You are on page 1of 2

‘อัคคีภัย’

การอพยพออกจากพื้ นที่เกิดเพลิงไหม้

ภั ย ใกล้ ต ั ว ป้ อ งกั น ได้ ต้ อ งใส่ ใจไม่ ป ระมาท ใช้ผ้าชุบนำ�้ ปิดจมูกและปาก หรือใช้ถุง


พลาสติกใสขนาดใหญ่อัดอากาศบริสุทธิ์
แล้วนำ�มาครอบศีรษะ เพื่อป้องกันการสูดดม
อัคคีภัย เป็นภัยใกล้ตัวที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ส่วนใหญ่ ควันไฟเข้าสู่ร่างกาย ทำ�ให้หมดสติและ
มีสาเหตุจากความประมาท และความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เสียชีวิต
ซึ่งแต่ละครั้งที่เกิดเพลิงไหม้ สร้างความสูญเสียต่อชีวิต
และทรัพย์สินอย่างมหาศาล โดยเฉพาะหากเกิดในชุมชนแออัด กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)
อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่ ห้างสรรพสินค้า และโรงงานอุตสาหกรรม หมอบคลานตำ่�หรือย่อตัวใกล้
จะสร้างความเสียหายมากขึ้น เพื่อความปลอดภัย กระทรวงมหาดไทย กับระดับพื้นมากที่สุด เนื่องจาก
โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ขอแนะวิธีป้องกันเพลิงไหม้ อากาศบริสุทธิ์อยู่เหนือระดับพื้น
รวมถึงการปฏิบัติตนและอพยพออกจากอาคารที่เกิดเพลิงไหม้อย่าง 1 ฟุต
ไม่เกิน 1 ฟุต เพื่ออพยพไปสู่
ปลอดภัย ดังนี้ ประตูทางออกฉุกเฉินที่ ใกล้ที่สุด

วิธีป้องกันเพลิงไหม้ เพิ่มความระมัดระวังในการ การปฏิบัติตนเมื่อเกิดเพลิงไหม้


ใช้บันไดหนีไฟในการอพยพออก
ประกอบกิจกรรมเกี่ยวกับไฟ ตั้งสติ ไม่ตื่นตระหนก ประเมินสถานการณ์ ในเบื้องต้น จากอาคาร เนื่องจากมีช่องระบาย
จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม บ้ า น
ให้ ป ลอดภั ย จากเพลิ ง ไหม้
ไม่จุดยากันยุงหรือธูปเทียนทิ้งไว้ อากาศ จึงช่วยลดการสูดดมควันไฟ
โดยไม่ดูแล ดับไฟก้นบุหรี่ ให้สนิท เพลิงไหม้เล็กน้อย
โดยกำ�จัดวัสดุที่เป็นเชื้อเพลิง ใช้ถังดับเพลิงควบคุมเพลิงในเบื้องต้น เข้าสู่ร่างกาย
เก็ บ แยกสารเคมี ที่ ติ ด ไฟง่ า ย ก่อนทิ้ง ไม่เผาขยะหรือหญ้าแห้ง l

บริ เ วณที่ มี วั ส ดุ ติ ด ไฟง่ า ยและ l โทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่มาควบคุมเพลิง


ให้ห่างจากแหล่งความร้อน ไม่จัดเก็บ เสี่ยงต่อการเกิดไฟลุกลาม
สิ่งของกีดขวางประตูทางออก
ฉุกเฉิน และบันไดหนีไฟ ไม่ ใ ช้ บั น ไดภายในอาคาร
เพลิงไหม้รุนแรง เป็ น เส้ น ทางอพยพหนี ไ ฟ
ใช้ ง านก๊ า ซหุ ง ต้ ม ด้ ว ยความ ตะโกนบอกหรือกดสัญญาณเตือน เพราะบันไดมีลักษณะเป็นปล่อง
เลือกใช้อปุ กรณ์ ไฟฟ้าที่ ได้มาตรฐาน l

ระมัดระวัง โดยตรวจสอบถังก๊าซ เพลิงไหม้ เพื่อแจ้งให้ผู้อื่นทราบ ทำ � ให้ ค วั น ไฟและเปลวเพลิ ง


ไม่ ใช้เครื่องใช้ ไฟฟ้าที่มีราคาถูก เลือกใช้ ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ วาล์วถังก๊าซ ลอยตัวขึ้นมาปกคลุม
สายไฟที่มีขนาดเหมาะสมกับปริมาณ 199 l อพยพออกจากพื้นที่เกิดเพลิงไหม้
กระแสไฟฟ้า ไม่นำ�เครื่องใช้ ไฟฟ้าที่ชำ�รุด สายยางหรือท่อนำ�ก๊าซไม่มีรอยรั่ว l โทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่มาควบคุมเพลิง
มาใช้งาน เพราะเสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ จัดวางถังก๊าซให้ห่างจากบริเวณ ในทันที
จากไฟฟ้าลัดวงจร ทีม่ ปี ระกายไฟ รวมถึงปิดวาล์วถังก๊าซ
ทุกครั้งหลังใช้งาน ห้ามใช้ลิฟต์ ในการอพยพหนี ไฟ
ก่อนออกจากห้องให้ใช้มือสัมผัสผนังหรือลูกบิดประตู เพราะเมื่อเกิดเพลิงไหม้ ไฟฟ้าจะดับ
ตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าให้อยู่ หากไม่ร้อน ทำ�ให้ติดค้างภายในลิฟต์ ขาดอากาศ
ในสภาพใช้งานได้อย่างปลอดภัย ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันและระงับเหตุเพลิงไหม้ อาทิ ถังดับเพลิง l เปิดประตูออกไปช้าๆ หายใจเสียชีวิตได้
โดยเฉพาะเครื่องใช้ ไฟฟ้าที่เกี่ยวข้อง เคมี เครื่องตรวจจับควันไฟ สัญญาณเตือนเพลิงไหม้บริเวณจุดเสี่ยง l อพยพไปตามเส้นทางหนีไฟทีป่ ลอดภัย
กับนำ�้ มีมอเตอร์เป็นส่วนประกอบ พร้อมติดตั้งเครื่องตัดกระแสไฟฟ้าอัตโนมัติ และเบรกเกอร์บริเวณ หากมีความร้อนสูง
อยู่ภายนอกอาคาร ซึ่งมีแสงแดดส่อง แผงควบคุมไฟฟ้า l ห้ามเปิดประตูออกไป เพราะมีเพลิงไหม้
และฝนสาด ทำ�ให้ชำ�รุดได้ง่าย บริเวณใกล้เคียง
l ใช้ผา้ หนาๆ ชุบนำ�้ อุดตามช่องทีค่ วันไฟ
ใช้ ง านเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า งถู ก วิ ธี
สามารถลอยเข้ามาได้
ไม่เปิดใช้เครื่องใช้ ไฟฟ้าติดต่อกันเป็นเวลานาน
l ปิดพัดลมระบายอากาศและเครื่อง
ไม่เสียบปลั๊กไฟหลายอันกับเต้าเสียบ ปรับอากาศ เพื่อป้องกันการสูดดม 199

เดียวกัน พร้อมปิดสวิตช์ ไฟและถอดปลั๊กไฟ ควันไฟ


ทุกครั้งหลังใช้งาน เพื่อป้องกันเพลิงไหม้
l โทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่และส่งสัญญาณ
ให้ผู้อื่นทราบ
ข้อควรรูใ้ นการอพยพหนีไฟ กรณีไฟลุกลามติดเสื้อผ้า ให้รีบ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ถอดเสื้อผ้าหรือใช้วิธีนอนราบกับพื้น กระทรวงมหาดไทย
ไม่เข้าไปอยู่ ในบริเวณที่เป็นจุดอับ และกลิ้งตัวไปมาให้ ไฟดับ ห้ามวิ่ง
ของอาคาร อาทิ ห้องใต้ดิน เพราะยาก อย่างเด็ดขาด เพราะไฟจะลุกลาม
รวดเร็วขึ้น
‘อัคคีภัย’
ต่อการช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่
เพราะ
ไม่หนีไฟเข้าไปอยู่ ในห้องนำ�้ กรณีติดอยู่ ในอาคาร ให้ โทรศัพท์
ปริมาณนำ�้ ไม่เพียงพอต่อการดับไฟ แจ้งเหตุ พร้อมระบุตำ�แหน่งที่ติดอยู่
ทำ�ให้ถูกไฟคลอกเสียชีวิตได้ หรือส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ
จากเจ้าหน้าที่หรือผู้ที่อยู่ภายนอกอาคาร ภัยใกล้ตัวป้องกันได้
อาทิ ใช้ ไฟฉาย โบกผ้า เป่านกหวีด
ไม่ ขึ้ น ไปชั้ น บนหรื อ ดาดฟ้ า ของ
อาคาร เพราะไฟจะลุกลามจากชั้นล่าง
ต้องใส่ ใจไม่ประมาท
ห้ามกลับเข้าไปในอาคาร
ขึ้นสู่ชั้นบน ทำ�ให้เสี่ยงต่อการได้รับอันตราย ที่เกิดเพลิงไหม้ เพราะเสี่ยง การใช้ถังดับเพลิงเหมาะสมกับประเภทเชื้อเพลิง จะทำ�ให้
ดา
ดฟ

ยกเว้นกรณีที่ ไม่สามารถอพยพหนี ไฟ
้า

ต่ อ การถู ก ไฟคลอกหรื อ สามารถควบคุมเพลิงไม่ ให้ลุกลามและขยายวงกว้าง


ลงสู่ชั้นล่างของอาคารได้ อาคารถล่มทับ แต่หากใช้ถังดับเพลิงควบคุมไฟผิดประเภท นอกจาก
จะไม่สามารถระงับเหตุเพลิงไหม้ได้แล้ว อาจก่อให้
การเลือกใช้ ถังดับเพลิงให้เหมาะสมกับประเภทเชื้ อเพลิง วิธีใช้ งานถังดับเพลิง เกิดอันตรายต่อผู้ใช้งาน

ชนิดผงเคมีแห้ง ใช้ดับไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงได้เกือบ
ทุกประเภท ยกเว้นเพลิงไหม้ที่เกิดจากนำ�้ มันที่ติดไฟยาก A ดึง
ดึงสลักนิรภัยออกจากคันบีบบริเวณหัว หมายเลขโทรศั พท์แจ้งเหตุฉุกเฉิน
เมื่อฉีดพ่นออกมาจะมีลักษณะเป็นฝุ่นละอองฟุ้งกระจาย B
จึงเป็นอุปสรรคต่อการดับเพลิง รวมถึงก่อให้เกิด C ถังดับเพลิง โดยหมุนสลักจนตัวยึดขาด
คราบสกปรก และดึงสลักทิ้ง แจ้งเหตุด่วนเหตุรา้ ย 191
ดึง
A แจ้งเหตุไฟไหม้ – ดับเพลิง 199
B ชนิดเคมีสูตรนำ�้ ใช้ดับไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงทั่วไป ของเหลว
C ติดไฟ ก๊าซ เครื่องใช้ ไฟฟ้า อุปกรณ์ ไฟฟ้า และนำ�้ มัน ปลด การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค 1129
ที่ติดไฟยาก เหมาะสำ�หรับควบคุมเพลิงในห้องครัว เนื่องจาก ปลดสายฉีดออกจากตัวถังดับเพลิง การไฟฟ้านครหลวง 1130
D
สามารถดับไฟที่เกิดจากนำ�้ มันประกอบอาหารได้ โดยดึงจากปลายและใช้มือจับสายฉีดให้
K มั่นคง หน่วยกู้ชีพวชิ รพยาบาล 1554
ปลด
ชนิดนำ�้ ยาเหลวระเหย เหมาะสำ�หรับควบคุมเพลิงไหม้ หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน (กทม.) 1646
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ห้องไฟฟ้า ห้องเก็บอุปกรณ์ B
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ 1669
อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า และเครื่องใช้สำ�นักงาน C กด
เนื่องจากไม่ทำ�ให้เกิดคราบสกปรก กดคันบีบด้านบนของถังดับเพลิง เพื่อให้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1784
นำ�้ ยาดับเพลิงพุ่งออกจากหัวฉีดไปยังต้นเพลิง
ชนิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เหมาะสำ�หรับควบคุม กด
A เพลิงไหม้สถานีบริการนำ�้ มัน ก๊าซที่ฉีดออกมาจะเป็นไอเย็นจัด
B คล้ายนำ�้ แข็งแห้ง จึงช่วยลดความร้อนของไฟได้ รวมถึง
C ไม่ท�ำ ให้เกิดคราบสกปรก แต่ไม่เหมาะสำ�หรับนำ�ไปใช้ ในบริเวณ
ที่ไม่มีอากาศถ่ายเท เพราะทำ�ให้ขาดอากาศหายใจเสียชีวิตได้
ส่าย
ส่ายหัวฉีดของถังดับเพลิงให้ทั่วบริเวณ
ชนิดโฟม เหมาะสำ�หรับดับเพลิงในภาคอุตสาหกรรม ต้นเพลิง
ส่ าย
เชื้อเพลิงประเภททินเนอร์ และสารระเหยติดไฟ เมื่อฉีด
พ่นออกมาจะมีลักษณะเป็นฟองโฟมปกคลุมเชื้อเพลิง A กองเผ ยแพร่และประชาสัมพันธ์
B ทั้งนี้ ผู้ใช้งานถังดับเพลิงควรอยู่ห่างจากบริเวณที่เกิด
ที่ลุกไหม้ แต่มีนำ�้ เป็นส่วนประกอบ หากนำ�ไปดับเพลิง
เพลิงไหม้ประมาณ 2 - 4 เมตร ทางด้านเหนือลม จะช่วย
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย , ,
ที่เกิดกับเครื่องใช้ ไฟฟ้าและอุปกรณ์ ไฟฟ้า จะทำ�ให้
ผู้ ใช้งานถูกไฟฟ้าดูดได้ เพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมเพลิง 3/12 ถนนอู่ทองนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 ป้องกันภัยเชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกิดภัย
โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2243-0674 0-2243-2200 สายด่วนนิรภัย 1784 www.disaster.go.th

You might also like