You are on page 1of 14

กรมบังคับคดี

กระทรวงยุติธรรม

แผนภูมิแสดงขั้นตอน
การบังคับคดี
FLOWCHART OF
ENFORCEMENT
10%

FINISH
29%
30%

PROCESS
31%

3
2 75%

1
700

600

500

400

300

200

100

0
A B C D E F

START
http : www.facebook.com
กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
10%
29%
30%

31%

FINISH

แผนภูมิแสดงขั้นตอน
การบังคับคดี
75%

700

600

500

400

300

200

100

0
A B C D E F

พิมพ์ครั้งที่ 1 : สิงหาคม 2560


จำ�นวน 50,000 เล่ม
ปรับแก้ไขตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลวิธีพิจารณาความเพ่ง
(ฉบับที่ 30 พ.ศ. 2560)
กรมบังคับคดี แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการยึดทรัพย์ การบังคับคดี
2

ในกรณีมเี หตุขดั ข้องทำ�ให้ไม่อาจยึดทรัพย์ของลูกหนีไ้ ด้ เจ้าพนักงานบังคับคดีพจิ ารณาคำ�ขอยึดทรัพย์


เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำ �นาจสั่งห้ามการจำ �หน่าย
จ่ายโอนทรัพย์นั้นเป็นการชั่วคราวได้เท่าที่จ�ำ เป็นตาม เจ้าพนักงานบังคับคดีด�ำ เนินการตามหมาย
มาตรา 296 ปฏิบัติตาม มาตรา 278, 284

ทั้งนี้ การบังคับคดีกับทรัพย์สิน ที่มีชื่อบุคคลอื่นเป็น ยึดอสังหาริมทรัพย์ ยึด ณ ที่ทำ�การ


เจ้าของ เจ้าพนักงานบังคับคดี มีอำ�นาจสัง่ ห้ามจำ�หน่าย แจ้งการยึดไปยังจำ�เลย/นายทะเบียน/
จ่ายโอน มาตรา 298 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาตรา 312

การยึดสังหาริมทรัพย์ มาตรา 303-304

การยึดทรัพย์สิน (มาตรา 305-311)


การยึดหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (มาตรา 305)
การยึดตั๋วเงินหรือตราสารเปลี่ยนมือ (มาตรา 306)
การยึดหุ้นในห้างหุ้นส่วนจำ�กัดหรือบริษัทจำ�กัด (มาตรา 307)
การยึดสิทธิในสิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ที่ได้จดทะเบียนหรือขึ้นทะเบียนไว้แล้ว (มาตรา 308)
การยึดสิทธิเครื่องหมายการค้าที่ยังมิได้จดทะเบียน ลิขสิทธิ์ สิทธิขอรับสิทธิบัตร สิทธิในชื่อทางการค้าหรือยี่ห้อ (มาตรา 309)
การยึดสิทธิการเช่าทรัพย์สินหรือสิทธิที่จะได้ใช้บริการต่างๆ ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได้ (มาตรา 310)
การยึดสิทธิตามใบอนุญาต ประทานบัตร อาชญาบัตร สัมปทาน (มาตรา 311)
กรมบังคับคดี
กระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการอายัดเงินในคดีแพ่ง แผนภูมิแสดงขั้นตอน
การบังคับคดี
3
ตรวจรับหมายบังคับคดีและคำ�ขออายัดเงิน

คำ�สัั่งห้าม กรณีอายัดเงินชำ�ระในคราวเดียว กรณีศาลสัง่ อายัดเงินนัน้ ไว้ชวั่ คราว


คิดยอดหนี้ตามคำ�พิพากษา ก่อนพิพากษาเมื่อศาลออกหมาย
บังคับคดีแล้ว การอายัดมีผลต่อเนือ่ ง
ในกรณีมีเหตุขัดข้องทำ�ให้ไม่อาจยึดทรัพย์ของ
ลูกหนี้ได้เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำ�นาจสั่งห้าม สั่งโจทก์วางเงินค่าใช้จ่าย และดำ�เนินการ
การจำ�หน่ายจ่ายทรัพย์นั้นเป็นการชั่วคราวได้
เท่าที่จำ�เป็นตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ออกหมายแจ้งคำ�สั่งอายัดให้ลูกหนี้ฯ และ
ความแพ่ง มาตรา 296 หนังสือแจ้งอายัดเงินไปยังบุคคลภายนอก
ให้ส่งเงิน (มาตรา 316-317)

ทัง้ นี้ การบังคับคดีกบั ทรัพย์สนิ ทีม่ ชี อื่ บุคคลอืน่


ผลของการอายัดสิทธิเรียกร้อง (มาตรา 318-320)
เป็นเจ้าของเจ้าพนักงานบังคับคดี มีอำ�นาจ
สัง่ ห้ามจำ�หน่ายจ่ายโอน ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 298 บุคคลภายนอกส่งเงินที่อายัด บุคคลภายนอกไม่ส่งเงินที่อายัด
โดยไม่แจ้งเหตุขัดข้อง หรือปฏิเสธ
บุคคลภายนอกปฏิเสธหนี้
รับเงินส่งฝ่ายการเงิน มีหนังสือแจ้งเตือนไป
และแจ้งตอบรับเงิน
โดยสิ้นเชิง ไม่ปฏิเสธ
อายัดไม่เป็นผล โดยสิ้นเชิง แจ้งให้เจ้าหนี้ตามคำ�พิพากษาทราบ
โจทก์ยื่นขอรับเงิน และเจ้าหนี้ตามคำ�พิพากษาอาจขอให้
ศาลเรียกบุคคลภายนอกส่งเงินที่อายัด
แจ้งโจทก์ทราบ มีหนังสือชี้แจ้ง
หรือเตือนไป ตรวจสารระบบ รอพ้น 15 วัน
ล้มละลาย ตามมาตรา 326 ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีแก่
คิดค่าธรรมเนียม บุคคลภายนอกเสมือนว่าเป็นลูกหนี้
โจทก์ต้องชำ�ระ ไม่ส่งเงิน ตามคำ�พิพากษา ป.วิ.พ. มาตรา 321
ส่งฝ่ายบัญชี
เจ้าหนี้ตามคำ�พิพากษารายงานศาล แจ้งลูกหนี้ตามคำ�พิพากษา
และขอให้ศาลเรียกบุคคลภายนอก อายัดครบหนี้โจทก์
ส่งเงินที่อายัด แสดงรายการ รับ-จ่าย
แจ้งถอนอายัดไป (มาตรา 337-339)
ยังบุคคลภายนอก รายงาน
ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีแก่ ในกรณีชำ�ระเป็น ศาลถอน
การบังคับคดี กรณีเจ้าหนี้หลายคนแจ้งเจ้าหนี้
บุคคลภายนอก เสมือนว่าเป็นลูก คราวๆ และลูกหนี้ตรวจรับรองบัญชี
หนีต้ ามคำ�พิพากษา ตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กรณีการคัดค้านบัญชี
มาตรา 325 วรรค 5 ให้ไปร้องศาล (มาตรา 342) เสนอบัญชีแสดงรายการ
รับ-จ่าย ให้ศาลทราบ
รอคำ�สั่ง
กรมบังคับคดี แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการขายทอดตลาดทรัพย์ การบังคับคดี
4
สำ�นวนยึดทรัพย์สิน อายัดสิทธิเรียกร้อง หรือมีการส่งมอบ
ทรัพย์สินตามสิทธิเรียกร้องที่ถูกอายัดและไม่มีเหตุอันใดที่
จะทำ�ให้ตอ้ งงดการบังคับคดีไว้กอ่ น (มาตรา 331 วรรคแรก)

ตรวจสำ�นวนพิมพ์ประกาศขายโดยกำ�หนดวันขายทอดตลาดครั้งแรกไม่น้อยกว่า
60 วัน นับแต่วันยึดอายัดหรือส่งมอบทรัพย์สินนั้น และแจ้งกำ�หนดวัน เวลาและ
สถานที่ซึ่งจะทำ�การขายให้ผู้มีส่วนได้ส่วยเสียทราบ (มาตรา 331 วรรคสอง)

กำ�หนดวิธกี ารขายทอดตลาด (มาตรา 333)

ทรัพย์สินที่ขายทอดตลาดเป็นชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด หรือเป็นที่ดินจัดสรรตาม
กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดินให้เจ้าพนักงานบังคับคดีบอกกล่าวให้นิติบุคคลอาคารชุด หรือ
นิติบุคคลหมู่บ้านจัดสรรแจ้งรายการหนี้ค่าใช้จ่ายที่ต้องชำ�ระเพื่อออกใบปลดหนี้ตามกฎหมาย
อาคารชุดหรือแจ้งรายการหนี้ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดินแล้วแต่กรณี ต่อเจ้าพนักงาน
บังคับคดี ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับคำ�บอกกล่าว (มาตรา 335)

งดขาย ดำ�เนินการขาย

ถอนการยึด หรือ
สังหาริมทรัพย์ งดการบังคับคดี ถอนการบังคับคดี
- ไม่มีผู้เข้าสู้ราคา เจ้าหนี้ขอถอนยึด
- เจ้าหนี้ไม่มานำ�ขาย เจ้าหนี้ขอให้งด
- ส่งประกาศไม่ชอบ หรือไม่วางค่าใช้จ่าย ลูกหนี้ชำ�ระหนี้ครบตามหมายและหนี้
ของผูร้ อ้ งเฉลีย่ ทีศ่ าลมีค�ำ สัง่ อนุญาตแล้ว
ตามมาตรา 278 วรรคสาม
อสังหาริมทรัพย์ คำ�สั่งงด
- ไม่มีผู้เข้าสู้ราคา หรือพิจารณาคดีใหม่
คำ�พิพากษาถูกกลับ
- ส่งประกาศไม่ชอบ หรือทุเลาการบังคับคดี
- แจ้งถอนการยึด
- คืนทรัพย์ที่ยึด
- เก็บค่าฤชาธรรมเนียม

รายงานศาล
กรมบังคับคดี แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการขับไล่ - รื้อถอน การบังคับคดี
5
กรณียังมีผู้อาศัย - ปิดประกาศขับไล่ โดยกำ�หนดให้บุคคล มีผู้ยื่นคำ�ร้อง
อยู่ในบ้านพิพาท ซึ่งอ้างว่ามิได้เป็นบริวารของลูกหนี้ฯ แสดงอำ�นาจ รอฟังคำ�สั่งศาล
มาตรา 351(2), 353 ยื่นคำ�ร้องแสดงอำ�นาจพิเศษต่อศาล พิเศษต่อศาล
ภายใน 15 วัน นับแต่วันประกาศ ภายในกำ�หนด
- รายงานศาลเพื่อให้ออกหมายจับลูกหนี้ฯ ศาลอนุญาต ศาลยกคำ�ร้อง
หรือบริวาร
- เมื่อมีการจับกุมลูกหนี้ฯ หรือบริวารตาม
หมายจับ หรือบุคคลดังกล่าวได้หลบหนีไป ไม่มีผู้ยื่นคำ�ร้องแสดง ดำ�เนินการ
ขับไล่ จากทรัพย์พิพาทแล้ว ให้ดำ�เนินการส่งมอบ อำ�นาจพิเศษต่อศาล ตามคำ�สั่งศาล
มาตรา 350-354 การครอบครองแก่เจ้าหนี้ฯ ต่อไป ภายในกำ�หนด

เจ้าหนี้ตามคำ�พิพากษา รายงานศาล
ออกหมายจับกุม และกักขังจำ�เลย
ดำ�เนิการ โจทก์ดำ�เนินการจับกุม และบริวาร (ถ้ามี) ส่งเอกสาร ทร.
ครอบครอง จำ�เลยและบริวาร 14/1*ของจำ�เลยและบริวารที่จะ
บ้านพิพาท ออกไปจากบ้านพิพาท ออกหมายจับกุมและกักขัง ป.วิ.พ.
ตามมาตรา 361

มีทรัพย์สินอยู่ ให้รวบรวมและทำ�บัญชีสิ่งของ จำ�เลยไม่มารับทรัพย์สินคืน


ในบ้านพิพาท นั้นไว้และเรียกจำ�เลยรับคืน ให้ขายแล้วเก็บเงินไว้แทน
ภายในกำ�หนด

กรณีไม่มีผู้อาศัย
อยู่ในบ้านพิพาท ถูกยึดไว้ในคดีนั้น ให้มีอำ�นาจย้ายสิ่งของไป
มาตรา 351(1), 352 เก็บไว้ ณ สถานที่ที่เห็นสมควร และแจ้งศาล จำ�เลยขอรับทรัพย์สินคืน-ส่งให้
หรือเจ้าพนักงานบังคับคดีในคดีอื่นทราบด้วย

ไม่มีทรัพย์สินอยู่ ส่งมอบการครอบครอง รายงานศาล


ในบ้านพิพาท

ดำ�เนินการรื้อถอน ให้รวบรวมและทำ�บัญชี
จำ�เลยไม่มารับทรัพย์สินคืน
รื้อถอน และขนย้ายโดยจำ�เลย สิ่งของนั้นไว้และเรียก
ให้ขายแล้วเก็บเงินนั้นไว้แทน
เป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย จำ�เลยรับคืนภายในกำ�หนด

เมื่อครบกำ�หนด ถูกยึดไว้ในคดีอื่น ให้มีอำ�นาจย้ายสิ่งของไป จำ�เลยขอรับ


โจทก์นำ�เจ้าพนักงาน จำ�เลยยังไม่รื้อถอน เก็บไว้ ณ สถานที่ที่เห็นสมควร และแจ้งศาล ทรัพย์สิน
บังคับคดีไปปิดประกาศ หรือเจ้าพนักงานบังคับคดีในคดีอื่นทราบด้วย คืน-ส่งให้
กำ�หนดวันรื้อถอนไว้
ไม่น้อยกว่า 15 วัน
จำ�เลยรื้อถอนไปเอง
(ก่อนครบกำ�หนด) การส่งมอบครอบครอง รายงานศาล
กรมบังคับคดี แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการบังคับคดีล้มละลาย การบังคับคดี
6


ศาล
คำ�สั่งพิทักษ์ทรัพย์ รวบรวมทรัพย์สินของลูกหนี้ตาม ม. 109
เพื่อแบ่งทรัพย์สินให้บรรดาเจ้าหนี้

เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ มีอำ�นาจจัดการกิจการและทรัพย์สิน
ของลูกหนี้ตาม ม. 19, 22

ประกาศแจ้งคำ�สั่ง หมายเรียกลูกหนี้มาให้การสอบสวน
เกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สิน


ตรวจคำ�ขอรับชำ�ระหนี้ ลูกหนี้มาให้การสอบสวน ลูกหนี้ไม่มาให้การสอบสวน
และประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก

ศาลนัดไต่สวนโดยเปิดเผย รายงานศาลขอออกหมายจับ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานผล
การประชุมเจ้าหนี้-ไต่สวน
โดยเปิดเผย-พิจารณา ลูกหนี้ไปให้การไต่สวน ลูกหนี้ไม่ไปให้การไต่สวน
คำ�ขอประนอมหนี้ โดยเปิดเผย โดยเปิดเผย

พิพากษาให้ล้มละลาย เห็นชอบ ก รณีลูกหนี้เป็นบุคคลธรรมดา ภายหลังจากที่ศาล

ไม่เห็นชอบด้วยการประนอมหนี้ พิพากษาให้ล้มละลาย
การจัดการทรัพย์สิน


ประกาศแจ้งคำ�พิพากษา / คำ�สั่ง
ลูกหนี้มิได้เป็น
บุคคลตาม ม. 81/1 บุคคลตาม ม. 81/1
ลูกหนี้เป็น


ได้รับการปลดจากการ จพท. ยื่นคำ�ขอหยุด
แบ่งทรัพย์สิน-ขยายแบ่ง ล้มละลายโดยผลของ นับระยะเวลาในการที่ลูกหนี้
กฎหมายเมื่อพ้นกำ�หนด จะได้รับการปลดจากการ
ระยะเวลา 3 ปี นับแต่ศาล ล้มละลาย ก่อนระยะเวลา 3 ปี
ปิดคดี พิพากษาให้ล้มละลายตาม ม. 81/1 ตาม ม. 81 / 1 ต่อศาล
10 ปี

ในกรณีที่ลูกหนี้เป็นนิติบุคคล ประกาศแจ้งเรื่อง ศาลไต่สวน
และมิใช่เป็นกรณีที่ผู้ชำ�ระบัญชี การปลดล้มละลาย และมีคำ�สั่ง
ร้องขอให้ลูกหนี้ล้มละลาย ของลูกหนี้ ตาม ม. 81 /1
จพท. จะรายงานศาลขอยกเลิก
การล้มละลายของนิติบุคคลนั้น



ยกเลิกการล้มละลาย
เมื่อครบกำ�หนดตามคำ�สั่งศาล
และครบระยะเวลา 3 ปี
ประกาศแจ้งคำ�สั่ง นับแต่ศาลพิพากษา
กรมบังคับคดี ขั้นตอนการตรวจรับรองบัญชี แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม
เพื่อจ่ายเงิน คดีแพ่ง การบังคับคดี
7
เงินที่ได้จากการขายหรืออายัด

ทำ�บัญชีแสดงรายการรับ-จ่ายเงิน

ตรวจสอบความถูกต้องของบัญชี

เจ้าหนี้ 1 ราย เจ้าหนี้ และผู้มีส่วนได้เสีย

รับรองบัญชี คัดค้านบัญชี **รอพ้นระยะเวลาคัดค้านบัญชี


ส่งจ่ายเงิน เจ้าพนักงาน รับรองบัญชี คัดค้านบัญชี
พิจารณา
ส่งแก้ไข/สั่งยืน

ร้องต่อศาล ส่งจ่ายเงิน เจ้าพนักงาน


(หากไม่พอใจคำ�สั่ง) พิจารณาส่งแก้ไข/ยืน

ร้องต่อศาล
(หากไม่พอใจคำ�สั่ง)

หมายเหตุ **ระยะเวลาการคัดค้านบัญชี 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือ


กรมบังคับคดี ขั้นตอนการขอรับเงิน แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม
คดีแพ่ง การบังคับคดี
8
สำ�นักงานบังคับคดีแพ่ง
**หลักฐาน กรุงเทพมหานคร 1-6
บุคคลธรรมดา
- มารับด้วยตนเอง ยื่นหนังสือแจ้ง พร้อมคำ�แถลงขอรับเงิน
1.บัตรประชาชน หรื อ ต่อเจ้าหน้าที่
บัตรอื่นที่ทางราชการ สำ�นักงานบังคับคดี
ออกให้มีรูปถ่ายกำ�กับ จังหวัด/สาขา
- มอบอำ�นาจ
1.ใบมอบอำ�นาจตามแบบ
กรมบังคับคดี
2.บัตรประจำ�ตัวประชาชน ธุรการรับเรื่อง ตรวจล้มละลาย
(ฉบับจริง) ของผูร้ บั อำ
�นาจ ตรวจฟื้นฟูกิจการ
หรือบัตรอืน่ ทีท่ างราชการ
ออกให้มีรูปถ่ายกำ�กับ
นิติบุคคล
**หลักฐาน กรณีขอโอนเงิน
- มารับด้วยตนเอง เข้าบัญชีธนาคาร
1.บัตรประจำ�ตัวประชาชน เจ้าพนักงาน ตรวจสอบ - สำ�เนาสมุดบัญชี
หรือบัตรอื่นที่ทางราชการ ธนาคาร หน้าที่

ออกให้ มีรูปถ่ายกำ�กับของ หลักฐาน** และมีคำ�สั่ง
แสดงเลขบัญชี
กรรมการผู้มีอำ�นาจ
2.หนังสือรับรองนิติบุคคล เงินฝาก
ของสำ�นักงานทะเบียน
หุ้นส่วนบริษัท หรือสำ� เนา
ที่นายทะเบียนรับรอง ขอรับด้วยตนเอง ขอโอนเงิน
- มอบอำ�นาจ
1.ใบมอบอำ�นาจตามแบบ หรือมอบอำ�นาจ เข้าบัญชีธนาคาร
กรมบังคับคดี
2.บัตรประจำ�ตัวประชาชน
หรือบัตรอื่นที่ทางราชการ
ออกให้มีรูปถ่ายกำ� กับ
(ฉบับจริง) ของผู้รับมอบ
อำ�นาจ เจ้าหน้าที่การเงิน
3.หนังสือรับรองนิติบ ุคคล จ่ายเงินแก่ผู้มีสิทธิ
ของสำ�นักงานทะเบียน
หุ้นส่วนบริษัท หรือสำ�เนา
ที่นายทะเบียนรับรอง

หมายเหตุ : *ถ้าผู้มีสิทธิรับเงินถึงแก่กรรม ให้ทายาทร้องขอให้ศาลตั้งเป็นผู้จัดการมรดกก่อน หรือร้องขอ


ต่อศาลให้มคี �ำ สัง่ อนุญาตให้รบั เงินได้กอ่ น แล้วนำ�คำ�สัง่ ศาลซึง่ ผูอ้ �ำ นวยการประจำ�ศาล หรือผูแ้ ทน
รับรองถูกต้องมาแสดงจึงจะรับเงินได้
*ถ้าผู้มีสิทธิรับเงินเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุล ให้นำ�หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อสกุล
มาแสดงด้วย และถ้าชื่อตัว หรือชื่อสกุลไม่ตรงตามหมายบังคับคดีของศาล จะต้องไปยื่นต่อศาล
เพื่อแก้ไขให้ถูกต้องก่อนจะรับเงินได้
กรมบังคับคดี ขั้นตอนการทำ�บัญชีแสดงรายรับจ่ายเงิน แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม และบัญชีแบ่งทรัพย์สิน การบังคับคดี
9

จัดทำ�บัญชีแสดงรายการรับ-จ่ายเงิน บัญชีแบ่งทรัพย์สิน
ตามมาตรา 95 และ 96 (3)

มีผู้คัดค้านบัญชี ไม่มีมีผู้คัดค้านบัญชี

ตรวจรับรองบัญชี คัดค้านบัญชี คัดค้าน คัดค้าน แจ้งส่วนแบ่ง


บัญชีแบ่ง ส่วนแบ่ง ทรัพย์สิน
ทรัพย์สิน เฉพาะส่วน
ของตนเอง
ขั้นตอนการจ่ายเงิน ส่งเจ้าพนักงาน ขั้นตอน
ส่งเจ้าพนักงาน การจ่ายเงิน
พิทักษ์ทรัพย์ พิทักษ์ทรัพย์พิจารณา
พิจารณา

การพิจารณา ส่งเจ้าหนี้ แจ้งส่วนแบ่ง


ของเจ้าพนักงาน รายที่คัดค้านให้ ให้เจ้าหนี้
พิทักษ์ทรัพย์ เจ้าพนักงาน รายอื่น
พิทักษ์ทรัพย์
พิจารณา

เห็นชอบคำ�สั่ง ไม่เห็นด้วยให้คัดค้าน
ส่งกองติดตามดำ�เนินการ คำ�สั่งยื่นต่อศาล
ภายใน 7 วัน
นับแต่วันที่ได้ฟังคำ�สั่ง

ปรับปรุงบัญชี ขั้นตอน
แบ่งทรัพย์สิน การจ่ายเงิน
กรมบังคับคดี แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม ขั้นตอนการรับเงินคดีล้มละลาย การบังคับคดี
10
หนังสือแจ้งจากกองติดตามและเฉลี่ยทรัพย์สินในคดีล้มละลาย

มาติดต่อขอรับเงินด้วยตนเองหรือมอบอำ�นาจให้รับเงินแทน แจ้งความประสงค์ขอรับเงินทาง e - Payment

ธุรการ
ส่งข้อมูลหลักฐานทาง www.led.go.th ส่งหนังสือทางไปรษณีย์พร้อมหลักฐาน
แสดงหลักฐานต่อเจ้าหน้าที่

ตรวจข้อมูลจากระบบ ตรวจหลักฐานและบันทึกข้อมูลในระบบ
กรอกรายละเอียดในใบขอรับเงิน

ตรวจใบขอรับเงินกับหลักฐาน/ตรวจสารบบล้มละลายคู่ความ ตรวจสอบหลักฐานเอกสาร/ตรวจสารบบล้มละลายคู่ความ

ส่งกองบริหารการคลัง เอกสารหลักฐานถูกต้อง เอกสารหลักฐานไม่ครบถ้วน/ถูกต้อง

รอรับเงิน/เช็ค ส่งกองบริหารการคลังโอนเงินทาง electronic ให้ผู้รับเงิน ติดต่อแจ้งผู้ประสงค์โอนเงิน

แจ้งผู้รับเงินตรวจสอบ

หลักฐานที่จะนำ�มาแสดง หลักฐานที่นำ�ส่งพร้อมหนังสือแจ้งความประสงค์
บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา สำ�เนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร
(มาด้วยตนเอง) (รับมอบอำ�นาจ) ประเภทออมทรัพย์
บัตรประจำ�ตัวประชาชนหรือบัตรอืน่ ใบมอบอำ�นาจหรือใบมอบฉันทะให้รบั เงินแทน สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชนของเจ้าหนี้
ที่มีกฎหมายรับรองออกให้มีรูปถ่าย ตามแบบกรมบังคับคดี
กำ�กับพร้อมสำ�เนารับรองถูกต้อง บัตรประจำ�ตัวประชาชน (ฉบับจริง) ของผูม้ อบ
อำ�นาจ หรือบัตรอืน่ ทีม่ กี ฎหมายรับรองซึง่ ต้อง
นิติบุคคล มีรูปถ่ายกำ�กับและสำ�เนารับรองถูกต้อง
(มาด้วยตนเอง) สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชนของผูร้ บั มอบ
อำ�นาจพร้อมรับรองสำ�เนาถูกต้อง
หนั ง สื อ รั บ รองนิ ติ บุ ค คลของ
สำ�นักงานทะเบียนหุน้ ส่วนบริษทั นิติบุคคล
หรือสำ�เนาทีน่ ายทะเบียนรับรอง (รับมอบอำ�นาจ)
บัตรประจำ�ตัวประชาชนของ ใบมอบอำ�นาจตามแบบกรมบังคับคดี
กรรมการผูม้ อี �ำ นาจหรือบัตรอืน่ หนังสือรับรองนิตบิ คุ คลของสำ�นักงานทะเบียน
ที่ มี ก ฎหมายรั บ รองออกให้ มี หุน้ ส่วนบริษทั หรือสำ�เนาที่นายทะเบียนรับรอง
รูปถ่ายกำ�กับพร้อมสำ�เนารับรอง สำ � เนาบั ต รของกรรมการผู้ มี อำ � นาจพร้ อ ม
ถูกต้อง รับรองสำ�เนาถูกต้อง
ตรายางของนิติบุคคล (ถ้ามี) บัตรประจำ�ตัวประชาชนของผูร้ บั มอบอำ�นาจ
(ฉบับจริง) หรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้
มีรูปถ่ายกำ�กับ (ฉบับจริง)

หมายเหตุ ถ้าผู้มีสิทธิรับเงินได้ถึงแก่กรรม ให้ทายาทร้องขอให้ศาลตั้งเป็นผู้จัดการมรดกพร้อมคำ�สั่งศาลที่อนุญาตให้เป็นผู้จัดการมรดกมาแสดงด้วย


ถ้ามีการเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุลให้นำ�หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุลไปแสดงด้วย
ค่าใช้จ่ายในการโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร (หากมี) จะหักจากส่วนได้ของผู้มีสิทธิ
กรมบังคับคดี ขั้นตอน แผนภูมิแสดงขั้นตอน
กระทรวงยุติธรรม
การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ การบังคับคดี
11
ยื่นคำ�ร้องขอ
ศาลอาจ 1
สั่งได้ 2 กรณี 2 ศาลสั่งไม่รับคำ�ร้องขอ
ศาลสั่งรับคำ�ร้องขอและนัดไต่ส่วน ลูกหนี้ได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 90/12
1 ศาลยกคำ�ร้องขอ
ศาลอาจสั่งได้
3 กรณี 2 ศาลสั่งให้ฟื้นฟูกิจการแต่ไม่ตั้งผู้ทำ�แผน

3 เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์นัดประชุม
ศาลสั่งให้ฟื้นฟูกิจการและตั้งผู้ทำ�แผน เลือกผู้ทำ�แผน ที่ประชุม
เลือกผู้ทำ�แผนไม่ได้
เจ้าหนี้มีมติ

ศาลสั่งให้ฟื้นฟูกิจการ ศาลสั่งยกเลิกคำ�สั่งให้ฟื้นฟูกิจการ
และตั้งผู้ทำ�แผนแล้ว
อำ�นาจบริหารกิจการของลูกหนีต้ กแก่ผทู้ ำ�แผน

ผู้ทำ�แผนดำ�เนินการทำ�แผนยื่นต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ภายในกำ�หนด เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ประกาศโฆษณาคำ�สั่งศาล


เวลา 3 เดือน นับแต่วันโฆษณาคำ�สั่งตั้งผู้ทำ�แผนในราชกิจจานุเบกษา พร้อมแจ้งคำ�สั่งดังกล่าวไปยังบรรดาเจ้าหนี้ ให้มายื่นคำ�ขอรับชำ�ระหนี้

เจ้าหนี้ยื่นคำ�ขอรับชำ�ระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์พจิ ารณาสัง่ คำ�ขอรับชำ�ระหนี้

เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาแผน

ที่ประชุมเจ้าหนี้ยอมรับแผน ที่ประชุมเจ้าหนี้ไม่ยอมรับแผน

ศาลนัดพิจารณา ศาลนัดพิจารณา

ศาลเห็นชอบด้วยแผน ศาลไม่เห็นชอบด้วยแผน สั่งยกคำ�ร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการ กรณีลูกหนี้ได้ สั่งยกเลิกคำ�สั่งให้


ถูกฟ้องให้เป็นบุคคลล้มละลายไว้กอ่ นแล้วและ
ศาลเห็นสมควรให้ลูกหนี้ล้มละลาย ให้ด�ำ เนิน ฟื้นฟูกิจการ
ผู้บริหารแผนดำ�เนินการ สั่งยกเลิกคำ�สั่งให้ฟื้นฟูกิจการ คดีล้มละลายที่ได้งดพิจารณาไว้นั้นต่อไป

สำ�เร็จตามแผน ไม่สำ�เร็จตามแผน

ศาลสั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ ศาลนัดพิจารณา

ผู้บริหารลูกหนี้กลับมีอำ�นาจ สั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ศาลสั่งยกเลิกการฟื้นฟูกิจการ


บริหารกิจการตามเดิม
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................................
FLOWCHART OF ENFORCEMENT PROCESS
Application on Mobile
LED LED
PROPERTY PROPERTY+

Add friend Line


@ กรมบังคับคดี

กรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม
189/1 ถนนบางขุนนนท์ แขวงบางขุนนนท์
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700
โทรศัพท์ 0 2881 4999 สายด่วน 1111 กด 79

Legal Execution Department, Ministry of Justice


189/1 Bangkhunnon Road, BangKhunnon Sub-District,
Bangkok Noi District, Bangkok 10700,
Tel. 0 2881 4999, Hotline 1111 ext. 79
www.led.go.th

You might also like