You are on page 1of 18

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.

2562
มาตรการบังคับทางปกครอง
ที่กาหนดให้ชาระเงินโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี
มาตรการบังคับทางปกครอง ช่วยหน่วยงานของรัฐ ช่วยพัฒนาประเทศ

พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ประกาศใช้ เมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2562 กาหนดให้
เจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี มีอานาจหน้าที่ ในการดาเนินการบังคับทางปกครอง โดยใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ในการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับทางปกครอง
กรมบังคับคดี จัดตั้งสานักงานบังคับทางปกครอง เมื่อวันที่ 25 พ.ย. 2562 ตั้งอยู่ ณ ห้อง One Stop Service
ชั้น 2 อาคารกรมบังคับคดี หน่วยงานของรัฐสามารถดาเนินการตั้งเรื่องบังคับทางปกครองได้ ณ สานักงานบังคับทางปกครอง
กรมบังคับคดี และสานักงานบังคับคดีจังหวัดและสาขาทั่วประเทศ
มาตรการบังคับทางปกครอง เป็นกระบวนการที่มุ่งหมายให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามคาสั่งทางปกครอง หรือเพื่อให้
คาสั่งทางปกครอง บรรลุผลโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล มีที่มาจาก พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. 2539 ใช้ในกรณีที่หน่วยงานทางปกครอง มีคาสั่งทางปกครองอย่างใดอย่างหนึ่ง และผู้รับคาสั่งทางปกครอง ฝ่าฝืน
ไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง ทาให้หน่วยงานของรัฐต้องใช้มาตรการบังคับทางปกครองไปบังคับให้คาสั่งนั้น สัมฤทธิ์ผลเป็นหน้าที่
ของเจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ในการบังคับใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ตาม พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง
มาตรการบังคับทางปกครอง สอดแทรกอยู่ในกฎหมายหลายฉบับ เช่น ประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยึด อายัด
ทรัพย์สิน เพื่อชาระภาษีอากรค้างชาระ พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ว่าด้วยการให้อานาจเจ้าพนักงานท้องถิ่น
ดาเนินการรื้อถอนอาคารที่มีการก่อสร้างโดยฝ่าฝืนกฎหมาย แต่เมื่อมี พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
โดยบัญญัติในเรื่องการใช้มาตรการบังคับทางปกครองไว้ด้วย ก็ไม่มีผลยกเลิกการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ที่มีอยู่
เดิมในกฎหมายเฉพาะเหล่านั้น แต่เป็นทางเลือกถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่ามาตรการบังคับทางปกครอง นั้น จะเกิดผลน้อยกว่า
มาตรการบังคับทางปกครอง ตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 จะใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 แทนก็ได้ (ม.63)
พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ประกาศใช้บังคับ เมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2562 มีสาระสาคัญ
เป็นการแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 เพื่อให้การดาเนินการบังคับทางปกครอง มีวิธีปฏิบัติ
ที่ชัดเจน เป็นไปในแนวทางเดียวกันและเป็นธรรมแก่ผู้อยู่ในบังคับทางปกครอง ตลอดจนทาให้รัฐมีรายได้จากการบังคับทาง
ปกครองเพิ่มขึ้น โดยยกเลิกส่วนที่ 8 การบังคับทางปกครอง (มาตรา 55-63) และเพิ่มเติม หมวด 2/1 การบังคับทางปกครอง
เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการบังคับทางปกครองขึ้นใหม่ เนื้อหาแบ่งออกเป็น 4 ส่วน

- ส่วนที่ 1 บททั่วไป เป็นบัญญัติทั่วไป ซึ่งใช้บังคับตามคาสั่งทางปกครอง ที่กาหนดให้ชาระเงินและคาสั่งทางปกครอง


ที่กาหนดให้กระทาหรือละเว้นกระทา

- ส่วนที่ 2 การบังคับทางปกครอง ที่กาหนดให้ชาระเงิน สามารถทาได้ 2 วิธี


1) การบังคับชาระเงินโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ
2) การบังคับชาระเงินโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี

- ส่วนที่ 3 การบังคับตามคาสั่งทางปกครอง ที่กาหนดให้กระทา หรือละเว้นกระทา

- ส่วนที่ 4 บทเฉพาะการล กาหนดไว้ในมาตรา 6 ,7 , 8


ประเภทของมาตรการบังคับทางปกครอง

1. การบังคับทางปกครอง กรณีคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินตามมาตรา 63/7-63/19


แห่ง พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562

2. การบังคับทางปกครอง กรณีคาสั่งทางปกครองกาหนดให้กระทาการ หรือละเว้นกระทาการ


ตามมาตรา 63/20-63/25 แห่ง พ.ร.บ.วิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562
การบังคับทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ
- ประสงค์ใช้มาตรการบังคับทางปกครองด้วยตนเอง
- ต้องผ่านการอบรมด้านการบังคับคดีจากกรมบังคับคดี หรือด้านการบังคับทางปกครอง ตามหลักสูตรที่
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเห็นชอบ (กฎกระทรวงใช้บังคับวันที่ 11 ธันวาคม 2562)
- ดาเนินการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สิน ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ซึ่งได้กาหนดขั้นตอน
และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการยึด การอายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินและกาหนดอานาจของศาลในส่วน
ที่เกี่ยวกับการบังคับคดี ให้เป็นอานาจของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ (ใช้บังคับวันที่ 22 เม.ย. 2565)
- หากกฎกระทรวงไม่ได้กาหนดเรือ่ งใดไว้ให้นา ป.วิ.แพ่ง มาใช้บังคับโดยอนุโลม (ม.63/12)
- ต้องดาเนินการยึด/อายัด ภายใน 10 ปี นับแต่วันที่คาสั่งให้ชาระเงินถึงที่สุด (ม.63/8 ว.1)
- พ้น 10 ปี ยึด/อายัดเพิ่มไม่ได้ แต่ขายทอดตลาดทรัพย์ที่ยดึ ได้ (ม.63/8 ว.3+4)
- สามารถขอให้สานักงานอัยการ/หน่วยงานรัฐ/เอกชน สืบทรัพย์แทนได้ (ม.63/11)
การบังคับทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี
พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2562 กาหนดให้เจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี
มีบทบาท อานาจหน้าที่ในการดาเนินการเกี่ยวกับการบังคับทางปกครองกับคาสั่งทางปกครอง ที่กาหนดให้ชาระเงิน โดยการใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครอง ในการยึด อายัด ขายทอดตลาดทรัพย์สิน ของผู้อยู่ในบังคับทางปกครอง
คาสั่งทางปกครองให้ชาระเงิน
คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงิน หมายถึงคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้บุคคลชาระเงินแก่หน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็น
ค่าภาษีอากร ค่าปรับบังคับการ เงินเพิ่ม ค่าสินไหมทดแทน หรือหนี้เงินอื่นที่ต้องชาระตามมาตรการบังคับทางปกครอง
คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงิน ซึ่งอยู่ในขอบเขตการดาเนินการของกรมบังคับคดี
- ค่าสินไหมทดแทน ตามคาสั่งให้ชาระเงิน ตามาตรา 12 พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
- ค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียม เงินส่งกองทุน หากหน่วยงานจัดเก็บไม่ประสงค์จะบังคับเอง
- ค่ า ปรับ ทางปกครอง ที่เ ป็ นโทษทางปกครองตามกฎหมายเฉพาะ ซึ่ ง ใช้วิ ธี การบั ง คั บ ช าระค่ า ปรั บ ตาม พ .ร.บ.วิ ธีก ารปฏิ บั ติ ร าชการ
ทางปกครอง โดยอนุโลม
- หนี้เงินจากการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ค่าปรับบังคับการค่าใช้จ่ายในการดาเนินการแทน เงินเพิ่มรายวัน
การดาเนินการบังคับตามคาสัง่ ทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงิน
4

หนี้เงินจากการใช้มาตรการ
ค่าสินไหมทดแทน ภาษีอากร ค่าปรับทางปกครอง บังคับทางปกครอง
ตามคาสั่งให้ชาระเงิน ค่าธรรมเนียม ที่เป็นโทษทางปกครองตาม - ค่าปรับบังคับการตาม พ.ร.บ
ตาม มาตรา 12 เงินส่งกองทุน กฎหมายเฉพาะ ซึ่งใช้วิธีการ วิธีปฏิบัติฯ หรือกฎหมายเฉพาะ
พ.ร.บ.ความรับผิดทาง (หากหน่วยจัดเก็บ บังคับชาระค่าปรับตาม - ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการแทน
ละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ ไม่ประสงค์จะบังคับเอง) พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ โดยอนุโลม - เงินเพิ่มรายวัน

กรมบังคับคดี
หลักเกณฑ์การบังคับทางปกครอง โดยเจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี
- เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐออกคาสั่งทางปกครองกาหนดให้ผู้อยู่ในบังคับทางปกครองชาระเงิน
- คาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินถึงที่สุดแล้ว
- คาสั่งถึงที่สุดไม่เกิน 1 ปี ในวันที่ พ.ร.บ.วิธิปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562 ใช้บังคับหรือถึงที่สุด
ตั้งแต่วันที่ 28 พ.ค. 2561 เป็นต้นไป

ขั้นตอนการดาเนินการ
- หน่วยงานของรัฐยื่นคาขอต่อศาลยุติธรรม ที่ผู้อยู่ในบังคับทางปกครองมีภูมิลาเนา หรือที่ทรัพย์สินถูกบังคับทาง
ปกครอง นั้น ตั้งอยู่ในเขตศาล ภายใน 10 ปี นับตั้งแต่วันที่คาสั่งให้ชาระเงินเป็นที่สุด โดยระบุจานวนเงินที่ผู้อยู่ใน
บังคับทางปกครองยังไม่ได้ชาระเงินตามคาสั่งทางปกครอง
- ศาลออกหมายตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดี
- หน่วยงานของรัฐติดต่อกรมบังคับคดี และแจ้งให้ผู้อยู่ในบังคับทางปกครอง ทราบหมายบังคับคดีของศาล
- ตั้งเรื่องบังคับคดี พร้อมวางเงินทดรองค่าใช้จ่ายและเอกสารหลักฐาน เพื่อดาเนินการยึด หรืออายัดทรัพย์สิน
- เจ้าพนักงานบังคับคดี ตรวจสอบเอกสาร หากถูกต้องครบถ้วนดาเนินการยึด อายัดทรัพย์สิน
การบังคับชาระเงินโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี
คาสั่งชาระเงินเป็นที่สุด

หน่วยงานยื่นคาขอฝ่ายเดียวต่อศาลภายใน ศาลยุติธรรมที่ผู้อยู่ในการบังคับของมาตรการ
ยื่นต่อศาลได้มากกว่าหนึ่งศาล
10 ปี นับแต่คาสั่งให้ชาระเงินเป็นที่สดุ บังคับทางปกครองมีภูมิลาเนา/ทรัพย์ตั้งอยู่

มาตรา 63/15
ศาลเห็นว่าคาสั่งเป็นที่สุด

ศาลออกหมายบังคับคดีโดยระบุจานวนเงินที่ยังไม่ได้ชาระ
และตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดี

หน่วยงานของรัฐติดต่อกรมบังคับคดีและแจ้งผู้อยู่ในบังคับ
มาตรการบังคับทางปกครองและสืบทรัพย์ ตั้งเรื่องบังคับคดี

เจ้าพนักงานบังคับคดียึด อายัด ภายใน 10 ปี นับแต่คาสั่ง มาตรา 63/18


ทางปกครองให้ชาระเงินเป็นที่สุด

การบังคับคดีเป็นไปตาม ป.วิ.พ การโต้แย้งหรือใช้สิทธิทางศาล ศาลยุติธรรมที่ผู้อยู่ในการบังคับของมาตรการ


มาตรา 63/15 , 63/19
อันเกี่ยวด้วยการบังคับคดี เสนอต่อศาลที่มีอานาจในการบังคับคดี บังคับทางปกครองมีภูมิลาเนา/ทรัพย์ตั้งอยู่
นับแต่ประกาศใช้ พ.ร.บ. ได้มีการออกกฎกระทรวง ดังนี้

- การมอบอานาจในการพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ของเจ้าหน้าที่ผู้ทาคาสั่งทางปกครอง

- กาหนดเจ้าหน้าที่ผู้ออกคาสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครอง และการแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง

- กาหนดเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจ กาหนดค่าปรับบังคับการ

- กาหนดหน่วยงานของรัฐ ที่สามารถขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดี ดาเนินการบังคับทางปกครอง

- กาหนดขั้นตอน และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สิน และกาหนดอานาจศาล


ในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดี ให้เป็นอานาจของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
การบังคับทางปกครองช่วยหน่วยงานของรัฐ ช่วยพัฒนาประเทศ

- หน่วยงานของรัฐ สามารถดาเนินการบังคับทางปกครอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไป


ในแนวทางเดียวกัน มีมาตรฐาน

- ผู้อยู่ในบังคับทางปกครอง ได้รับความสะดวก เป็นธรรม สามารถใช้สิทธิทางศาลได้อย่าง


ถูกต้อง

- หน่วยงานของรัฐ สามารถบังคับชาระเงินตามคาสั่งทางปกครองได้มากขึ้น ทาให้รัฐมี


รายได้จากการบังคับทางปกครองเพิ่มขึ้นอันเป็นผลดีต่องบประมาณแผ่นดิน
การบังคับคดี
การร้องขอให้บังคับคดี ต้องทาโดยครบองค์ประกอบ 3 ประการ ทาโดยถูกคน ถูกเวลา และถูกต้อง
1) ทาโดยเจ้าหนี้ตามคาพิพากษา
2) ร้องขอให้บังคับคดีภายใน 10 ปี นับแต่วันที่มีคาพิพากษาหรือคาสั่ง
3) การร้องขอให้บังคับคดี ต้องเป็นไปตามคาพิพากษาหรือคาสั่ง
การบังคับคดีโดยทางเจ้าพนักงานบังคับคดี
1) พิพากษาให้ชาระเงิน ยึด ,อายัด
2) พิพากษาให้ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง ยึดเพื่อส่ง
3) พิพากษาให้ขับไล่ รื้อถอน หรือขนย้าย ขับไล่-รื้อถอน-ขนย้าย
การยึดทรัพย์สิน
ทรัพย์สินที่ยึดได้ ทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคาพิพากษา
ยึดสังหาริมทรัพย์
- ยึด ณ สถานที่ทรัพย์ตั้งอยู่ ยึดได้ในวันทาการปกติตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก ทาต่อได้จนเสร็จหากมีเหตุจาเป็น
- นาทรัพย์มาเก็บรักษาหรือฝากทรัพย์ไว้ ณ สถานที่ใดหรือแก่บุคคลใดตามที่เจ้าพนักงานบังคับคดีเห็นสมควร
- แสดงให้เห็นประจักษ์แจ้งโดยการประทับตราหรือโดยวิธีอื่นใดว่าได้มีการยึดทรัพย์นั้นแล้ว
- แจ้งนายทะเบียนสาหรับสังหาริมทรัพย์ที่จะต้องจดทะเบียนกรรมสิทธิ์
ยึดอสังหาริมทรัพย์
- ยึด ณ ที่ทาการ
- นาหนังสือสาคัญสาหรับทรัพย์นั้นมาเก็บรักษาไว้หรือฝากไว้แก่บุคคลใด ตามที่เห็นสมควร เว้นแต่ทรัพย์นั้นยังไม่มีหนังสือสาคัญ หรือ
นาหนังสือสาคัญมาแสดงไม่ได้
การยึดมีผลตามกฎหมาย
- แจ้งการยึดให้ลกู หนี้ ตามคาพิพากษา
- แจ้งเจ้าพนักงานที่ดนิ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มอี านาจหน้าที่

ผลของการยึดทรัพย์สนิ
- ลูกหนี้ตามคาพิพากษาได้ก่อให้เกิดโอนหรือเปลี่ยนแปลงซึ่งสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ถูกยึดภายหลังทีไ่ ด้ทาการยึดไว้แล้ว ไม่อาจใช้
ยืนยันแก่เจ้าหนีต้ ามคาพิพากษาหรือเจ้าพนักงานบังคับคดีได้
- ถ้าลูกหนี้ตามคาพิพากษาได้รับมอบหมายให้เป็นผูร้ ักษาทรัพย์สนิ ทีถ่ ูกยึด ลูกหนี้ตามคาพิพากษาชอบที่จะใช้ทรัพย์สนิ
เช่นว่านั้น ได้ตามสมควร

ทรัพย์สินที่ไม่สามารถยึดได้
- เครื่องนุ่งห่มหลับนอน เครื่องใช้สอยในครัวเรือน เครื่องใช้สอยส่วนตัว ที่มีราคารวมกันประเภทละไม่เกิน 20,000 บาท
- สัตว์ สิ่งของ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของลูกหนี้ ที่มีราคาประมาณรวมกันไม่เกิน 100,000 บาท
- สัตว์ สิ่งของ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ทาหน้าที่ช่วยหรือแทนอวัยวะ
- ทรัพย์สินที่มีลักษณะเป็นของส่วนตัวโดยแท้
- ทรัพย์สินที่โอนกันไม่ได้ตามกฎหมายหรือตามกฎหมายไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
เอกสารประกอบการยึด
ยึดที่ดิน หรือยึดพร้อมสิ่งปลูกสร้าง
- ต้นฉบับโฉนดที่ดิน ,สัญญาจานอง
- สาเนาทะเบียนบ้านของจาเลย , ผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วม (ถ้ามี) ,คู่สมรสของจาเลย (ถ้ามี) , ทายาทของจาเลยผู้ตาย (ถ้ามี) ,ซึ่งนายทะเบียนรับรอง
ไม่เกิน 1 เดือน นับถึงวันยึด
- หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล (ถ้ามี) ของโจทก์และจาเลย
- แผนที่การเดินทางไปที่ตั้งทรัพย์ที่จะยึด
- ภาพถ่ายปัจจุบัน ของทรัพย์ที่จะยึดและแผนผังของทรัพย์ที่จะยึด โดยระบุขนาดกว้าง – ยาว
- ราคาประเมินของเจ้าพนักงานที่ดิน
- เอกสารอื่นๆ เช่น สาเนาคาฟ้อง สาเนาคาพิพากษา สาเนาบัญชีค่าฤชาธรรมเนียม

ยึดห้องชุด
- ต้นฉบับหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด, สัญญาจานอง
- สาเนาทะเบียนบ้านของจาเลย, ผู้ถือกรรมสิทธิ,์ คู่สมรสของจาเลย,ทายาทของจาเลยผู้ตาย ซึ่งนายทะเบียนรับรองไม่เกิน 1 เดือน นับถึงวันยึด
- หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ – สกุล (ถ้ามี) ของโจทก์และจาเลย
- แผนที่การเดินทางไปที่ตั้งทรัพย์ที่จะยึด พร้อมสาเนา 1 ชุด
- ภาพถ่ายปัจจุบัน ของทรัพย์ที่จะยึดและแผนของทรัพย์ที่จะยึด โดยระบุขนาดกว้าง – ยาว
- หนังสือรับรองนิติบุคคลอาคารชุดซึ่งเจ้าพนักงานที่ดินรับรองไม่เกิน 1 เดือน นับถึงวันยึด
- ราคาประเมินของเจ้าพนักงานที่ดิน
- เอกสารอื่นๆ เช่น สาเนาคาฟ้อง สาเนาคาพิพากษา สาเนาบัญชีค่าฤชาธรรมเนียม
การอายัดสิทธิ์เรียกร้อง
การอายัดทรัพย์สิน เป็นวิธีการบังคับคดีรูปแบบหนึ่ง ไม่ใช่การบังคับกับทรัพย์สินที่อยู่ในความครอบครองของลูกหนี้โดยตรง แต่เป็นการบังคับกับ
สิทธิ์เรียกร้องเป็นเงินของลูกหนี้ตามคาพิพากษา เป็นการสั่งบุคคลภายนอกมิให้ชาระหนี้แก่ลูกหนี้ตามคาพิพากษา แต่ให้ชาระแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีแทน
วิธีการอายัดทรัพย์สิน
- มีหนังสือ (คาสั่ง) แจ้งไปยังบุคคลภายนอกไม่ให้ชาระเงินแก่ลูกหนี้ตามคาพิพากษา แต่ให้ชาระแก่เจ้าพนักงานบังคับคดีแทนภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้
- มีหนังสือ/หมาย (คาสั่ง) แจ้งอายัดให้ลูกหนี้ตามคาพิพากษาทราบ และให้งดเว้นการจาหน่ายสิทธิเรียกร้องตั้งแต่ขณะที่ได้ส่งคาสั่งนั้นให้

สิทธิเรียกร้องที่อายัดไม่ได้
- เบี้ยเลี้ยงชีพซึ่งกฎหมายกาหนดไว้ เงินรายได้เป็นคราวๆ ที่บุคคลภายนอกยกให้เพื่อการเลี้ยงชีพ ไม่เกินเดือนละ 20,000 บาท
- เงินเดือน ค่าจ้าง บานาญ บาเหน็จ เบี้ยหวัด และของบุคคลในหน่วยงานราชการ
- เงินเดือน ค่าจ้าง บานาญ ค่าชดใช้เงินสงเคราะห์ และของพนักงาน ลูกจ้าง หรือคนงาน จานวนรวมกันไม่เกินเดือนละ 20,000 บาท
- บาเหน็จ ค่าชดเชยหรือรายได้ของลูกหนี้ที่ไม่ใช่บุคลากรในหน่วยงานราชการเป็นจานวนเงินไม่เกิน 300,000 บาท
- เงินฌาปนกิจสงเคราะห์ที่ลูกหนี้ตามคาพิพากษาได้รับอันเนื่องมาจากความตายของบุคคลอื่น

เอกสารประกอบการอายัดสิทธิ์เรียกร้อง
- อายัดเงินเดือน ค่าจ้าง บานาญ เงินสงเคราะห์หรือรายได้อื่นลักษณะเดียวกันให้ส่งหลักฐานแห่งสิทธิ์เรียกร้องหรือเอกสารที่มีข้อความระบุถึงความมีอยู่ของ
เงินนั้น
- อายัดเงินในบัญชีเงินฝากให้ส่งเอกสารระบุความมีอยู่ของเงินนั้น ระบุสาขา เลขบัญชี และจานวนเงิน
- อายัดเงินตามสัญญาหรือสิทธิ์เรียกร้องอื่นๆ ให้ส่งสาเนาหนังสือสัญญาหรือหลักฐานแห่งหนี้ที่ระบุว่าลูกหนี้ตามคาพิพากษามีสิทธิ์ได้รับเงินนั้นๆ
การขายทอดตลาดทรัพย์

- ขายทอดตลาดครั้งแรก เมื่อพ้น 60 วัน นับแต่วันยึด

- กาหนดวันขายทอดตลาด 6 นัด ในประกาศขายฉบับเดียวกัน

- ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดีมีสิทธิเข้าซื้อทรัพย์ หรือหาบุคคลอื่นเข้าซื้อทรัพย์ให้ได้ราคาตามที่ต้องการ

- ผู้ซื้อทรัพย์ยื่นคาขอต่อศาลให้ออกหมายบังคับคดีเพื่อขับไล่ลูกหนี้ หรือบริวารออกจากทรัพย์ที่ยึดได้
ขอบคุณ

You might also like