด่วนนิรภัย 1784 www.disaster.go.th

You might also like